SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 51
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 3 ทรัพยากรธรณี
รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 (ว22101)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
 ทรัพยากรธรณี มีส่วนสาคัญต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคมมนุษย์เช่น ถ่าน
หิน น้ามันเหล็ก ดีบุก ทองแดง ตะกั่ว เงิน ทอง มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์จากแร่
ธาตุเหล่านี้ โดยดัดแปลงมาเป็นเครื่องใช้เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงาน
ใช้เป็นส่วนประกอบของสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ใช้ในกิจการด้านอุตสาหกรรม ใช้
เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนและพลังงาน จึงนับได้ว่าทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ
เหล่านี้ ช่วยให้มนุษย์ได้มีโอกาสอยู่ดี กินดี มีฐานะมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
 ดิน(soil) หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกเกิดจากการ
แปลงสภาพหรือสลายตัวของหินแร่ธาตุและอินทรีย์วัตถุผสม
คลุกเคล้ากันตามธรรมชาติรวมตัวกันเป็นชั้นบางๆเมื่อมีน้าและ
อากาศที่เหมาะสมก็จะทาให้พืชเจริญเติบโตและยังชีพอยู่ได้
 ส่วนประกอบของดิน ดินมีส่วนประกอบที่สาคัญอยู่ 4 ส่วน ดังนี้ คือ
1. ส่วนที่เป็นอนินทรีย์สาร ได้แก่ แร่ หิน ทราย เป็นต้น
2. ส่วนที่เป็นน้า คือ ความชื้นในดิน
3. ส่วนที่เป็นอากาศ คือ ช่องว่างระหว่างเม็ดดินที่มีอากาศแทรกอยู่
4. ส่วนที่เป็นอินทรีย์สาร ได้แก่ ซากพืช ซากสัตว์ที่สลายตัว มากน้อย
แตกต่างกันและสิ่งมีชีวิตในดิน ซึ่งทากิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
ต่อพืช เช่น ไส้เดือนและแมลงในดิน เป็นต้น
 หน้าตัดของดิน เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในดินทาให้เกิดลักษณะ
ต่างๆ ปรากฏอยู่ตั้งแต่ผิวดินลงไปถึงชั้นวัตถุต้นกาเนิดดิน ตังนั้นหน้าตัด
ดินจึงเป็นลักษณะทั่วไปของดินในด้าน ปริมาณ การสะสม การสูญเสีย
การแปรสภาพ และการเคลื่อนย้าย เป็นต้น
 ส่วนของหน้าตัดดิน คือส่วนในแนวดิ่งตลอดชั้นดินทั้งหมด นับตั้งแต่ผิว
พื้นบนสุดที่แตะกับส่วนที่เป็นอากาศ หรือในบางกรณีอาจจะเป็นส่วน
ของน้าที่ไม่ลึกมากนักและไม่ถาวร จนถึงส่วนล่างสุดซึ่งโดยทั่วไปแล้ว
มักเป็นส่วนที่พืชยืนต้นประจาถิ่นไม่สามารถหยั่งรากส่วนใหญ่ลงไปได้
หรือส่วนที่เป็นชั้นหินแข็ง ในหน้าตัดของดินนี้อาจแบ่งเป็นชั้นดินต่าง ๆ
ออกเป็น 5 กลุ่มด้วยกัน แทนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ ได้แก่ O ,
A , B , C และ R
 วัตถุต้นกาเนิดดิน
 แร่
 หิน >>> หินอัคนี, หินตะกอน, หินแปร
 อินทรียวัตถุ >>> ซากพืช, ซากสัตว์
ดินเกิดจากอนุภาคของหินและแร่ที่ผุพัง ผสมกับซากพืชซากสัตว์ โดยมีน้าและ
อากาศแทรกอยู่ตามช่องว่างในดิน
ปัจจัยในการเกิดดิน : ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต ภูมิประเทศ วัตถุต้นกาเนิด เวลา
 เราสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 การผุพัง สลายตัว (Weathering) เป็นสาเกตุทาให้ชั้นหินแตกเป็นหินก้อนใหญ่ๆ หิน
ชั้นนี้ เมื่อถูกแสงแดดและฝนตกก็จะแตกหักและผุพังเป็นชิ้นเล็กๆต่อไป
ขั้นที่ 2 ขบวนการสร้างดิน (Soil Forming Process) จะเกิดขึ้นต่อเนื่องจากการผุพัง
สลายตัวของหินและ พืชจะเจริญงอกงามตามบริเวณรอยแตกของหิน แมลงเล็กๆ และ
สัตว์อื่นๆ เข้ามาอาศัยตามบริเวณรอยแตกเมื่อพืชและสัตว์ตายจะสลายตัวไปเป็นฮิวมัส
ขั้นที่ 3 สัตว์เล็กๆ ในดิน จะเคลื่อนที่ไปมาทาให้ฮิวมัสผสมกับเศษหินและแร่กลายเป็นดินที่
อุดมสมบูรณ์ เรียกว่า ดินชั้นบน
 จาแนกตามลักษณะของเนื้อดิน มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้
1. ดินเหนียว (Clay) คือ ดินที่มีเนื้อละเอียดที่สุด ยืดหยุ่นเมื่อเปียกน้า เหนียวติดมือ ปั้นเป็นก้อนหรือ
คลึงเป็นเส้นยาวได้ พังทลายได้ยาก การอุ้มน้าดี จับยึดและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้ค่อนข้างสูง
จึงมีธาตุอาหารพืชอยู่มาก
2. ดินทราย (Sand) เป็นดินที่เกาะตัวกันไม่แน่น ระบายน้าและอากาศได้ดีมาก อุ้มน้าได้น้อย พังทลาย
ง่าย มีความอุดมสมบูรณ์ต่าเพราะความสามารถในการจับยึดธาตุอาหารมีน้อย พืชที่ขึ้นอยู่ใน
บริเวณดินทรายจึงขาดน้าและธาตุอาหารได้ง่าย
3. ดินร่วน (Loam) คือ ดินที่มีเนื้อค่อนข้างละเอียด นุ่มมือ ยืดหยุ่นพอควร ระบายน้าได้ดีปานกลางมี
แร่ธาตุอาหารพืชมากกว่าดินทรายเหมาะสาหรับใช้เพาะปลูก
เนื่องจากดินเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเพาะปลูก การเจริญเติบโตของพืช จึงขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ
ต่างๆ หลายประการของดิน
1. คุณสมบัติทางกายภาพของดิน หมายถึง คุณสมบัติของดินที่เราสามารถตรวจสอบได้ด้วย
การแลเห็น หรือจับต้องได้ เช่น เนื้อดิน ความโปร่งหรือแน่นทึบของดิน ความสามารถใน
การอุ้มน้าของดิน และสีของดิน เป็นบางครั้งเรียกว่า คุณสมบัติทางฟิสิกส์
เนื้อดิน (Soil Texture)
คุณสมบัติที่เรียกว่า เนื้อดินนั้น ได้แก่ ความเหนียว ความหยาบ หรือละเอียดของ
ดิน ที่เรามีความรู้สึก เมื่อเราหยิบเอาดินที่เปียกพอหมาดๆ ขึ้นมา บี้ด้วยนิ้วหัวแม่มือกับ
นิ้วชี้ ความรู้สึกที่เกิดขึ้นว่า ดินบางก้อนเหนียว บางก้อนหยาบ และสากมือนั้น เนื่องจาก
อนุภาคของแร่หรืออนินทรียสารที่เป็นองค์ประกอบอยู่ในดินนั้น มีขนาดต่างกัน อยู่ร่วมกัน
ทั้งหยาบและละเอียด เป็นปริมาณสัดส่วนแตกต่างกันออกไปในแต่ละเนื้อดิน
ชนิดเนื้อดิน กลุ่มเนื้อดิน
๑. ดินเหนียว
๒. ดินเหนียวปนทราย
๓. ดินเหนียวปนตะกอน
กลุ่มดินเหนียวที่มีอนุภาคดินเหนียวตั้งแต่ ๔๐% ขึ้นไป
๔. ดินร่วนปนดินเหนียว
๕. ดินร่วนเหนียวปน
ตะกอน
๖. ดินร่วนเหนียวปนทราย
กลุ่มดินค่อนข้างเหนียว หรือดินร่วนเหนียวมีอนุภาคมีอนุภาคดิน
เหนียวระหว่าง ๒๐-๔๐%
๗. ดินร่วน
๘. ดินร่วนปนตะกอน
๙. ดินตะกอน
กลุ่มดินร่วน มีอนุภาคดินเหนียวต่ากว่า ๓๐%
๑๐. ดินร่วนปนทราย
๑๑. ดินทรายปนดินร่วน
๑๒. ดินทราย
กลุ่มดินทราย
มีอนุภาคดินเหนียวต่ากว่า ๒๐%
มีอนุภาคทรายมากกว่า ๔๐% ขึ้นไป
 สีของดิน : ดินแต่ละบริเวณจะมีสีที่แตกต่างกันไป เช่น สีดา น้าตาล เหลือง แดง หรือ สี
เทา รวมถึงจุดประสีต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของแร่ที่เป็นองค์ประกอบในดิน
สภาพแวดล้อมในการเกิดดิน ระยะเวลาการพัฒนา หรือวัสดุอื่นๆ ที่มีอยู่ในดิน
 2. คุณสมบัติทางเคมีของดิน หมายถึง คุณสมบัติของดินซึ่งเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถจะ
ตรวจสอบได้ด้วยความรู้สึกจากการเห็นด้วยตา และสัมผัสด้วยมือ แต่จะต้องอาศัยวิธีการ
วิเคราะห์ หรือกระบวนการทางเคมี เป็นเครื่องชี้บอก เช่น ความเป็นกรด-ด่างของดิน เป็น
ต้น
ความเป็นกรด-ด่างของดิน
เราสามารถตรวจสอบได้ ปกติเรามักใช้ค่าที่เรียกว่า พีเอช หรือ pH ความหมาย
ของค่าพีเอชนี้ขออธิบายดังนี้ ช่วงของพีเอชของดินโดยทั่วไป จะมีค่าอยู่ระหว่างประมาณ
3.๐-9.๐ ค่า pH 7.0 บอกถึงสภาพความเป็นกลางของดิน กล่าวคือ ดินมีตัวที่ทาให้เป็นกรด
และตัวที่ทาให้เป็นด่างอยู่เป็นปริมาณเท่ากันพอดี ค่าที่ต่ากว่า 7.๐ เช่น 6.๐ บอกสภาพ
ความเป็นกรดของดิน เช่นเดียวกับดินที่มี pH สูงกว่า 7.๐ ก็จะบอกสภาพความเป็นด่าง
ของดิน ยิ่งมีค่าสูงกว่า ๗.๐ เท่าใด ความเป็นด่างก็ยิ่งสูงขึ้นเท่านั้น
 สาหรับพืชทั่วๆไปเจริญเติบโตในช่วง pH ประมาณ 5.5-7.0
 3. คุณสมบัติทางด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน หมายถึง ปริมาณและชนิดของธาตุอาหาร
พืช ที่จาเป็นที่มีอยู่ในดิน มีมากน้อย และเป็นสัดส่วนกันอย่างไร มากพอหรือขาดแคลนสัก
เท่าใด พืชสามารถดึงดูดไปใช้เป็นประโยชน์ได้ยากหรือง่าย แบ่งเป็น
กลุ่มที่ ๑ ไนโตเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สามธาตุนี้ พืชมักต้องการเป็นปริมาณมาก แต่มักจะ
มีอยู่ในดินไม่ค่อยพอกับความต้องการของพืชที่ปลูก ต้องช่วยเหลือโดยใส่ปุ๋ ยอยู่เสมอ เฉพาะ
ธาตุอาหารในกลุ่มนี้เท่านั้น
กลุ่มที่ ๒ แคลเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน สามธาตุนี้ พืชต้องการมากเหมือนกัน บางธาตุก็
ไม่แพ้กลุ่มที่หนึ่ง แต่ธาตุทั้งสามนี้โดยปกติมักอยู่ในดินค่อนข้างมากเพียงพอกับความ
ต้องการของพืชทั่วๆ ไป เมื่อเราใส่ปุ๋ ยสาหรับธาตุในกลุ่มที่ ๑ ธาตุในกลุ่มที่ ๒ นี้ก็มักจะติดมา
ด้วยไม่มากก็น้อย ดังนั้นจึงไม่ค่อยมีปัญหาเกิดการขาดหรือมีไม่พอเพียงกับความต้องการ
ของพืช
กลุ่มที่ ๓ เหล็ก แมงกานีส โบรอน โมลิบดินัม ทองแดง สังกะสี และคลอรีน ธาตุทั้งเจ็ดนี้ พืช
โดยทั่วไปมีความต้องการเป็นปริมาณน้อยมาก เราจึงเรียกธาตุในกลุ่มที่ ๓ นี้ว่า จุลธาตุอาหาร
มีหลายวิธี ดังนี้
 การใส่ปุ๋ ยเพื่อเพิ่มแร่ธาตุ จุดประสงค์ของการใส่ปุ๋ ยเพื่อเพิ่มเกลือแร่ให้กับดินเกลือแร่บาง
ชนิดจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชเช่นเกลือแร่ของาตุไนโตรเจนฟอสฟอรัส
โพแทสเซียมและอื่นๆนอกจากนั้นยังเป็นการเพิ่มสารอินทรีย์ในดินอาจกระทาได้โดยใช้ปุ๋ ย
พืชสดใส่ปุ๋ ยคอกและปุ๋ ยหมักซึ่งปุ๋ ยอินทรีย์เหล่านี้จะช่วยให้ดินมีความสามารถอุ้มน้าได้ดี
อากาศแทรกซึมได้สะดวกและลดอัตราการสูญเสียหน้าดิน
 การปรับความเป็นกรด - เบสของดิน ปัจจัยที่เพิ่มความเป็นกรด - เบสของดิน ได้แก่ การเน่า
เปื่อยของสารอินทรีย์ในดิน การใส่ปุ๋ ยเคมีบางชนิด การใส่ปูนขาว โดยทั่วไปเป็นเพราะ
ปริมาณแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม และโซเดียมที่เกาะอยู่กับเม็ดดินมากน้อย
ต่างกัน จึงทาให้ดินแต่ละชนิดมีความเป็นกรด - เบส แตกต่างกัน
 การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชหมุนเวียนจะเป็นวิธีการที่ทาให้มีการเพิ่มสารอินทรีย์ใน
ดินเพื่อการเพิ่มคุณภาพของดิน
 ความสาคัญของดิน เป็นที่เกิดแห่งปัจจัยที่จาเป็นในการดารงชีวิต
 แสดงอาณาเขตที่อยู่อาศัย
 แหล่งปลูกพืช และที่มาของอาหาร
 ที่มาของเครื่องนุ่งห่ม และยา
 อื่นๆ อีกมากมาย
 การใช้ประโยชน์ของดิน
 ทางการเกษตร
 ปลูกพืช
 เลี้ยงสัตว์
 ขุดบ่อเลี้ยงปลา
 ทางการก่อสร้าง
 สร้างที่อยู่อาศัย
 สร้างถนน
 หิน (Rocks) คือมวลของแข็งที่ประกอบไปด้วยแร่ชนิดเดียวกันหรือ
หลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติเปลือกโลกส่วนใหญ่มักเป็ นแร่
ตระกูลซิลิเกตนอกจากนั้นยังมีแร่ตระกูลคาร์บอเนตเนื่องจากบรรยากาศ
โลกในอดีตส่วนใหญ่เป็ นคาร์บอนไดออกไซด์น้าฝนได้ละลาย
คาร์บอนไดออกไซด์บนบรรยากาศลงมาสะสมบนพื้นดินและมหาสมุทร
สิ่งมีชีวิตอาศัยคาร์บอนสร้างธาตุอาหารและร่างกายแพลงตอนบางชนิด
อาศัยซิลิกาสร้างเปลือกเมื่อตายลงทับถมกันเป็ นตะกอน
ประเภทของหิน
 นักธรณีวิทยาแบ่งหินออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะการเกิด คือ
· หินอัคนี
· หินตะกอน
· หินแปร
วัฏจักรหิน (Rock cycle)
 เมื่อหินหนืดร้อนภายในโลก (Magma) และ หินหนืดร้อนบนพื้นผิวโลก
(Lava) เย็นตัวลงกลายเป็น หินอัคนี ลมฟ้ าอากาศ น้า และแสงแดด ทาให้หินผุพัง
สึกกร่อนเป็นตะกอน ทับถมกันเป็นเวลานานหลายล้านปี แรงดันและปฏิกิริยาเคมี
ทาให้เกิดการรวมตัวเป็น หินตะกอน หรือ หินชั้น การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
และความร้อนจากแมนเทิลข้างล่าง ทาให้เกิดการแปรสภาพเป็น หิน
แปร กระบวนการเหล่านี้เกิดขึ้นเป็นวงรอบเรียกว่า วัฏจักรหิน (Rock
cycle) อย่างไรก็ตามกระบวนการไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ หินอัคนี หินชั้น และหิน
แปร การเปลี่ยนแปลงประเภทหินอาจเกิดขึ้นย้อนกลับไปมาได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัย
แวดล้อม
 หินอัคนี (Igneous rocks) เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด (Magma) จาก
ชั้นแมนเทิลที่โผล่ขึ้นมา เราแบ่งหินอัคนีตามแหล่งที่มาออกเป็น 2 ประเภท คือ
 หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rocks) เป็นหินที่เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลง
ภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ ทาให้ผลึกแร่มีขนาดใหญ่ และเนื้อหยาบ เช่น หินแกรนิต
หินไดออไรต์ และหินแกรโบร
 หินอัคนีพุ (Extrusive ingneous rocks) บางทีเรียกว่า หินภูเขาไฟ เป็นหินหนืดที่เกิด
จากลาวาบนพื้นผิวโลกเย็นตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้ผลึกมีขนาดเล็ก และเนื้อละเอียด
เช่น หินบะซอลต์ หินไรออไรต์ และหินแอนดีไซต์
แร่ประกอบหินแกรนิต
ฮอร์นเบรนด์ (สีดำ)
เฟลด์สปำร์
(สีขำวขุ่น)
ควอรตซ์
(สีเทำใส)
 หินตะกอน หรือ หินชั้น (Sedimentary rocks) เป็น หินที่ถูกแสงแดด ลมฟ้ าอากาศ และ
น้า หรือ ถูกกระแทก แล้วแตกเป็นก้อนเล็กๆ หรือผุกร่อน เสื่อมสภาพลง เศษหินที่ผุพังทั้ง
อนุภาคใหญ่และเล็กถูกพัดพาไปสะสมอัดตัวกัน เป็นชั้นๆ เกิดความกดดันและปฏิกิริยา
เคมีจนกลับกลายเป็นหินอีกครั้ง ซึ่งปัจจัยที่ทาให้เกิดหินตะกอนหรือหินชั้น คือ การผุพัง
(Weathering) การกร่อน (Erosion) และการพัดพา (Transportation)
 คือ หินที่แปรสภาพไปจากโดยการกระทาของความร้อน แรงดัน และปฏิกิริยาเคมี หินแปรบางชนิดยัง
แสดงเค้าเดิม บางชนิดผิดไปจากเดิมมากจนต้องอาศัยดูรายละเอียดของเนื้อใน หรือสภาพสิ่งแวดล้อม
จึงจะทราบที่มา อย่างไรก็ตามหินแปรชนิดหนึ่งๆ จะมีองค์ประกอบเดียวกันกับหินต้นกาเนิด แต่อาจจะ
มีการตกผลึกของแร่ใหม่ เช่น หินชนวนแปรมาจากหินดินดาน หินอ่อนแปรมาจากหินปูน เป็นต้น หิน
แปรส่วนใหญ่เกิดขึ้นในระดับลึกใต้เปลือกโลกหลายกิโลเมตร ที่ซึ่งมีความดันสูงและอยู่ใกล้กลับหิน
หนืดร้อน แต่การแปรสภาพในบริเวณใกล้พื้นผิวโลกเนื่องจากสิ่งแวดล้อมโดยรอบก็คงมี นักธรณีวิทยา
แบ่งการแปรสภาพออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. การแปรสภาพสัมผัส เป็นการแปรสภาพเพราะความร้อน เกิดขึ้น ณ บริเวณที่หินหนืดหรือลาวาแทรก
ดันขึ้นมาสัมผัสกับหินท้องที่
2. การแปรสภาพบริเวณไพศาล เป็นการแปรสภาพของหินซึ่งเกิดเป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลเนื่องจาก
อุณหภูมิและความกดดัน มักจะมี ริ่วขนาน (Foliation) จนแลดูเป็นแถบลายสลับสี บิดย้วยแบบลูกคลื่น
ซึ่งพบในหินชีสต์ หินไนส์ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการการตกผลึกใหม่ของแร่ในหิน ทั้งนี้ริ้วขนานอาจจะ
แยกออกได้เป็นแผ่นๆ และมีผิวหน้าเรียบเนียน เช่น หินชนวน
 แร่ (Mineral) หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ ( ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต) ที่มี
สถานะเป็นของแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโครงสร้างภายในที่เป็นผลึก มีสูตรเคมี
และสมบัติอื่นๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจากัด ตัวอย่างเช่น แร่เฮไลต์ ( เกลือ)
เป็นสารประกอบ (Compound) ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของโซเดียมและคลอรีนจานวน
เท่ากัน เกาะตัวกันอยู่ ทั้งนี้ผลึกเกลือขนาดเท่าหัวเข็มหมุด ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์
หลายล้านโมเลกุล
 ผลึก ( Crystal) หมายถึง ของแข็งที่มีเนื้อเดียวกัน มีรูปทรงสามมิติ ผิวหน้าแต่ด้านเป็น
ระนาบ ซึ่งเป็นผลมาจากการจัดตัวของอะตอมหรือโมเลกุลของธาตุที่ประกอบอยู่ใน
ของแข็งนั้นอย่างมีแบบแผน
 แนวแตกเรียบ (Clevage) หมายถึง รอยที่แตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้างอะตอมใน
ผลึกแร่
 แนวแตกประชิด (Fracture) หมายถึง แนวแตกบางๆ ซึ่งปรากฏเป็นแนวขนานบางๆ
หลายแนวบนเนื้อแร่ และมิได้อยู่ในระนาบเดียวกับแนวแตกเรียบ
 ความถ่วงจาเพาะ (Specific Gravity) เป็นอัตราส่วนระหว่างน้าหนักของสสารต่อน้าหนัก
ของน้า ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ
 ความแข็ง (Hardness) มาตราความแข็งของแร่ตามระบบสเกลของโมล (Mol’s
scale) ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน 10 ชนิด เรียงลาดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อย
ที่สุด ถึงมากที่สุด ตามตาราง
 สี (Color) เป็นคุณสมบัติที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดแต่เชื่อถือไม่ได้ แร่บางชนิดเช่น แร่ควอรตซ์
(SiO2) ปกติใสไม่มีสี แต่ที่พบเห็นส่วนมากจะมีสีขาว เหลือง ชมพู หรือดา เนื่องมีสารอื่น
เจือปนทาให้ไม่บริสุทธิ์ แร่คอรันดัม (Al2O3) โดยปกติมีสีขาวอมน้าตาลขุ่น แต่เมื่อมีธาตุ
โครเมียมจานวนเล็กน้อยเจือปน ก็จะมีสีแดงเรียกว่า “ ทับทิม” (Ruby)หรือถ้ามีธาตุเหล็ก
เจือปน ก็จะมีสีน้าเงินเรียกว่า “ ไพลิน” (Sapphire)
 สีผงละเอียด (Streak) เป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของแร่แต่ละชนิด เมื่อนาแร่มาขีดบนแผ่น
กระเบื้อง ( ที่ไม่เคลือบ) จะเห็นสีของรอยขีดติดอยู่แผ่นกระเบื้อง ซึ่งอาจมีสีไม่เหมือนกับ
ชิ้นแร่ก็ได้
 ความวาว (Luster) หมายถึง คุณสมบัติในการสะท้อนแสงของผิวแร่ ความวาวมีหลาย
แบบ เช่น วาวแบบโลหะ แบบมุก แบบเพชร แบบน้ามัน แบบแก้ว เป็นต้น
 ความเป็นโลหะและอโลหะ ( Metal and Nonmetal) เป็นสมบัติพื้นฐานของแร่ ต่างๆ ที่มี
ความแตกต่างกันในด้านสมบัติ ความเป็นโลหะและอโลหะ เช่น การนาไฟฟ้ า การนาความ
ร้อน การเกิดสารประกอบ เป็นต้น
 1. แร่โลหะและแร่อโลหะ เป็นแร่ที่อยู่ในหินทั่วไป
 แร่โลหะมีออกไซของโลหะ ซึ่งประกอบโลหะ กับออกซิเจน การนาแร่โลหะมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์จะต้องทาการถลุงแร่ให้ได้โลหะบริสุทธิเสียก่อน โลหะที่ยังไม่ผ่านการถลุง
เรียกว่า สินแร่ เช่น ตะกั่ว สังกะสี ดีบุก ทองแดง แมงกานีส พลวง โครเมียม
 แร่อโลหะไม่ต้องการถลุงสามารถที่จะขุดมาใช้ได้เลย มีดังนี้
 2. แร่รัตนาชาติ เป็นแร่อโลหะที่สามารถนามาเจียระไนหรือขัดมันให้เกิดความสวยงาม มี
ความเด่นชัด ของสี ความวาว การให้แสงผ่าน การกระทบแสง นิยมนามาทาเครื่องประดับ
โดยการขายเป็นกระรัต เช่นไพลิน หยก เพทาย มรกต โกเมน เป็นต้น
 3. แร่กัมมันตรังสี เป็นสภาพของนิวเคลียสไม่เสถียร จะมีการปล่อยรังสีออกมาจาก
อะตอมอยู่ตลอดเวลา จัดเป็นแร่ที่ให้พลังงานที่มหาศาล ปัจจุบันรังสีที่ปลดปล่อยออก
จาก แร่กัมมันตรังสี มาใช้ประโยชน์ เช่น การรักษาโรค ผลิตกระแสไฟฟ้ า เป็นต้น
 4. แร่เชื้อเพลิง เป็นทรัพยากรทางเศรษฐกิจ เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ามัน
น้ามันดิบหรือน้ามันปิโตรเลียม
การกาจัดมลภาวะหลังการเผาไหม้ถ่านหิน
1. ระบบกาจัดก๊าชไนโตรเจนออกไซด์ (NO)
2. ระบบการกาจัดฝุ่ นขนาดเล็ก (Electro-Static Precipitation : ESP) ซึ่งสามารถกาจัดได้ถึงร้อยละ
97-99
3. ระบบกาจัดก๊าชซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Flue Gas Desulfurization : FGD) ฉีดปูนขาวดักจับเกิด
เป็นยิปซัม สามารถกาจัดได้ถึงร้อยละ 97-99
 น้า เป็นของเหลวชนิดหนึ่ง ที่มีอยู่มากที่สุดบนผิวโลก และเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มนุษย์รู้จัก เราสามารถพบน้าได้ในหลายๆ สถานที่ อาทิ ทะเล ทะเลสาบ แม่น้า
ห้วย หนอง คลอง บึงและในหลายๆ รูปแบบ เช่น น้าแข็ง หิมะ ฝน ลูกเห็บ เมฆ และไอน้า
 น้ามีรูปแบบและสถานะเป็นของเหลว แต่น้าก็ยังมีในรูปของสถานะของแข็งที่เรียกว่าน้าแข็ง และ
สถานะแก๊สที่เรียกว่าไอน้า น้าปริมาณประมาณ 1.460 เพตะตัน ปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก
ส่วนมากในมหาสมุทรและในแหล่งน้าแห่งใหญ่ทั่วไป น้า 1.6% อยู่ภายใต้หินหรือพื้นดินที่ยังมี
น้าแข็งอยู่ และอีก 0.001% อยู่ในอากาศในรูปแบบของไอน้าและก้อนเมฆซึ่งเป็นลักษณะของส่วน
ของของแข็งและของเหลวลอยอยู่บนอากาศและเกิดการตกตะกอน น้าบนโลกบางส่วนถูกบรรจุลง
ในสิ่งของต่าง ๆ ที่เกิดโดยธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นบนโลก อย่างเช่น อ่างเก็บน้า ในร่างกาย
ของสัตว์และพืช ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ และร้านอาหาร
 น้าในมหาสมุทรมีอยู่มากถึง 97% ของพื้นผิวน้าทั้งหมดบนโลก ธารน้าแข็งและน้าแข็งขั้วโลก
อีก 2.4% และที่เหลือคือน้าที่อยู่บนพื้นดินเช่น แม่น้า ทะเลสาบ บ่อน้า อีก 0.6% น้าเคลื่อนที่
อย่างต่อเนื่องผ่านวัฏจักรของการกลายเป็นไอหรือการคายน้า การตกลงมาเป็นฝน และการ
ไหลของน้าซึ่งโดยปกติจะไหลไปสู่ทะเล ลมเป็นตัวพาไอน้าผ่านหนือพื้นดินในอัตราที่เท่า ๆ
กันเช่นเดียวกับการไหลออกสู่ทะเล น้าบางส่วนถูกกักขังไว้เป็นเวลาหลายยุคหลายสมัยใน
รูปแบบของน้าแข็งขั้วโลก ธารน้าแข็ง น้าที่อยู่ตามหินหรือดิน หรือในทะเลสาบ บางครั้งอาจ
มีการหาน้าสะอาดมาเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนพื้นดิน น้าใสและสะอาดนั้นเป็นสิ่งจาเป็นต่อมนุษย์
และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
 น้ามีสมบัติเป็นตัวทาละลายที่ดีมาก เราจึงไม่ค่อยพบน้าบริสุทธิ์ในธรรมชาติ ดังนั้นน้าสะอาด
ที่เหมาะสมต่อการบริโภคของมนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง ในบางประเทศปัญหาการขาด
แคลนน้าเป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อสังคม และเศรษฐกิจของประเทศนั้นอย่าง
กว้างขวาง
 หลุมยุบ (sinkhole)
 การกัดเซาะชายฝั่ง (coastal erosion)
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 

La actualidad más candente (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 

Destacado

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 

Destacado (20)

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similar a บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2

ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินPassakorn TheJung
 
โครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขา
โครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขาโครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขา
โครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขาtukkiepalmmy
 
โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910tukkiepalmmy
 
โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910tukkiepalmmy
 
ความลับของดิน
ความลับของดินความลับของดิน
ความลับของดินKomgid
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 

Similar a บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2 (9)

ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
โครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขา
โครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขาโครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขา
โครงงานเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้กับภูเขา
 
โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910
 
โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910โครงงานเรื่อง12345678910
โครงงานเรื่อง12345678910
 
ความลับของดิน
ความลับของดินความลับของดิน
ความลับของดิน
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 

Más de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Más de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2

  • 1. บทที่ 3 ทรัพยากรธรณี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 (ว22101) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2.  ทรัพยากรธรณี มีส่วนสาคัญต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคมมนุษย์เช่น ถ่าน หิน น้ามันเหล็ก ดีบุก ทองแดง ตะกั่ว เงิน ทอง มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์จากแร่ ธาตุเหล่านี้ โดยดัดแปลงมาเป็นเครื่องใช้เป็นอุปกรณ์ในการประกอบการงาน ใช้เป็นส่วนประกอบของสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ใช้ในกิจการด้านอุตสาหกรรม ใช้ เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนและพลังงาน จึงนับได้ว่าทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ เหล่านี้ ช่วยให้มนุษย์ได้มีโอกาสอยู่ดี กินดี มีฐานะมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
  • 3.  ดิน(soil) หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกเกิดจากการ แปลงสภาพหรือสลายตัวของหินแร่ธาตุและอินทรีย์วัตถุผสม คลุกเคล้ากันตามธรรมชาติรวมตัวกันเป็นชั้นบางๆเมื่อมีน้าและ อากาศที่เหมาะสมก็จะทาให้พืชเจริญเติบโตและยังชีพอยู่ได้  ส่วนประกอบของดิน ดินมีส่วนประกอบที่สาคัญอยู่ 4 ส่วน ดังนี้ คือ 1. ส่วนที่เป็นอนินทรีย์สาร ได้แก่ แร่ หิน ทราย เป็นต้น 2. ส่วนที่เป็นน้า คือ ความชื้นในดิน 3. ส่วนที่เป็นอากาศ คือ ช่องว่างระหว่างเม็ดดินที่มีอากาศแทรกอยู่ 4. ส่วนที่เป็นอินทรีย์สาร ได้แก่ ซากพืช ซากสัตว์ที่สลายตัว มากน้อย แตกต่างกันและสิ่งมีชีวิตในดิน ซึ่งทากิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ ต่อพืช เช่น ไส้เดือนและแมลงในดิน เป็นต้น
  • 4.  หน้าตัดของดิน เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในดินทาให้เกิดลักษณะ ต่างๆ ปรากฏอยู่ตั้งแต่ผิวดินลงไปถึงชั้นวัตถุต้นกาเนิดดิน ตังนั้นหน้าตัด ดินจึงเป็นลักษณะทั่วไปของดินในด้าน ปริมาณ การสะสม การสูญเสีย การแปรสภาพ และการเคลื่อนย้าย เป็นต้น  ส่วนของหน้าตัดดิน คือส่วนในแนวดิ่งตลอดชั้นดินทั้งหมด นับตั้งแต่ผิว พื้นบนสุดที่แตะกับส่วนที่เป็นอากาศ หรือในบางกรณีอาจจะเป็นส่วน ของน้าที่ไม่ลึกมากนักและไม่ถาวร จนถึงส่วนล่างสุดซึ่งโดยทั่วไปแล้ว มักเป็นส่วนที่พืชยืนต้นประจาถิ่นไม่สามารถหยั่งรากส่วนใหญ่ลงไปได้ หรือส่วนที่เป็นชั้นหินแข็ง ในหน้าตัดของดินนี้อาจแบ่งเป็นชั้นดินต่าง ๆ ออกเป็น 5 กลุ่มด้วยกัน แทนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ ได้แก่ O , A , B , C และ R
  • 5.
  • 6.  วัตถุต้นกาเนิดดิน  แร่  หิน >>> หินอัคนี, หินตะกอน, หินแปร  อินทรียวัตถุ >>> ซากพืช, ซากสัตว์ ดินเกิดจากอนุภาคของหินและแร่ที่ผุพัง ผสมกับซากพืชซากสัตว์ โดยมีน้าและ อากาศแทรกอยู่ตามช่องว่างในดิน ปัจจัยในการเกิดดิน : ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต ภูมิประเทศ วัตถุต้นกาเนิด เวลา
  • 7.  เราสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การผุพัง สลายตัว (Weathering) เป็นสาเกตุทาให้ชั้นหินแตกเป็นหินก้อนใหญ่ๆ หิน ชั้นนี้ เมื่อถูกแสงแดดและฝนตกก็จะแตกหักและผุพังเป็นชิ้นเล็กๆต่อไป ขั้นที่ 2 ขบวนการสร้างดิน (Soil Forming Process) จะเกิดขึ้นต่อเนื่องจากการผุพัง สลายตัวของหินและ พืชจะเจริญงอกงามตามบริเวณรอยแตกของหิน แมลงเล็กๆ และ สัตว์อื่นๆ เข้ามาอาศัยตามบริเวณรอยแตกเมื่อพืชและสัตว์ตายจะสลายตัวไปเป็นฮิวมัส ขั้นที่ 3 สัตว์เล็กๆ ในดิน จะเคลื่อนที่ไปมาทาให้ฮิวมัสผสมกับเศษหินและแร่กลายเป็นดินที่ อุดมสมบูรณ์ เรียกว่า ดินชั้นบน
  • 8.  จาแนกตามลักษณะของเนื้อดิน มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ดินเหนียว (Clay) คือ ดินที่มีเนื้อละเอียดที่สุด ยืดหยุ่นเมื่อเปียกน้า เหนียวติดมือ ปั้นเป็นก้อนหรือ คลึงเป็นเส้นยาวได้ พังทลายได้ยาก การอุ้มน้าดี จับยึดและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้ค่อนข้างสูง จึงมีธาตุอาหารพืชอยู่มาก 2. ดินทราย (Sand) เป็นดินที่เกาะตัวกันไม่แน่น ระบายน้าและอากาศได้ดีมาก อุ้มน้าได้น้อย พังทลาย ง่าย มีความอุดมสมบูรณ์ต่าเพราะความสามารถในการจับยึดธาตุอาหารมีน้อย พืชที่ขึ้นอยู่ใน บริเวณดินทรายจึงขาดน้าและธาตุอาหารได้ง่าย 3. ดินร่วน (Loam) คือ ดินที่มีเนื้อค่อนข้างละเอียด นุ่มมือ ยืดหยุ่นพอควร ระบายน้าได้ดีปานกลางมี แร่ธาตุอาหารพืชมากกว่าดินทรายเหมาะสาหรับใช้เพาะปลูก
  • 9. เนื่องจากดินเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเพาะปลูก การเจริญเติบโตของพืช จึงขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ต่างๆ หลายประการของดิน 1. คุณสมบัติทางกายภาพของดิน หมายถึง คุณสมบัติของดินที่เราสามารถตรวจสอบได้ด้วย การแลเห็น หรือจับต้องได้ เช่น เนื้อดิน ความโปร่งหรือแน่นทึบของดิน ความสามารถใน การอุ้มน้าของดิน และสีของดิน เป็นบางครั้งเรียกว่า คุณสมบัติทางฟิสิกส์ เนื้อดิน (Soil Texture) คุณสมบัติที่เรียกว่า เนื้อดินนั้น ได้แก่ ความเหนียว ความหยาบ หรือละเอียดของ ดิน ที่เรามีความรู้สึก เมื่อเราหยิบเอาดินที่เปียกพอหมาดๆ ขึ้นมา บี้ด้วยนิ้วหัวแม่มือกับ นิ้วชี้ ความรู้สึกที่เกิดขึ้นว่า ดินบางก้อนเหนียว บางก้อนหยาบ และสากมือนั้น เนื่องจาก อนุภาคของแร่หรืออนินทรียสารที่เป็นองค์ประกอบอยู่ในดินนั้น มีขนาดต่างกัน อยู่ร่วมกัน ทั้งหยาบและละเอียด เป็นปริมาณสัดส่วนแตกต่างกันออกไปในแต่ละเนื้อดิน
  • 10. ชนิดเนื้อดิน กลุ่มเนื้อดิน ๑. ดินเหนียว ๒. ดินเหนียวปนทราย ๓. ดินเหนียวปนตะกอน กลุ่มดินเหนียวที่มีอนุภาคดินเหนียวตั้งแต่ ๔๐% ขึ้นไป ๔. ดินร่วนปนดินเหนียว ๕. ดินร่วนเหนียวปน ตะกอน ๖. ดินร่วนเหนียวปนทราย กลุ่มดินค่อนข้างเหนียว หรือดินร่วนเหนียวมีอนุภาคมีอนุภาคดิน เหนียวระหว่าง ๒๐-๔๐% ๗. ดินร่วน ๘. ดินร่วนปนตะกอน ๙. ดินตะกอน กลุ่มดินร่วน มีอนุภาคดินเหนียวต่ากว่า ๓๐% ๑๐. ดินร่วนปนทราย ๑๑. ดินทรายปนดินร่วน ๑๒. ดินทราย กลุ่มดินทราย มีอนุภาคดินเหนียวต่ากว่า ๒๐% มีอนุภาคทรายมากกว่า ๔๐% ขึ้นไป
  • 11.  สีของดิน : ดินแต่ละบริเวณจะมีสีที่แตกต่างกันไป เช่น สีดา น้าตาล เหลือง แดง หรือ สี เทา รวมถึงจุดประสีต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของแร่ที่เป็นองค์ประกอบในดิน สภาพแวดล้อมในการเกิดดิน ระยะเวลาการพัฒนา หรือวัสดุอื่นๆ ที่มีอยู่ในดิน
  • 12.
  • 13.  2. คุณสมบัติทางเคมีของดิน หมายถึง คุณสมบัติของดินซึ่งเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถจะ ตรวจสอบได้ด้วยความรู้สึกจากการเห็นด้วยตา และสัมผัสด้วยมือ แต่จะต้องอาศัยวิธีการ วิเคราะห์ หรือกระบวนการทางเคมี เป็นเครื่องชี้บอก เช่น ความเป็นกรด-ด่างของดิน เป็น ต้น ความเป็นกรด-ด่างของดิน เราสามารถตรวจสอบได้ ปกติเรามักใช้ค่าที่เรียกว่า พีเอช หรือ pH ความหมาย ของค่าพีเอชนี้ขออธิบายดังนี้ ช่วงของพีเอชของดินโดยทั่วไป จะมีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 3.๐-9.๐ ค่า pH 7.0 บอกถึงสภาพความเป็นกลางของดิน กล่าวคือ ดินมีตัวที่ทาให้เป็นกรด และตัวที่ทาให้เป็นด่างอยู่เป็นปริมาณเท่ากันพอดี ค่าที่ต่ากว่า 7.๐ เช่น 6.๐ บอกสภาพ ความเป็นกรดของดิน เช่นเดียวกับดินที่มี pH สูงกว่า 7.๐ ก็จะบอกสภาพความเป็นด่าง ของดิน ยิ่งมีค่าสูงกว่า ๗.๐ เท่าใด ความเป็นด่างก็ยิ่งสูงขึ้นเท่านั้น  สาหรับพืชทั่วๆไปเจริญเติบโตในช่วง pH ประมาณ 5.5-7.0
  • 14.  3. คุณสมบัติทางด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน หมายถึง ปริมาณและชนิดของธาตุอาหาร พืช ที่จาเป็นที่มีอยู่ในดิน มีมากน้อย และเป็นสัดส่วนกันอย่างไร มากพอหรือขาดแคลนสัก เท่าใด พืชสามารถดึงดูดไปใช้เป็นประโยชน์ได้ยากหรือง่าย แบ่งเป็น กลุ่มที่ ๑ ไนโตเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สามธาตุนี้ พืชมักต้องการเป็นปริมาณมาก แต่มักจะ มีอยู่ในดินไม่ค่อยพอกับความต้องการของพืชที่ปลูก ต้องช่วยเหลือโดยใส่ปุ๋ ยอยู่เสมอ เฉพาะ ธาตุอาหารในกลุ่มนี้เท่านั้น กลุ่มที่ ๒ แคลเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน สามธาตุนี้ พืชต้องการมากเหมือนกัน บางธาตุก็ ไม่แพ้กลุ่มที่หนึ่ง แต่ธาตุทั้งสามนี้โดยปกติมักอยู่ในดินค่อนข้างมากเพียงพอกับความ ต้องการของพืชทั่วๆ ไป เมื่อเราใส่ปุ๋ ยสาหรับธาตุในกลุ่มที่ ๑ ธาตุในกลุ่มที่ ๒ นี้ก็มักจะติดมา ด้วยไม่มากก็น้อย ดังนั้นจึงไม่ค่อยมีปัญหาเกิดการขาดหรือมีไม่พอเพียงกับความต้องการ ของพืช กลุ่มที่ ๓ เหล็ก แมงกานีส โบรอน โมลิบดินัม ทองแดง สังกะสี และคลอรีน ธาตุทั้งเจ็ดนี้ พืช โดยทั่วไปมีความต้องการเป็นปริมาณน้อยมาก เราจึงเรียกธาตุในกลุ่มที่ ๓ นี้ว่า จุลธาตุอาหาร
  • 15. มีหลายวิธี ดังนี้  การใส่ปุ๋ ยเพื่อเพิ่มแร่ธาตุ จุดประสงค์ของการใส่ปุ๋ ยเพื่อเพิ่มเกลือแร่ให้กับดินเกลือแร่บาง ชนิดจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชเช่นเกลือแร่ของาตุไนโตรเจนฟอสฟอรัส โพแทสเซียมและอื่นๆนอกจากนั้นยังเป็นการเพิ่มสารอินทรีย์ในดินอาจกระทาได้โดยใช้ปุ๋ ย พืชสดใส่ปุ๋ ยคอกและปุ๋ ยหมักซึ่งปุ๋ ยอินทรีย์เหล่านี้จะช่วยให้ดินมีความสามารถอุ้มน้าได้ดี อากาศแทรกซึมได้สะดวกและลดอัตราการสูญเสียหน้าดิน  การปรับความเป็นกรด - เบสของดิน ปัจจัยที่เพิ่มความเป็นกรด - เบสของดิน ได้แก่ การเน่า เปื่อยของสารอินทรีย์ในดิน การใส่ปุ๋ ยเคมีบางชนิด การใส่ปูนขาว โดยทั่วไปเป็นเพราะ ปริมาณแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม และโซเดียมที่เกาะอยู่กับเม็ดดินมากน้อย ต่างกัน จึงทาให้ดินแต่ละชนิดมีความเป็นกรด - เบส แตกต่างกัน  การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชหมุนเวียนจะเป็นวิธีการที่ทาให้มีการเพิ่มสารอินทรีย์ใน ดินเพื่อการเพิ่มคุณภาพของดิน
  • 16.  ความสาคัญของดิน เป็นที่เกิดแห่งปัจจัยที่จาเป็นในการดารงชีวิต  แสดงอาณาเขตที่อยู่อาศัย  แหล่งปลูกพืช และที่มาของอาหาร  ที่มาของเครื่องนุ่งห่ม และยา  อื่นๆ อีกมากมาย  การใช้ประโยชน์ของดิน  ทางการเกษตร  ปลูกพืช  เลี้ยงสัตว์  ขุดบ่อเลี้ยงปลา  ทางการก่อสร้าง  สร้างที่อยู่อาศัย  สร้างถนน
  • 17.  หิน (Rocks) คือมวลของแข็งที่ประกอบไปด้วยแร่ชนิดเดียวกันหรือ หลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติเปลือกโลกส่วนใหญ่มักเป็ นแร่ ตระกูลซิลิเกตนอกจากนั้นยังมีแร่ตระกูลคาร์บอเนตเนื่องจากบรรยากาศ โลกในอดีตส่วนใหญ่เป็ นคาร์บอนไดออกไซด์น้าฝนได้ละลาย คาร์บอนไดออกไซด์บนบรรยากาศลงมาสะสมบนพื้นดินและมหาสมุทร สิ่งมีชีวิตอาศัยคาร์บอนสร้างธาตุอาหารและร่างกายแพลงตอนบางชนิด อาศัยซิลิกาสร้างเปลือกเมื่อตายลงทับถมกันเป็ นตะกอน
  • 18. ประเภทของหิน  นักธรณีวิทยาแบ่งหินออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะการเกิด คือ · หินอัคนี · หินตะกอน · หินแปร วัฏจักรหิน (Rock cycle)  เมื่อหินหนืดร้อนภายในโลก (Magma) และ หินหนืดร้อนบนพื้นผิวโลก (Lava) เย็นตัวลงกลายเป็น หินอัคนี ลมฟ้ าอากาศ น้า และแสงแดด ทาให้หินผุพัง สึกกร่อนเป็นตะกอน ทับถมกันเป็นเวลานานหลายล้านปี แรงดันและปฏิกิริยาเคมี ทาให้เกิดการรวมตัวเป็น หินตะกอน หรือ หินชั้น การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก และความร้อนจากแมนเทิลข้างล่าง ทาให้เกิดการแปรสภาพเป็น หิน แปร กระบวนการเหล่านี้เกิดขึ้นเป็นวงรอบเรียกว่า วัฏจักรหิน (Rock cycle) อย่างไรก็ตามกระบวนการไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ หินอัคนี หินชั้น และหิน แปร การเปลี่ยนแปลงประเภทหินอาจเกิดขึ้นย้อนกลับไปมาได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัย แวดล้อม
  • 19.
  • 20.  หินอัคนี (Igneous rocks) เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด (Magma) จาก ชั้นแมนเทิลที่โผล่ขึ้นมา เราแบ่งหินอัคนีตามแหล่งที่มาออกเป็น 2 ประเภท คือ  หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rocks) เป็นหินที่เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลง ภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ ทาให้ผลึกแร่มีขนาดใหญ่ และเนื้อหยาบ เช่น หินแกรนิต หินไดออไรต์ และหินแกรโบร  หินอัคนีพุ (Extrusive ingneous rocks) บางทีเรียกว่า หินภูเขาไฟ เป็นหินหนืดที่เกิด จากลาวาบนพื้นผิวโลกเย็นตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้ผลึกมีขนาดเล็ก และเนื้อละเอียด เช่น หินบะซอลต์ หินไรออไรต์ และหินแอนดีไซต์
  • 21.
  • 23.  หินตะกอน หรือ หินชั้น (Sedimentary rocks) เป็น หินที่ถูกแสงแดด ลมฟ้ าอากาศ และ น้า หรือ ถูกกระแทก แล้วแตกเป็นก้อนเล็กๆ หรือผุกร่อน เสื่อมสภาพลง เศษหินที่ผุพังทั้ง อนุภาคใหญ่และเล็กถูกพัดพาไปสะสมอัดตัวกัน เป็นชั้นๆ เกิดความกดดันและปฏิกิริยา เคมีจนกลับกลายเป็นหินอีกครั้ง ซึ่งปัจจัยที่ทาให้เกิดหินตะกอนหรือหินชั้น คือ การผุพัง (Weathering) การกร่อน (Erosion) และการพัดพา (Transportation)
  • 24.
  • 25.
  • 26.  คือ หินที่แปรสภาพไปจากโดยการกระทาของความร้อน แรงดัน และปฏิกิริยาเคมี หินแปรบางชนิดยัง แสดงเค้าเดิม บางชนิดผิดไปจากเดิมมากจนต้องอาศัยดูรายละเอียดของเนื้อใน หรือสภาพสิ่งแวดล้อม จึงจะทราบที่มา อย่างไรก็ตามหินแปรชนิดหนึ่งๆ จะมีองค์ประกอบเดียวกันกับหินต้นกาเนิด แต่อาจจะ มีการตกผลึกของแร่ใหม่ เช่น หินชนวนแปรมาจากหินดินดาน หินอ่อนแปรมาจากหินปูน เป็นต้น หิน แปรส่วนใหญ่เกิดขึ้นในระดับลึกใต้เปลือกโลกหลายกิโลเมตร ที่ซึ่งมีความดันสูงและอยู่ใกล้กลับหิน หนืดร้อน แต่การแปรสภาพในบริเวณใกล้พื้นผิวโลกเนื่องจากสิ่งแวดล้อมโดยรอบก็คงมี นักธรณีวิทยา แบ่งการแปรสภาพออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. การแปรสภาพสัมผัส เป็นการแปรสภาพเพราะความร้อน เกิดขึ้น ณ บริเวณที่หินหนืดหรือลาวาแทรก ดันขึ้นมาสัมผัสกับหินท้องที่ 2. การแปรสภาพบริเวณไพศาล เป็นการแปรสภาพของหินซึ่งเกิดเป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลเนื่องจาก อุณหภูมิและความกดดัน มักจะมี ริ่วขนาน (Foliation) จนแลดูเป็นแถบลายสลับสี บิดย้วยแบบลูกคลื่น ซึ่งพบในหินชีสต์ หินไนส์ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการการตกผลึกใหม่ของแร่ในหิน ทั้งนี้ริ้วขนานอาจจะ แยกออกได้เป็นแผ่นๆ และมีผิวหน้าเรียบเนียน เช่น หินชนวน
  • 27.
  • 28.
  • 29.  แร่ (Mineral) หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ ( ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต) ที่มี สถานะเป็นของแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีโครงสร้างภายในที่เป็นผลึก มีสูตรเคมี และสมบัติอื่นๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจากัด ตัวอย่างเช่น แร่เฮไลต์ ( เกลือ) เป็นสารประกอบ (Compound) ซึ่งประกอบด้วยอะตอมของโซเดียมและคลอรีนจานวน เท่ากัน เกาะตัวกันอยู่ ทั้งนี้ผลึกเกลือขนาดเท่าหัวเข็มหมุด ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์ หลายล้านโมเลกุล
  • 30.  ผลึก ( Crystal) หมายถึง ของแข็งที่มีเนื้อเดียวกัน มีรูปทรงสามมิติ ผิวหน้าแต่ด้านเป็น ระนาบ ซึ่งเป็นผลมาจากการจัดตัวของอะตอมหรือโมเลกุลของธาตุที่ประกอบอยู่ใน ของแข็งนั้นอย่างมีแบบแผน  แนวแตกเรียบ (Clevage) หมายถึง รอยที่แตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้างอะตอมใน ผลึกแร่  แนวแตกประชิด (Fracture) หมายถึง แนวแตกบางๆ ซึ่งปรากฏเป็นแนวขนานบางๆ หลายแนวบนเนื้อแร่ และมิได้อยู่ในระนาบเดียวกับแนวแตกเรียบ  ความถ่วงจาเพาะ (Specific Gravity) เป็นอัตราส่วนระหว่างน้าหนักของสสารต่อน้าหนัก ของน้า ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ
  • 31.  ความแข็ง (Hardness) มาตราความแข็งของแร่ตามระบบสเกลของโมล (Mol’s scale) ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน 10 ชนิด เรียงลาดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อย ที่สุด ถึงมากที่สุด ตามตาราง
  • 32.  สี (Color) เป็นคุณสมบัติที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดแต่เชื่อถือไม่ได้ แร่บางชนิดเช่น แร่ควอรตซ์ (SiO2) ปกติใสไม่มีสี แต่ที่พบเห็นส่วนมากจะมีสีขาว เหลือง ชมพู หรือดา เนื่องมีสารอื่น เจือปนทาให้ไม่บริสุทธิ์ แร่คอรันดัม (Al2O3) โดยปกติมีสีขาวอมน้าตาลขุ่น แต่เมื่อมีธาตุ โครเมียมจานวนเล็กน้อยเจือปน ก็จะมีสีแดงเรียกว่า “ ทับทิม” (Ruby)หรือถ้ามีธาตุเหล็ก เจือปน ก็จะมีสีน้าเงินเรียกว่า “ ไพลิน” (Sapphire)  สีผงละเอียด (Streak) เป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของแร่แต่ละชนิด เมื่อนาแร่มาขีดบนแผ่น กระเบื้อง ( ที่ไม่เคลือบ) จะเห็นสีของรอยขีดติดอยู่แผ่นกระเบื้อง ซึ่งอาจมีสีไม่เหมือนกับ ชิ้นแร่ก็ได้  ความวาว (Luster) หมายถึง คุณสมบัติในการสะท้อนแสงของผิวแร่ ความวาวมีหลาย แบบ เช่น วาวแบบโลหะ แบบมุก แบบเพชร แบบน้ามัน แบบแก้ว เป็นต้น  ความเป็นโลหะและอโลหะ ( Metal and Nonmetal) เป็นสมบัติพื้นฐานของแร่ ต่างๆ ที่มี ความแตกต่างกันในด้านสมบัติ ความเป็นโลหะและอโลหะ เช่น การนาไฟฟ้ า การนาความ ร้อน การเกิดสารประกอบ เป็นต้น
  • 33.
  • 34.
  • 35.  1. แร่โลหะและแร่อโลหะ เป็นแร่ที่อยู่ในหินทั่วไป  แร่โลหะมีออกไซของโลหะ ซึ่งประกอบโลหะ กับออกซิเจน การนาแร่โลหะมาใช้ให้เกิด ประโยชน์จะต้องทาการถลุงแร่ให้ได้โลหะบริสุทธิเสียก่อน โลหะที่ยังไม่ผ่านการถลุง เรียกว่า สินแร่ เช่น ตะกั่ว สังกะสี ดีบุก ทองแดง แมงกานีส พลวง โครเมียม  แร่อโลหะไม่ต้องการถลุงสามารถที่จะขุดมาใช้ได้เลย มีดังนี้
  • 36.  2. แร่รัตนาชาติ เป็นแร่อโลหะที่สามารถนามาเจียระไนหรือขัดมันให้เกิดความสวยงาม มี ความเด่นชัด ของสี ความวาว การให้แสงผ่าน การกระทบแสง นิยมนามาทาเครื่องประดับ โดยการขายเป็นกระรัต เช่นไพลิน หยก เพทาย มรกต โกเมน เป็นต้น
  • 37.  3. แร่กัมมันตรังสี เป็นสภาพของนิวเคลียสไม่เสถียร จะมีการปล่อยรังสีออกมาจาก อะตอมอยู่ตลอดเวลา จัดเป็นแร่ที่ให้พลังงานที่มหาศาล ปัจจุบันรังสีที่ปลดปล่อยออก จาก แร่กัมมันตรังสี มาใช้ประโยชน์ เช่น การรักษาโรค ผลิตกระแสไฟฟ้ า เป็นต้น
  • 38.  4. แร่เชื้อเพลิง เป็นทรัพยากรทางเศรษฐกิจ เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ามัน น้ามันดิบหรือน้ามันปิโตรเลียม
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43. การกาจัดมลภาวะหลังการเผาไหม้ถ่านหิน 1. ระบบกาจัดก๊าชไนโตรเจนออกไซด์ (NO) 2. ระบบการกาจัดฝุ่ นขนาดเล็ก (Electro-Static Precipitation : ESP) ซึ่งสามารถกาจัดได้ถึงร้อยละ 97-99 3. ระบบกาจัดก๊าชซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Flue Gas Desulfurization : FGD) ฉีดปูนขาวดักจับเกิด เป็นยิปซัม สามารถกาจัดได้ถึงร้อยละ 97-99
  • 44.  น้า เป็นของเหลวชนิดหนึ่ง ที่มีอยู่มากที่สุดบนผิวโลก และเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงชีวิตของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มนุษย์รู้จัก เราสามารถพบน้าได้ในหลายๆ สถานที่ อาทิ ทะเล ทะเลสาบ แม่น้า ห้วย หนอง คลอง บึงและในหลายๆ รูปแบบ เช่น น้าแข็ง หิมะ ฝน ลูกเห็บ เมฆ และไอน้า  น้ามีรูปแบบและสถานะเป็นของเหลว แต่น้าก็ยังมีในรูปของสถานะของแข็งที่เรียกว่าน้าแข็ง และ สถานะแก๊สที่เรียกว่าไอน้า น้าปริมาณประมาณ 1.460 เพตะตัน ปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก ส่วนมากในมหาสมุทรและในแหล่งน้าแห่งใหญ่ทั่วไป น้า 1.6% อยู่ภายใต้หินหรือพื้นดินที่ยังมี น้าแข็งอยู่ และอีก 0.001% อยู่ในอากาศในรูปแบบของไอน้าและก้อนเมฆซึ่งเป็นลักษณะของส่วน ของของแข็งและของเหลวลอยอยู่บนอากาศและเกิดการตกตะกอน น้าบนโลกบางส่วนถูกบรรจุลง ในสิ่งของต่าง ๆ ที่เกิดโดยธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นบนโลก อย่างเช่น อ่างเก็บน้า ในร่างกาย ของสัตว์และพืช ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ และร้านอาหาร
  • 45.  น้าในมหาสมุทรมีอยู่มากถึง 97% ของพื้นผิวน้าทั้งหมดบนโลก ธารน้าแข็งและน้าแข็งขั้วโลก อีก 2.4% และที่เหลือคือน้าที่อยู่บนพื้นดินเช่น แม่น้า ทะเลสาบ บ่อน้า อีก 0.6% น้าเคลื่อนที่ อย่างต่อเนื่องผ่านวัฏจักรของการกลายเป็นไอหรือการคายน้า การตกลงมาเป็นฝน และการ ไหลของน้าซึ่งโดยปกติจะไหลไปสู่ทะเล ลมเป็นตัวพาไอน้าผ่านหนือพื้นดินในอัตราที่เท่า ๆ กันเช่นเดียวกับการไหลออกสู่ทะเล น้าบางส่วนถูกกักขังไว้เป็นเวลาหลายยุคหลายสมัยใน รูปแบบของน้าแข็งขั้วโลก ธารน้าแข็ง น้าที่อยู่ตามหินหรือดิน หรือในทะเลสาบ บางครั้งอาจ มีการหาน้าสะอาดมาเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนพื้นดิน น้าใสและสะอาดนั้นเป็นสิ่งจาเป็นต่อมนุษย์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ  น้ามีสมบัติเป็นตัวทาละลายที่ดีมาก เราจึงไม่ค่อยพบน้าบริสุทธิ์ในธรรมชาติ ดังนั้นน้าสะอาด ที่เหมาะสมต่อการบริโภคของมนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง ในบางประเทศปัญหาการขาด แคลนน้าเป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อสังคม และเศรษฐกิจของประเทศนั้นอย่าง กว้างขวาง
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.  หลุมยุบ (sinkhole)  การกัดเซาะชายฝั่ง (coastal erosion)
  • 50.
  • 51. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!