SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
การแยกสารเนื้ อผสม




                                      05/06/52
  วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชัน ม. 1
                             ้
สารเนื้ อผสม
หมายถึง สารที่มีลกษณะเนื้ อสารไม่ผสมกลมกลืน
                    ั




                                               05/06/52
กันเป็ นเนื้ อเดียวกันเกิดจากสารอย่างน้ อย 2
ชนิดขึนไปมาผสมกันโดยเนื้ อสารจะแยกกันเป็ น
       ้
ส่วน ๆ เช่น น้าโคลน น้ามะนาว น้า
มะขามเปี ยก คอนกรีต
ฝุ่ นละอองในอากาศ เป็ นต้น
การแยกสารเนื้ อผสม
    การแยกสารเนื้ อผสมออกจากกันส่วนใหญ่เป็ นการ
แยกด้วยวิธีการทางกายภาพ เมื่อแยกสารออกจากกัน




                                                   05/06/52
แล้ว สารที่ได้จะมีคณสมบัติเหมือนเดิม โดยวิธีการ
                    ุ
แยกสารเนื้ อผสมมีหลายวิธี เช่น การกรอง การระเหย
จนแห้ง การใช้อานาจแม่เหล็ก การระเหิด แต่เราจะ
เลือกใช้วิธีใดนัน ขึนอยู่กบ สมบัติของสารที่เป็ น
                ้ ้       ั
องค์ประกอบ
การกรอง
     เป็ นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่าง




                                             05/06/52
ของแข็งกับของเหลว โดยที่ของแข็งนันไม่รวม
                                     ้
เป็ นเนื้ อเดียวกับของเหลว หรือใช้แยกสาร
แขวนลอยออกจากน้า
     สารที่เป็ นของแข็งมีขนาดอนุภาคใหญ่ไม่
สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ( สารติดอยู่บน
กระดาษกรอง ) ส่วนน้าและสารที่ละลายน้าได้จะ
ผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ เช่น แยกกามะถัน
ออกจากน้า
การกรอง




                                                                       05/06/52
ทีมา :http://www.science.cmru.ac.th/envi/instrument/chapter1_t7.html
  ่
การใช้กรวยแยก
     เป็ นวิธีทใช้ แยกสารเนือผสมทีเ่ ป็ นของเหลว 2
               ี่           ้




                                                     05/06/52
ชนิดทีไม่ ละลายออกจากกัน โดยของเหลวทั้งสอง
         ่
นั้นแยกเป็ นชั้นเห็นได้ ชัดเจน เช่ น นากับนามัน
                                        ้   ้
เป็ นต้ น
การใช้กรวยแยก
โดยนาของเหลวใส่ ในกรวยแยก แล้ วไข




                                             05/06/52
ของเหลวทีอยู่ในชั้นล่ างซึ่งมีความหนาแน่ น
            ่
มากกว่ าชั้นบนออกสู่ ภาชนะจนหมด แล้ วจึง
ค่ อย ๆ ไขของเหลวที่ที่เหลือใส่ ภาชนะใหม่
การใช้กรวยแยก




                                                       05/06/52
ที่มา : http://e-chemistry.tripod.com/sasan/s3_2.htm
การใช้อานาจแม่เหล็ก
  ใช้สาหรับแยกองค์ประกอบของสารเนื้ อ




                                          05/06/52
ผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่ งมีสมบัติในการถูก
แม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผง
เหล็กกับผงกามะถัน โดยใช้แม่เหล็กถูไปมา
บนแผ่นกระดาษที่วางทับของผสมทังสอง้
แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา
การใช้มือหยิบหรือเขี่ยออก
ใช้แยกของผสมเนื้ อผสม ที่ของผสมมีขนาด




                                               05/06/52
อนุภาคใหญ่พอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได้ เช่น
ข้าวสารที่มีเมล็ดข้าวเปลือกปนอยู่
การร่อน
     การร่อน ใช้กบสารผสม 2 ชนิด ที่มี
                  ั




                                           05/06/52
ขนาดเล็ก ไม่สามารถใช้มือหยิบออก
ได้ เช่น ทรายปนอยู่กบก้อนกรวด จะใช้การ
                    ั
ร่อนผ่านตะแกรง เม็ดทรายที่เล็กกว่าจะผ่าน
รูตะแกรงลงไปได้ ส่วนกรวดผ่านไม่ได้
การตกตะกอน
    ใช้แยกของผสมเนื้ อผสมที่เป็ นของแข็ง
แขวนลอยอยู่ในของเหลว




                                             05/06/52
    โดยนาของผสมนันวางทิ้งไว้ให้สาร
                   ้
แขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณี ที่
ตะกอนเบามากถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึน   ้
อาจทาได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของ
ตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึน น้าหนักจะมาก
                             ้
ขึนจะตกตะกอนได้เร็วขึน เช่น ใช้สารส้มแกว่ง
  ้                   ้
การสกัดโดยใช้ตวทาละลาย
                    ั
     ใช้กบสารผสมที่มีสมบัติในการละลายต่างกัน
         ั




                                                05/06/52
เช่น การสกัดน้ามันออกจากพืช ซึ่งตัวทาละลายที่
นิยมใช้สกัด ได้แก่ เฮกเซน (Hexane) โดย
อาศัยหลักการที่ว่า "สารที่ต้องการสกัดจะต้อง
ละลายในตัวทาละลาย ส่วนสารที่ไม่ต้องการสกัด
จะต้องไม่ละลายในตัวทาละลายนัน"  ้
แบบฝึกหัด
   จงอธิบายการแยกสารต่อไปนี้




                                                  05/06/52
    1. แยกผงถ่านออกจากน้า
    2. แยกก้อนกรวดออกจากข้าวสาร
    3. แยกดินออกจากน้าโคลน
    4. แยกตะกอนออกจากน้าบาดาล
    5. แยกน้ามันออกจากน้า
    6. แยกการบูรออกจากเกลือแกง
    7. แยกของผสมระหว่างเกลือ และผงถ่าน
    8. แยกของผสมระหว่างไอโอดีน ทราย และเกลือแกง
    9. แยกผงตะไบเหล็กออกจากผงชูรส
    10. แยกน้ากะทิออกจากกากมะพร้าว
เฉลยแบบฝึ กหัด
1. แยกผงถ่านออกจากน้า
ตอบ การกรอง




                              05/06/52
2. แยกก้อนกรวดออกจากข้าวสาร
ตอบ การหยิบออก
3. แยกดินออกจากน้าโคลน
ตอบ การกรอง
4. แยกตะกอนออกจากน้าบาดาล
ตอบ การตกตะกอน
5. แยกน้ามันออกจากน้า
ตอบ การใช้กรวยแยก
เฉลยแบบฝึ กหัด
6. แยกการบูรออกจากเกลือแกง
ตอบ การระเหิด




                                                   05/06/52
7. แยกของผสมระหว่างเกลือ และผงถ่าน
ตอบ การสกัดด้วยตัวทาละลาย และกรอง เพื่อแยกผงถ่าน
ออก
8. แยกของผสมระหว่างไอโอดีน ทราย และเกลือแกง
ตอบ การระเหิดเพื่อแยกไอโอดีนออก และสกัดด้วยตัวทา
ละลายและกรอง เพื่อแยกทรายออกจากสารละลาย
น้าเกลือ
9. แยกผงตะไบเหล็กออกจากผงชูรส
ตอบ การใช้แม่เหล็กดูดเพื่อแยกผงตะไบเหล็กออก
เฉลยแบบฝึ กหัด
10. แยกน้ากะทิออกจากกากมะพร้าว
ตอบ การกรอง




                                 05/06/52

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 

La actualidad más candente (20)

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 

Destacado

การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 

Destacado (9)

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

การแยกสารเนื้อผสม

  • 1. การแยกสารเนื้ อผสม 05/06/52 วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชัน ม. 1 ้
  • 2. สารเนื้ อผสม หมายถึง สารที่มีลกษณะเนื้ อสารไม่ผสมกลมกลืน ั 05/06/52 กันเป็ นเนื้ อเดียวกันเกิดจากสารอย่างน้ อย 2 ชนิดขึนไปมาผสมกันโดยเนื้ อสารจะแยกกันเป็ น ้ ส่วน ๆ เช่น น้าโคลน น้ามะนาว น้า มะขามเปี ยก คอนกรีต ฝุ่ นละอองในอากาศ เป็ นต้น
  • 3. การแยกสารเนื้ อผสม การแยกสารเนื้ อผสมออกจากกันส่วนใหญ่เป็ นการ แยกด้วยวิธีการทางกายภาพ เมื่อแยกสารออกจากกัน 05/06/52 แล้ว สารที่ได้จะมีคณสมบัติเหมือนเดิม โดยวิธีการ ุ แยกสารเนื้ อผสมมีหลายวิธี เช่น การกรอง การระเหย จนแห้ง การใช้อานาจแม่เหล็ก การระเหิด แต่เราจะ เลือกใช้วิธีใดนัน ขึนอยู่กบ สมบัติของสารที่เป็ น ้ ้ ั องค์ประกอบ
  • 4. การกรอง เป็ นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่าง 05/06/52 ของแข็งกับของเหลว โดยที่ของแข็งนันไม่รวม ้ เป็ นเนื้ อเดียวกับของเหลว หรือใช้แยกสาร แขวนลอยออกจากน้า สารที่เป็ นของแข็งมีขนาดอนุภาคใหญ่ไม่ สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ( สารติดอยู่บน กระดาษกรอง ) ส่วนน้าและสารที่ละลายน้าได้จะ ผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ เช่น แยกกามะถัน ออกจากน้า
  • 5. การกรอง 05/06/52 ทีมา :http://www.science.cmru.ac.th/envi/instrument/chapter1_t7.html ่
  • 6. การใช้กรวยแยก เป็ นวิธีทใช้ แยกสารเนือผสมทีเ่ ป็ นของเหลว 2 ี่ ้ 05/06/52 ชนิดทีไม่ ละลายออกจากกัน โดยของเหลวทั้งสอง ่ นั้นแยกเป็ นชั้นเห็นได้ ชัดเจน เช่ น นากับนามัน ้ ้ เป็ นต้ น
  • 7. การใช้กรวยแยก โดยนาของเหลวใส่ ในกรวยแยก แล้ วไข 05/06/52 ของเหลวทีอยู่ในชั้นล่ างซึ่งมีความหนาแน่ น ่ มากกว่ าชั้นบนออกสู่ ภาชนะจนหมด แล้ วจึง ค่ อย ๆ ไขของเหลวที่ที่เหลือใส่ ภาชนะใหม่
  • 8. การใช้กรวยแยก 05/06/52 ที่มา : http://e-chemistry.tripod.com/sasan/s3_2.htm
  • 9. การใช้อานาจแม่เหล็ก ใช้สาหรับแยกองค์ประกอบของสารเนื้ อ 05/06/52 ผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่ งมีสมบัติในการถูก แม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผง เหล็กกับผงกามะถัน โดยใช้แม่เหล็กถูไปมา บนแผ่นกระดาษที่วางทับของผสมทังสอง้ แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา
  • 10. การใช้มือหยิบหรือเขี่ยออก ใช้แยกของผสมเนื้ อผสม ที่ของผสมมีขนาด 05/06/52 อนุภาคใหญ่พอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได้ เช่น ข้าวสารที่มีเมล็ดข้าวเปลือกปนอยู่
  • 11. การร่อน การร่อน ใช้กบสารผสม 2 ชนิด ที่มี ั 05/06/52 ขนาดเล็ก ไม่สามารถใช้มือหยิบออก ได้ เช่น ทรายปนอยู่กบก้อนกรวด จะใช้การ ั ร่อนผ่านตะแกรง เม็ดทรายที่เล็กกว่าจะผ่าน รูตะแกรงลงไปได้ ส่วนกรวดผ่านไม่ได้
  • 12. การตกตะกอน ใช้แยกของผสมเนื้ อผสมที่เป็ นของแข็ง แขวนลอยอยู่ในของเหลว 05/06/52 โดยนาของผสมนันวางทิ้งไว้ให้สาร ้ แขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณี ที่ ตะกอนเบามากถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึน ้ อาจทาได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของ ตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึน น้าหนักจะมาก ้ ขึนจะตกตะกอนได้เร็วขึน เช่น ใช้สารส้มแกว่ง ้ ้
  • 13. การสกัดโดยใช้ตวทาละลาย ั ใช้กบสารผสมที่มีสมบัติในการละลายต่างกัน ั 05/06/52 เช่น การสกัดน้ามันออกจากพืช ซึ่งตัวทาละลายที่ นิยมใช้สกัด ได้แก่ เฮกเซน (Hexane) โดย อาศัยหลักการที่ว่า "สารที่ต้องการสกัดจะต้อง ละลายในตัวทาละลาย ส่วนสารที่ไม่ต้องการสกัด จะต้องไม่ละลายในตัวทาละลายนัน" ้
  • 14. แบบฝึกหัด  จงอธิบายการแยกสารต่อไปนี้ 05/06/52 1. แยกผงถ่านออกจากน้า 2. แยกก้อนกรวดออกจากข้าวสาร 3. แยกดินออกจากน้าโคลน 4. แยกตะกอนออกจากน้าบาดาล 5. แยกน้ามันออกจากน้า 6. แยกการบูรออกจากเกลือแกง 7. แยกของผสมระหว่างเกลือ และผงถ่าน 8. แยกของผสมระหว่างไอโอดีน ทราย และเกลือแกง 9. แยกผงตะไบเหล็กออกจากผงชูรส 10. แยกน้ากะทิออกจากกากมะพร้าว
  • 15. เฉลยแบบฝึ กหัด 1. แยกผงถ่านออกจากน้า ตอบ การกรอง 05/06/52 2. แยกก้อนกรวดออกจากข้าวสาร ตอบ การหยิบออก 3. แยกดินออกจากน้าโคลน ตอบ การกรอง 4. แยกตะกอนออกจากน้าบาดาล ตอบ การตกตะกอน 5. แยกน้ามันออกจากน้า ตอบ การใช้กรวยแยก
  • 16. เฉลยแบบฝึ กหัด 6. แยกการบูรออกจากเกลือแกง ตอบ การระเหิด 05/06/52 7. แยกของผสมระหว่างเกลือ และผงถ่าน ตอบ การสกัดด้วยตัวทาละลาย และกรอง เพื่อแยกผงถ่าน ออก 8. แยกของผสมระหว่างไอโอดีน ทราย และเกลือแกง ตอบ การระเหิดเพื่อแยกไอโอดีนออก และสกัดด้วยตัวทา ละลายและกรอง เพื่อแยกทรายออกจากสารละลาย น้าเกลือ 9. แยกผงตะไบเหล็กออกจากผงชูรส ตอบ การใช้แม่เหล็กดูดเพื่อแยกผงตะไบเหล็กออก