SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 79
Descargar para leer sin conexión
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาชีววิทยา 3 รหัส ว 32243
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รหัสวิชา ว 32243 รายวิชา ชีววิทยา 3
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน
...............................................................................................................................................................
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ :
แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
คาอธิบายรายวิชา ชีววิทยา 3
รหัสวิชา ว 31243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก การคายน้้าและระบบล้าเลียงในพืช
กระบวน การสังเคราะห์ด้วยแสง โฟโตเรสไพเรชัน กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4
และ CAM ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอก การวัดการ
เจริญเติบโตของพืช สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การส้ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการ
อภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เห็นคุณค่าของการน้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ
ค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6,ว 8.1
ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12
รวม 14 ตัวชี้วัด
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 2 ว 32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword)
ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลย
ภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
- การสังเคราะห์ด้วยแสง
- การสืบพันธุ์ของพืชดอก
- การส้ารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการ
รักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
- โครงสร้างและหน้าที่ของ
พืชดอก
- การตอบสนองของพืช
-การสร้างสมมติฐาน
- การตรวจสอบ
- มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งค้าถามที่อยู่บนพื้นฐานของ
ความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์
หรือความสนใจหรือจากประเด็นที่เกิดขึ้น
ในขณะนั้นที่สามารถท้าการส้ารวจ
ตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง
ครอบคลุมและเชื่อถือได้
- การสืบค้นข้อมูล
- การส้ารวจตรวจสอบ
- การตั้งค้าถาม
- มุ่งมั่นการท้างาน
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ
หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้าง
แบบจ้าลองหรือสร้างรูปแบบเพื่อน้าไปสู่
การส้ารวจตรวจสอบ
-การสร้างสมมติฐาน
- การตรวจสอบ
- มุ่งมั่นการท้างาน
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้อง
พิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรส้าคัญ ปัจจัยที่
มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
และจ้านวนครั้งของการส้ารวจตรวจสอบ
เพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ
- การสืบค้นข้อมูล
- การส้ารวจตรวจสอบ
- การรวบรวมข้มูล
- มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้
ในการสังเกต การวัด การส้ารวจ
ตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึก
ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
- การสังเกต
-ส้ารวจตรวจสอบ
- การออกแบบ
- มุ่งมั่นการท้างาน
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการ
ส้ารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง
ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความ
เหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล
- การรวบรวมข้อมูล
- การบันทึก
- ส้ารวจตรวจสอบ
- มุ่งมั่นการท้างาน
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/6 จัดกระท้าข้อมูลโดยค้านึงถึงการ
รายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถุ
- การจัดกระท้าข้อมูล
- การรายงานผล
- มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
กต้องและน้าเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่
เหมาะสม
- การออกแบบ - ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย
ข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของ
ข้อสรุป หรือสาระส้าคัญเพื่อตรวจสอบกับ
สมมติฐานที่ตั้งไว้
- การวิเคราะห์
- การแปลความหมาย
- การส้ารวจตรวจสอบ
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของ
วิธีการและผลการส้ารวจตรวจสอบโดยใช้
หลักความคาดเคลื่อนของการวัดและการ
สังเกต เสนอแนะ การปรับปรุงวิธีการ
ส้ารวจตรวจสอบ
- การสังเกต
- การส้ารวจตรวจสอบ
- การสรุปผล
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/9 น้าผลการส้ารวจตรวจสอบที่ได้
ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้าง
ค้าถามใหม่ น้าไปใช้แก้ปัญหาใน
สถานการณ์ใหม่และชีวิตจริง
- การน้าไปใช้
- การก้าหนดปัญหา
- การแก้ปัญหา
- มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/10 ตระหนักถึงความส้าคัญในการที่
จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย
การลงความเห็น และการสรุปผลการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่น้าเสนอต่อ
สาธารณชนด้วยความถูกต้อง
- การอธิบาย
- การลงข้อสรุป
- การน้าเสนอ
- การสื่อสาร
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการส้ารวจ
ตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐาน
อ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐาน
อ้างอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้
เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล
และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือ
โต้แย้งจากเดิมซึ่งท้าทายให้มีการ
ตรวจสอบอย่างระมัดระวังอันจะน้าไปสู่
การยอมรับเป็นความรู้ใหม่
- การบันทึก
- การอธิบาย
- การส้ารวจตรวจสอบ
- การสืบค้นข้อมูล
- การวิเคราะห์
- มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน
และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการและผลของโครงงานหรือ
ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
- การอธิบาย
- การสื่อสารข้อมูล
- มุ่งมั่นการท้างาน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 2 รหัส ว 32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก
คะแนน
1 ว 1.1 ม.4-6/2
ว 8.1 ม.4-6/1-12
โครงสร้างและหน้าที่
ของพืชดอก
- โครงสร้างและหน้าที่ของราก
- โครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น
- โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
- การคายน้้าของพืช
- การล้าเลียงน้้าของพืช
- การล้าเลียงธาตุอาหารของพืช
- การล้าเลียงสารอาหารของพืช
20 20
2 ว 1.1 ม.4-6/1
ว 8.1 ม.4-6/1-12
การสังเคราะห์ด้วยแสง - การค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง
- กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
- โฟโตเรสไปเรชัน
- กลไกการเพิ่ม CO2 ในพืช C4
- กลไกการเพิ่ม CO2 ในพืช CAM
- ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตรา
การสังเคราะห์ด้วยแสง
- การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
15 20
3 ว 1.1 ม.4-6/1
ว 8.1 ม.4-6/1-12
การสืบพันธุ์ของพืชดอก - การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
ดอก
- การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
ดอกและการขยายพันธุ์พืช
- การวัดการเจริญเติบโตของพืช
15 20
4 ว 1.1 ม.4-6/2
ว 8.1 ม.4-6/1-12
การตอบสนองของพืช - สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
- การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
10 20
รวม 60 100
คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ
1 โครงสร้างและหน้าที่ของ
พืชดอก
ว 1.1 ม.4-6/2
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์
สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน ก้าหนด
ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่น้ามาใช้ใน
การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด
- สารสนเทศน้าเสนองานและใช้
คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ
โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ
วัฒนธรรม
- ทดลอง
- อธิบาย
- สืบค้นข้อมูล
- น้าความรู้ไปใช้ประโยชน์
การสืบค้นข้อมูล
- การส้ารวจ
- การตั้งค้าถาม
- การสร้างสมมติฐาน
- การตรวจสอบ
- การรวบรวมข้อมูล
- การสังเกต
- การออกแบบ
- การบันทึก
- การจัดกระท้าข้อมูล
- การรายงานผล
- การวิเคราะห์
- การแปลความหมาย
- การก้าหนดปัญหา
- การแก้ปัญหา
- การน้าเสนอ
- การสื่อสาร
- การสรุปผล
2 การสังเคราะห์ด้วยแสง ว 1.1 ม.4-6/1
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล
ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ
ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี
- สารสนเทศน้าเสนองานและใช้
คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ
โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ
วัฒนธรรม
3 การสืบพันธุ์ของพืชดอก ว 1.1 ม.4-6/1
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทักษะชีวิต
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล
ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ
ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี
- สารสนเทศน้าเสนองานและใช้
คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ
โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ
วัฒนธรรม
4 การตอบสนองของพืช ว 1.1 ม.4-6/2
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทักษะชีวิต
- ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์
สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน ก้าหนด
ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่น้ามาใช้ใน
การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด
- สารสนเทศน้าเสนองานและใช้
คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ
โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ
วัฒนธรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของราก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก เขียนสรุป
หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากต่อการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- การปลูกพืชโดยใช้เมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืช และสามารถเจริญเติบโตใน
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ล้าต้นกับใบ (น้้า อากาศ และแสงสว่าง)
และราก (น้้าและแร่ธาตุ)
- โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว
ขนาด และจ้านวนมากขึ้น
- รากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืชใบเลี้ยงคู่จะ
เป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากรากเดิม
- หน้าที่และชนิดของราก แบ่งเป็น primary or tap root ,adventitious root ,fibrous
root
- โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน
ได้แก่
Epidermis ,cortex , stele (pericycle ,vascular bundle: xylem and
phoem)
- โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่
Root cap ,Region of cell division ,Region of cell elongation ,Region of
cell differentiation and maturation
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากต่อ
การด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด ,การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> โครงสร้างของรากเหมาะสมต่อการท้าหน้าที่อย่างไร
> รากสามารถแบ่งออกตามลักษณะที่พบโดยทั่วไปได้เป็นกี่ประเภท
> หน้าที่ส้าคัญของรากต่อการด้ารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าโครงสร้างภายในรากพืชสามารถแบ่ง
ออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
โครงสร้างปลายแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของราก” ว่า
> การปลูกพืชโดยใช้เมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืช และสามารถเจริญเติบโตใน
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ล้าต้นกับใบ (น้้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้้าและแร่
ธาตุ)
> โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว
ขนาด และจ้านวนมากขึ้น โดยรากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืช
ใบเลี้ยงเดียวจะเป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากรากเดิม
> หน้าที่และชนิดของราก แบ่งเป็น
 primary or tap root สามารถแตกแขนงเป็นรากแขนงซึ่งเจริญมาจาก pericycle
 adventitious root เป็นรากพิเศษที่เจริญมาจากส่วนอื่นที่ไม่ใช่ radicle เช่น ล้าต้นหรือใบ
 fibrous root เป็นรากฝอยที่ไม่ได้เจริญขึ้นมาจากรากเดิม พบในพืชใบเลี้ยงคู่
> โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน
ได้แก่
 epidermis = รอบนอกสุด ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านใน บางเซลล์เจริญเปลี่ยนแปลง
เป็นขนราก
 pith area = monocotyledon
 cortex = parenchyma cell ,endodermis (casparian strip)
 stele = pericycle ,vascular bundle (xylem ,phoem)
1. xylem = vessel ,tracheid ,parenchyma ,fiber
2. phoem = sieve tube ,companion cell
> โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่
 Root cap = parenchyma cell ที่เจริญเต็มที่แล้วป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อเจริญชั้น
ถัดไป
 Region of cell division = apical initials แบ่งแบบ mitosis ตลอดเวลาเจริญเป็น
ส่วนประกอบต่างๆของรากต่อไป
 Region of cell elongation = เซลล์จะมีการขยายตัวตามยาว ท้าให้ความยาวของรากเพิ่ม
มากขึ้น
 Region of cell differentiation and maturation = เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไป
ท้าหน้าที่ต่างๆหลายชนิดตามลักษณะรูปร่างองค์ประกอบภายใน
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากอีก
ทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก
หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาใน
ระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น เขียน
สรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นต่อการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- ล้าต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอก
ใบมีตา ท้าหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และล้าเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้้า
- เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดตัดตามยาวผ่านกลาง แบ่งเป็น apical meristem ,leaf
primordium ,young leaf ,young stem
- โครงสร้างภายในของล้าต้นเมื่อตัดตามขวางแบ่งเป็น epidermis ,cortex ,stele
(vascular bundle ,vascular ray ,pith)
- การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมี vascular cambium ,annual ring
,heart wood + sap wood = wood ,bark
- หน้าที่และชนิดของล้าต้น คือ
สร้างใบและกิ่ง ,ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ,ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด ,ล้าเลียงน้้า
ธาตุอาหาร และสารต่างๆที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิต
- หน้าที่พิเศษอื่นๆของล้าต้น ได้แก่
หนาม ,มือเกาะ ,อวบอุ้มน้้า ,สังเคราะห์ ,สะสมอาหารอยู่ใต้ดิน
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นต่อ
การด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การสื่อสาร ,การคิด และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> โครงสร้างของล้าต้นเหมาะสมต่อการท้าหน้าที่อย่างไร
> ล้าต้นสามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่พบได้เป็นกี่ชั้นอะไรบ้าง
> หน้าที่ส้าคัญของล้าต้นต่อการด้ารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดของล้าต้นพืช
สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
โครงสร้างปลายยอดแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น” ว่า
> ล้าต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมี
ตา ท้าหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และล้าเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้้า
> เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด เมื่อตัดตามยาวผ่านกลางแล้วน้าไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์
แล้ว แบ่งได้เป็น 4 บริเวณ
 Apical meristem ปลายสุดแบ่งตัวตลอดเวลา
 Leaf primordium ด้านข้างของปลายยอดเป็นขอบของความโค้งทั้ง 2 ข้าง
 Young leaf ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงต่อไป
 Young stem อยู่ถัดลงมายังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังมีการแบ่งเซลล์และขยายขนาดต่อไปได้
อีก
> โครงสร้างภายในของล้าต้น เมื่อตัดตามขวางแล้วศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น
 Epidermis อยู่ชั้นนอกสุดเป็นเซลล์ผิวเรียงเป็นชั้นเดียว มีสาร cuticle เคลือบอยู่
 Cortex อยู่ถัดเข้ามามีหลายชนิดส่วนใหญ่เป็น parenchyma ,collenchyma
 Stele ในพืชใบเลี้ยงคู่กว้างมากแยกจาก cortex ไม่ชัดเจน ประกอบด้วย
o Vascular bundle = xylem and phoem
o Vascular ray = parenchyma between vascular bundle
o Pith = parenchyma (starch storage) or Pith cavity (monocotyledon)
> การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมี
 vascular cambium = secondary vascular bundle
 annual ring = แถบของ xylem ที่มีสีจางและเข้มสลับกันในแต่ละปี
 heart wood (xylem ที่ไม่ได้ท้าหน้าที่แล้ว) + sap wood (xylem ที่
ยังคงท้าหน้าที่อยู่) = wood
 bark ในพืชอายุน้อย = epidermis+cortex+phoem ส่วนในพืชที่มีอายุ
มาก = cork+cork cambium
> หน้าที่และชนิดของล้าต้น คือ
 สร้างใบและกิ่ง
 ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา
 ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด
 ล้าเลียงน้้า ธาตุอาหาร และสารต่างๆที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิต
 หน้าที่พิเศษอื่นๆของล้าต้น ได้แก่ หนาม ,มือเกาะ ,อวบอุ้มน้้า ,สังเคราะห์ ,สะสม
อาหารอยู่ใต้ดิน
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น
อีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น
หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาใน
ระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ เขียนสรุป
หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบต่อการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- ใบท้าหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จ้าเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้้า
และคลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออ้านวย
- โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย blade ,petiole ,stipule ,vein ,midrib
,plastid (chlorophyll ,anthocyanin ,carotenoid)
- การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ simple leaf ,compound leaf
- โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วน้ามา
ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น
Epidermis (guard cell and stoma) ,mesophyll (palisade mesophyll and
spongy mesophyll) ,vascular bundle (bundle sheath)
- หน้าที่ของใบ ได้แก่
สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง ,หายใจ ,คายน้้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ ,ป้องกันตัว ,
สงวนน้้า ,เก็บสะสมอาหาร ,ทุ่นลอยน้้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงล้าต้น ,ดักจับ
แมลง
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบต่อ
การด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การใช้เทคโนโลยี , การสื่อสาร และการคิด
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> โครงสร้างของใบเหมาะสมต่อการท้าหน้าที่อย่างไร
> เราสามารถแบ่งใบออกตามลักษณะการจัดเรียงตัวได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
> หน้าที่ส้าคัญของใบต่อการด้ารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะภายในและภายนอกของใบมี
ความสัมพันธ์กับการสังเคราะห์หรือไม่อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
โครงสร้างภายในใบแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของใบ” ว่า
> ใบท้าหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จ้าเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้้า และ
คลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออ้านวยต่อการสังเคราะห์แสงอย่างมีประสิทธิภาพ
> โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย
 blade ลักษณะเป็นแผ่นแบนแผ่ขยาย
 petiole เชื่อมติดใบกับล้าต้นหรือกิ่งทางด้านข้าง
 stipule อยู่ที่โคนก้านใบอาจมีหรือไม่มีก็ได้
 vein and midrib แตกแขนงในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่จะขนานกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 plastid (chlorophyll ,anthocyanin ,carotenoid) ดูดกลืนพลังงานแสงใน
กระบวนการสังเคราะห์แสง
> การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
 simple leaf 1 ก้านจะมีใบเพียงใบเดียว
 compound leaf 1 ก้านจะมีใบหลายใบ
> โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วน้ามา
ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น
 epidermis (guard cell and stoma)
 mesophyll (palisade mesophyll and spongy mesophyll)
 vascular bundle (bundle sheath)
> หน้าที่ของใบ ได้แก่
 สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง
 หายใจ ,คายน้้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ
 ป้องกันตัว
 สงวนน้้า ,เก็บสะสมอาหาร
 ทุ่นลอยน้้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงล้าต้น
 ดักจับแมลง
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบอีกทั้ง
การประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาใน
ระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง การคายน้้าของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืช เขียนสรุปหน้าที่
และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืช
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของการคายน้้าของพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- การคายน้้าของพืช (transpiration) เป็นการสูญเสียน้้าของพืชสู่บรรยากาศในรูของไอน้้า
ผ่านทางปากใบเป็นส่วนใหญ่และผิวใบบ้างเล็กน้อย เพราะมีสาร cuticle เคลือบอยู่ท้าให้
ไม้แห้งตาย
- ปากใบและการคายน้้าของพืช อาจอยู่ในรูปหยดน้้าที่กลุ่มรูเปิดที่ผิวใบ (hydathode)
เรียกว่า การเกิด gattation
- การสูญเสียน้้านอกจากจะระเหยเป็นไอน้้าออกมาทางปากใบแล้วยังสามารถพบได้ในส่วน
อื่นๆ ของล้าต้นได้อีก เช่น lenticel ในพืชบางชนิด
- ส่วนใหญ่พืชสูญเสียน้้าทางปากใบ โดยประมาณ 90% ในพืชทุกชนิด
- การเปิดปิดของปากในเป็นกระบวนการรักษาดุลยภาพของน้้า โดยการควบคุมของ guard
cell ที่อยู่บน epidermis
- ปากใบที่อยู่ต่้ากว่าระดับผิวใบ (sucken stomata) เป็นโครงสร้างที่ช่วยลดการคายน้้า
- ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้้าและการเปิดปิดของปากใบ ได้แก่ อุณหภูมิ ,ความชื้น ,ลม ,
สภาพน้้าในดิน ,ความเข้มของแสง
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืช
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืช
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของการคายน้้าของพืชต่อ
การด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การใช้เทคโนโลยี , การสื่อสาร และการคิด
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> โครงสร้างของใบเหมาะสมต่อการเกิดกระบวนการคายน้้าของพืชอย่างไร
> กระบวนการคายน้้าของพืชมีความสัมพันธ์กับการด้ารงชีวิตของพืชอย่างไร
> สภาพแวดล้อมมีผลต่อการเกิดกระบนการคายน้้าในพืชหรือไม่อย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะภายในและภายนอกของใบมี
ความสัมพันธ์กับกระบวนการคายน้้าของพืชหรือไม่อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
พืชมีกระบวนการควบคุมกระบวนการคายน้้าอย่างไรเพื่อให้อยู่ในระดับที่สมดุลตลอดเวลา
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การคายน้้าของพืช” ว่า
> การคายน้้าของพืช (transpiration) เป็นการสูญเสียน้้าของพืชสู่บรรยากาศในรูของไอน้้า
ผ่านทางปากใบเป็นส่วนใหญ่และผิวใบบ้างเล็กน้อย เพราะมีสาร cuticle เคลือบอยู่ท้าให้ไม้แห้งตาย
> ปากใบและการคายน้้าของพืช อาจอยู่ในรูปหยดน้้าที่กลุ่มรูเปิดที่ผิวใบ (hydathode) เรียกว่า
การเกิด gattation ส่วนใหญ่พืชสูญเสียน้้าในรูปของไอน้้าทางปากใบ โดยประมาณ 90% ในพืชทุกชนิด
> การสูญเสียน้้านอกจากจะระเหยเป็นไอน้้าออกมาทางปากใบแล้วยังสามารถพบได้ในส่วน
อื่นๆ ของล้าต้นได้อีก เช่น lenticel ในพืชบางชนิด
> การเปิดปิดของปากในเป็นกระบวนการรักษาดุลยภาพของน้้า โดยการควบคุมของ guard
cell ที่อยู่บน epidermis (ถูกก้าหนดโดยความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์)
 ปากใบเปิดเมื่อเซลล์คุมเต่ง
 ปากใบปิดเมื่อเซลล์คุมสูญเสียความเต่ง
> ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้้า
 อุณหภูมิเมื่อสูงขึ้น อากาศแห้ง น้้าแพร่ออกมาก
 ความชื้นเมื่อลดลงและแตกต่างกันมาก ไอน้้าจะเกิดการแพร่ออก
 ลมที่พัดผ่านจะท้าให้ความกดอากาศลดลง ไอน้้าแพร่ออกได้มากขึ้น
 สภาพน้้าในดินเมื่อลดลงจะเริ่มสังเคราะห์กรดแอบไซซิกหรือ ABA ปากใบปิด
 ความเข้มของแสงเพิ่มขึ้นและได้รับน้้าอย่างเพียงพอปากใบจะเปิดมากขึ้น
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความส้าคัญของการคายน้้าของพืช หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้ใน
การศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืช หน้าที่และ
โครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง การล้าเลียงน้้าของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช เขียนสรุปหน้าที่
และโครงสร้างส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- พืชที่ไม่มีท่อล้าเลียง มักมีขนาดเล็กและเจริญในที่มีความชื้นสูงร่มเงาเพียงพอ ทุกเซลล์จึง
ได้รับน้้าอย่างทั่วถึงโดยการออสโมซิสอย่างต่อเนื่อง
- พืชที่มีขนาดใหญ่และวิวัฒนาการสูงจะมีระบบท่อล้าเลียงเฉพาะจากรากขึ้นไปเลี้ยงเซลล์ที่
อยู่ปลายยอด
- การเคลื่อนที่ของน้้าในดินเข้าสู่รากและล้าต้นพืชมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี ได้แก่
 apoplast  symplast
- ปัจจัยที่ท้าให้น้้าสามารถน้าเลียงได้อย่างต่อเนื่องจากรากสู่ยอดของพืช คือ
 Root pressure
 Cohesion
 Adhesion
 Transpiration pull
- เครื่องมือที่นักวิทยาศาสตร์ใช้วัดการคายน้้าเพื่อศึกษาหาค่าของ transpiration
pull เรียกว่า potometer
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชต่อ
การด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การใช้เทคโนโลยี , การสื่อสาร และการคิด
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> โครงสร้างของรากและล้าต้นเหมาะสมต่อการเกิดกระบวนการล้าเลียงน้้าของพืชอย่างไร
> กระบวนการล้าเลียงน้้าของพืชมีความสัมพันธ์กับกระบวนการด้ารงชีวิตของพืชอย่างไร
> พืชมีการล้าเลียงน้้าอย่างไรและการคายน้้ากับการล้าเลียงน้้าสัมพันธ์กันอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะการเคลื่อนที่ของน้้าใน
กระบวนการล้าเลียงน้้าจากดินเข้าสู่รากและล้าต้นของพืชนั้นมีกี่แบบ อะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
ปัจจัยใดบ้างที่ท้าให้กระบวนการล้าเลียงน้้าของพืชเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องจากรากสู่ปลายยอด
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
mayureesongnoo
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
website22556
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
dnavaroj
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 

La actualidad más candente (20)

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 

Destacado

รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
Wichai Likitponrak
 
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรมข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
Thai China
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wann Rattiya
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
Tiew Yotakong
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
Wichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
Wichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
Wichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 

Destacado (20)

แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรมข้อมูลด้านวัฒนธรรม
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
 
สรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้าสรุปศักย์ไฟฟ้า
สรุปศักย์ไฟฟ้า
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 

Similar a แผนBioม.5 2

1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
Nutsara Mukda
 
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTADการวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
Kumah Al-yufree
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
yutict
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
ไชยยา มะณี
 

Similar a แผนBioม.5 2 (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTADการวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
 

Más de Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

Más de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

แผนBioม.5 2

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา 3 รหัส ว 32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 รหัสวิชา ว 32243 รายวิชา ชีววิทยา 3 เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คาอธิบายรายวิชา ชีววิทยา 3 รหัสวิชา ว 31243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก การคายน้้าและระบบล้าเลียงในพืช กระบวน การสังเคราะห์ด้วยแสง โฟโตเรสไพเรชัน กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4 และ CAM ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอก การวัดการ เจริญเติบโตของพืช สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การส้ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการ อภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ ค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6,ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12 รวม 14 ตัวชี้วัด
  • 4. แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 2 ว 32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลย ภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต - การสังเคราะห์ด้วยแสง - การสืบพันธุ์ของพืชดอก - การส้ารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการ รักษาดุลยภาพของน้้าในพืช - โครงสร้างและหน้าที่ของ พืชดอก - การตอบสนองของพืช -การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งค้าถามที่อยู่บนพื้นฐานของ ความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจหรือจากประเด็นที่เกิดขึ้น ในขณะนั้นที่สามารถท้าการส้ารวจ ตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ - การสืบค้นข้อมูล - การส้ารวจตรวจสอบ - การตั้งค้าถาม - มุ่งมั่นการท้างาน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้าง แบบจ้าลองหรือสร้างรูปแบบเพื่อน้าไปสู่ การส้ารวจตรวจสอบ -การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - มุ่งมั่นการท้างาน - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรส้าคัญ ปัจจัยที่ มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจ้านวนครั้งของการส้ารวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ - การสืบค้นข้อมูล - การส้ารวจตรวจสอบ - การรวบรวมข้มูล - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสังเกต การวัด การส้ารวจ ตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ - การสังเกต -ส้ารวจตรวจสอบ - การออกแบบ - มุ่งมั่นการท้างาน - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการ ส้ารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความ เหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล - การรวบรวมข้อมูล - การบันทึก - ส้ารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการท้างาน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/6 จัดกระท้าข้อมูลโดยค้านึงถึงการ รายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถุ - การจัดกระท้าข้อมูล - การรายงานผล - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย
  • 5. กต้องและน้าเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่ เหมาะสม - การออกแบบ - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย ข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของ ข้อสรุป หรือสาระส้าคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ - การวิเคราะห์ - การแปลความหมาย - การส้ารวจตรวจสอบ - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของ วิธีการและผลการส้ารวจตรวจสอบโดยใช้ หลักความคาดเคลื่อนของการวัดและการ สังเกต เสนอแนะ การปรับปรุงวิธีการ ส้ารวจตรวจสอบ - การสังเกต - การส้ารวจตรวจสอบ - การสรุปผล - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/9 น้าผลการส้ารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้าง ค้าถามใหม่ น้าไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณ์ใหม่และชีวิตจริง - การน้าไปใช้ - การก้าหนดปัญหา - การแก้ปัญหา - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/10 ตระหนักถึงความส้าคัญในการที่ จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่น้าเสนอต่อ สาธารณชนด้วยความถูกต้อง - การอธิบาย - การลงข้อสรุป - การน้าเสนอ - การสื่อสาร - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการส้ารวจ ตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐาน อ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐาน อ้างอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้ เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจากเดิมซึ่งท้าทายให้มีการ ตรวจสอบอย่างระมัดระวังอันจะน้าไปสู่ การยอมรับเป็นความรู้ใหม่ - การบันทึก - การอธิบาย - การส้ารวจตรวจสอบ - การสืบค้นข้อมูล - การวิเคราะห์ - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ - การอธิบาย - การสื่อสารข้อมูล - มุ่งมั่นการท้างาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้
  • 6. โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 2 รหัส ว 32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ว 1.1 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 โครงสร้างและหน้าที่ ของพืชดอก - โครงสร้างและหน้าที่ของราก - โครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น - โครงสร้างและหน้าที่ของใบ - การคายน้้าของพืช - การล้าเลียงน้้าของพืช - การล้าเลียงธาตุอาหารของพืช - การล้าเลียงสารอาหารของพืช 20 20 2 ว 1.1 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 การสังเคราะห์ด้วยแสง - การค้นคว้าที่เกี่ยวข้อง - กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง - โฟโตเรสไปเรชัน - กลไกการเพิ่ม CO2 ในพืช C4 - กลไกการเพิ่ม CO2 ในพืช CAM - ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตรา การสังเคราะห์ด้วยแสง - การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง 15 20 3 ว 1.1 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 การสืบพันธุ์ของพืชดอก - การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช ดอก - การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช ดอกและการขยายพันธุ์พืช - การวัดการเจริญเติบโตของพืช 15 20 4 ว 1.1 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 การตอบสนองของพืช - สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช - การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม 10 20 รวม 60 100
  • 7. คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของ พืชดอก ว 1.1 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน ก้าหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่น้ามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด - สารสนเทศน้าเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ วัฒนธรรม - ทดลอง - อธิบาย - สืบค้นข้อมูล - น้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูล - การส้ารวจ - การตั้งค้าถาม - การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - การรวบรวมข้อมูล - การสังเกต - การออกแบบ - การบันทึก - การจัดกระท้าข้อมูล - การรายงานผล - การวิเคราะห์ - การแปลความหมาย - การก้าหนดปัญหา - การแก้ปัญหา - การน้าเสนอ - การสื่อสาร - การสรุปผล 2 การสังเคราะห์ด้วยแสง ว 1.1 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สารสนเทศน้าเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ วัฒนธรรม 3 การสืบพันธุ์ของพืชดอก ว 1.1 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สารสนเทศน้าเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ วัฒนธรรม
  • 8. 4 การตอบสนองของพืช ว 1.1 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะชีวิต - ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน ก้าหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่น้ามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด - สารสนเทศน้าเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตส้านึกและ วัฒนธรรม
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของราก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก เขียนสรุป หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากต่อการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - การปลูกพืชโดยใช้เมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืช และสามารถเจริญเติบโตใน สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ล้าต้นกับใบ (น้้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้้าและแร่ธาตุ) - โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว ขนาด และจ้านวนมากขึ้น - รากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืชใบเลี้ยงคู่จะ เป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากรากเดิม - หน้าที่และชนิดของราก แบ่งเป็น primary or tap root ,adventitious root ,fibrous root - โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน ได้แก่ Epidermis ,cortex , stele (pericycle ,vascular bundle: xylem and phoem)
  • 10. - โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่ Root cap ,Region of cell division ,Region of cell elongation ,Region of cell differentiation and maturation 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากต่อ การด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด ,การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > โครงสร้างของรากเหมาะสมต่อการท้าหน้าที่อย่างไร > รากสามารถแบ่งออกตามลักษณะที่พบโดยทั่วไปได้เป็นกี่ประเภท
  • 11. > หน้าที่ส้าคัญของรากต่อการด้ารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าโครงสร้างภายในรากพืชสามารถแบ่ง ออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น โครงสร้างปลายแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของราก” ว่า > การปลูกพืชโดยใช้เมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืช และสามารถเจริญเติบโตใน สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ล้าต้นกับใบ (น้้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้้าและแร่ ธาตุ) > โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว ขนาด และจ้านวนมากขึ้น โดยรากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืช ใบเลี้ยงเดียวจะเป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากรากเดิม > หน้าที่และชนิดของราก แบ่งเป็น  primary or tap root สามารถแตกแขนงเป็นรากแขนงซึ่งเจริญมาจาก pericycle  adventitious root เป็นรากพิเศษที่เจริญมาจากส่วนอื่นที่ไม่ใช่ radicle เช่น ล้าต้นหรือใบ  fibrous root เป็นรากฝอยที่ไม่ได้เจริญขึ้นมาจากรากเดิม พบในพืชใบเลี้ยงคู่ > โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน ได้แก่  epidermis = รอบนอกสุด ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านใน บางเซลล์เจริญเปลี่ยนแปลง เป็นขนราก  pith area = monocotyledon  cortex = parenchyma cell ,endodermis (casparian strip)  stele = pericycle ,vascular bundle (xylem ,phoem) 1. xylem = vessel ,tracheid ,parenchyma ,fiber 2. phoem = sieve tube ,companion cell > โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่  Root cap = parenchyma cell ที่เจริญเต็มที่แล้วป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อเจริญชั้น ถัดไป  Region of cell division = apical initials แบ่งแบบ mitosis ตลอดเวลาเจริญเป็น ส่วนประกอบต่างๆของรากต่อไป  Region of cell elongation = เซลล์จะมีการขยายตัวตามยาว ท้าให้ความยาวของรากเพิ่ม มากขึ้น
  • 12.  Region of cell differentiation and maturation = เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไป ท้าหน้าที่ต่างๆหลายชนิดตามลักษณะรูปร่างองค์ประกอบภายใน นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากอีก ทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของราก หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาใน ระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น เขียน สรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นต่อการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - ล้าต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอก ใบมีตา ท้าหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และล้าเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้้า - เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดตัดตามยาวผ่านกลาง แบ่งเป็น apical meristem ,leaf primordium ,young leaf ,young stem - โครงสร้างภายในของล้าต้นเมื่อตัดตามขวางแบ่งเป็น epidermis ,cortex ,stele (vascular bundle ,vascular ray ,pith) - การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมี vascular cambium ,annual ring ,heart wood + sap wood = wood ,bark - หน้าที่และชนิดของล้าต้น คือ สร้างใบและกิ่ง ,ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ,ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด ,ล้าเลียงน้้า ธาตุอาหาร และสารต่างๆที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิต - หน้าที่พิเศษอื่นๆของล้าต้น ได้แก่ หนาม ,มือเกาะ ,อวบอุ้มน้้า ,สังเคราะห์ ,สะสมอาหารอยู่ใต้ดิน
  • 14. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นต่อ การด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การสื่อสาร ,การคิด และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > โครงสร้างของล้าต้นเหมาะสมต่อการท้าหน้าที่อย่างไร > ล้าต้นสามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่พบได้เป็นกี่ชั้นอะไรบ้าง > หน้าที่ส้าคัญของล้าต้นต่อการด้ารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดของล้าต้นพืช สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง
  • 15. นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น โครงสร้างปลายยอดแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น” ว่า > ล้าต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมี ตา ท้าหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และล้าเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้้า > เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด เมื่อตัดตามยาวผ่านกลางแล้วน้าไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แล้ว แบ่งได้เป็น 4 บริเวณ  Apical meristem ปลายสุดแบ่งตัวตลอดเวลา  Leaf primordium ด้านข้างของปลายยอดเป็นขอบของความโค้งทั้ง 2 ข้าง  Young leaf ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงต่อไป  Young stem อยู่ถัดลงมายังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังมีการแบ่งเซลล์และขยายขนาดต่อไปได้ อีก > โครงสร้างภายในของล้าต้น เมื่อตัดตามขวางแล้วศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น  Epidermis อยู่ชั้นนอกสุดเป็นเซลล์ผิวเรียงเป็นชั้นเดียว มีสาร cuticle เคลือบอยู่  Cortex อยู่ถัดเข้ามามีหลายชนิดส่วนใหญ่เป็น parenchyma ,collenchyma  Stele ในพืชใบเลี้ยงคู่กว้างมากแยกจาก cortex ไม่ชัดเจน ประกอบด้วย o Vascular bundle = xylem and phoem o Vascular ray = parenchyma between vascular bundle o Pith = parenchyma (starch storage) or Pith cavity (monocotyledon) > การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมี  vascular cambium = secondary vascular bundle  annual ring = แถบของ xylem ที่มีสีจางและเข้มสลับกันในแต่ละปี  heart wood (xylem ที่ไม่ได้ท้าหน้าที่แล้ว) + sap wood (xylem ที่ ยังคงท้าหน้าที่อยู่) = wood  bark ในพืชอายุน้อย = epidermis+cortex+phoem ส่วนในพืชที่มีอายุ มาก = cork+cork cambium > หน้าที่และชนิดของล้าต้น คือ  สร้างใบและกิ่ง  ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา  ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด  ล้าเลียงน้้า ธาตุอาหาร และสารต่างๆที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิต
  • 16.  หน้าที่พิเศษอื่นๆของล้าต้น ได้แก่ หนาม ,มือเกาะ ,อวบอุ้มน้้า ,สังเคราะห์ ,สะสม อาหารอยู่ใต้ดิน นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น อีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้น หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของล้าต้นอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาใน ระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 17. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ เขียนสรุป หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบต่อการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - ใบท้าหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จ้าเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้้า และคลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออ้านวย - โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย blade ,petiole ,stipule ,vein ,midrib ,plastid (chlorophyll ,anthocyanin ,carotenoid) - การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ simple leaf ,compound leaf - โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วน้ามา ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น Epidermis (guard cell and stoma) ,mesophyll (palisade mesophyll and spongy mesophyll) ,vascular bundle (bundle sheath) - หน้าที่ของใบ ได้แก่ สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง ,หายใจ ,คายน้้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ ,ป้องกันตัว , สงวนน้้า ,เก็บสะสมอาหาร ,ทุ่นลอยน้้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงล้าต้น ,ดักจับ แมลง
  • 18. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบต่อ การด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การใช้เทคโนโลยี , การสื่อสาร และการคิด 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > โครงสร้างของใบเหมาะสมต่อการท้าหน้าที่อย่างไร > เราสามารถแบ่งใบออกตามลักษณะการจัดเรียงตัวได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง > หน้าที่ส้าคัญของใบต่อการด้ารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะภายในและภายนอกของใบมี ความสัมพันธ์กับการสังเคราะห์หรือไม่อย่างไร
  • 19. นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น โครงสร้างภายในใบแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของใบ” ว่า > ใบท้าหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จ้าเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้้า และ คลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออ้านวยต่อการสังเคราะห์แสงอย่างมีประสิทธิภาพ > โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย  blade ลักษณะเป็นแผ่นแบนแผ่ขยาย  petiole เชื่อมติดใบกับล้าต้นหรือกิ่งทางด้านข้าง  stipule อยู่ที่โคนก้านใบอาจมีหรือไม่มีก็ได้  vein and midrib แตกแขนงในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่จะขนานกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว  plastid (chlorophyll ,anthocyanin ,carotenoid) ดูดกลืนพลังงานแสงใน กระบวนการสังเคราะห์แสง > การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ  simple leaf 1 ก้านจะมีใบเพียงใบเดียว  compound leaf 1 ก้านจะมีใบหลายใบ > โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วน้ามา ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น  epidermis (guard cell and stoma)  mesophyll (palisade mesophyll and spongy mesophyll)  vascular bundle (bundle sheath) > หน้าที่ของใบ ได้แก่  สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง  หายใจ ,คายน้้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ  ป้องกันตัว  สงวนน้้า ,เก็บสะสมอาหาร  ทุ่นลอยน้้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงล้าต้น  ดักจับแมลง นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบอีกทั้ง การประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
  • 20. หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาใน ระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 21. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง การคายน้้าของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืช เขียนสรุปหน้าที่ และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืช 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของการคายน้้าของพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - การคายน้้าของพืช (transpiration) เป็นการสูญเสียน้้าของพืชสู่บรรยากาศในรูของไอน้้า ผ่านทางปากใบเป็นส่วนใหญ่และผิวใบบ้างเล็กน้อย เพราะมีสาร cuticle เคลือบอยู่ท้าให้ ไม้แห้งตาย - ปากใบและการคายน้้าของพืช อาจอยู่ในรูปหยดน้้าที่กลุ่มรูเปิดที่ผิวใบ (hydathode) เรียกว่า การเกิด gattation - การสูญเสียน้้านอกจากจะระเหยเป็นไอน้้าออกมาทางปากใบแล้วยังสามารถพบได้ในส่วน อื่นๆ ของล้าต้นได้อีก เช่น lenticel ในพืชบางชนิด - ส่วนใหญ่พืชสูญเสียน้้าทางปากใบ โดยประมาณ 90% ในพืชทุกชนิด - การเปิดปิดของปากในเป็นกระบวนการรักษาดุลยภาพของน้้า โดยการควบคุมของ guard cell ที่อยู่บน epidermis - ปากใบที่อยู่ต่้ากว่าระดับผิวใบ (sucken stomata) เป็นโครงสร้างที่ช่วยลดการคายน้้า - ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้้าและการเปิดปิดของปากใบ ได้แก่ อุณหภูมิ ,ความชื้น ,ลม , สภาพน้้าในดิน ,ความเข้มของแสง
  • 22. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืช ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืช คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของการคายน้้าของพืชต่อ การด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การใช้เทคโนโลยี , การสื่อสาร และการคิด 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > โครงสร้างของใบเหมาะสมต่อการเกิดกระบวนการคายน้้าของพืชอย่างไร > กระบวนการคายน้้าของพืชมีความสัมพันธ์กับการด้ารงชีวิตของพืชอย่างไร > สภาพแวดล้อมมีผลต่อการเกิดกระบนการคายน้้าในพืชหรือไม่อย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะภายในและภายนอกของใบมี ความสัมพันธ์กับกระบวนการคายน้้าของพืชหรือไม่อย่างไร
  • 23. นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น พืชมีกระบวนการควบคุมกระบวนการคายน้้าอย่างไรเพื่อให้อยู่ในระดับที่สมดุลตลอดเวลา ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การคายน้้าของพืช” ว่า > การคายน้้าของพืช (transpiration) เป็นการสูญเสียน้้าของพืชสู่บรรยากาศในรูของไอน้้า ผ่านทางปากใบเป็นส่วนใหญ่และผิวใบบ้างเล็กน้อย เพราะมีสาร cuticle เคลือบอยู่ท้าให้ไม้แห้งตาย > ปากใบและการคายน้้าของพืช อาจอยู่ในรูปหยดน้้าที่กลุ่มรูเปิดที่ผิวใบ (hydathode) เรียกว่า การเกิด gattation ส่วนใหญ่พืชสูญเสียน้้าในรูปของไอน้้าทางปากใบ โดยประมาณ 90% ในพืชทุกชนิด > การสูญเสียน้้านอกจากจะระเหยเป็นไอน้้าออกมาทางปากใบแล้วยังสามารถพบได้ในส่วน อื่นๆ ของล้าต้นได้อีก เช่น lenticel ในพืชบางชนิด > การเปิดปิดของปากในเป็นกระบวนการรักษาดุลยภาพของน้้า โดยการควบคุมของ guard cell ที่อยู่บน epidermis (ถูกก้าหนดโดยความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์)  ปากใบเปิดเมื่อเซลล์คุมเต่ง  ปากใบปิดเมื่อเซลล์คุมสูญเสียความเต่ง > ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้้า  อุณหภูมิเมื่อสูงขึ้น อากาศแห้ง น้้าแพร่ออกมาก  ความชื้นเมื่อลดลงและแตกต่างกันมาก ไอน้้าจะเกิดการแพร่ออก  ลมที่พัดผ่านจะท้าให้ความกดอากาศลดลง ไอน้้าแพร่ออกได้มากขึ้น  สภาพน้้าในดินเมื่อลดลงจะเริ่มสังเคราะห์กรดแอบไซซิกหรือ ABA ปากใบปิด  ความเข้มของแสงเพิ่มขึ้นและได้รับน้้าอย่างเพียงพอปากใบจะเปิดมากขึ้น นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความส้าคัญของการคายน้้าของพืช หน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้ใน การศึกษาชีววิทยาในระดับสูง ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และท้าใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการคายน้้าของพืช หน้าที่และ โครงสร้างส้าคัญของการคายน้้าของพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 24. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง การล้าเลียงน้้าของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 32243/ชีววิทยา 3 ชั้น ม. 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช เขียนสรุปหน้าที่ และโครงสร้างส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - พืชที่ไม่มีท่อล้าเลียง มักมีขนาดเล็กและเจริญในที่มีความชื้นสูงร่มเงาเพียงพอ ทุกเซลล์จึง ได้รับน้้าอย่างทั่วถึงโดยการออสโมซิสอย่างต่อเนื่อง - พืชที่มีขนาดใหญ่และวิวัฒนาการสูงจะมีระบบท่อล้าเลียงเฉพาะจากรากขึ้นไปเลี้ยงเซลล์ที่ อยู่ปลายยอด - การเคลื่อนที่ของน้้าในดินเข้าสู่รากและล้าต้นพืชมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี ได้แก่  apoplast  symplast - ปัจจัยที่ท้าให้น้้าสามารถน้าเลียงได้อย่างต่อเนื่องจากรากสู่ยอดของพืช คือ  Root pressure  Cohesion  Adhesion  Transpiration pull - เครื่องมือที่นักวิทยาศาสตร์ใช้วัดการคายน้้าเพื่อศึกษาหาค่าของ transpiration pull เรียกว่า potometer 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช
  • 25. ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืช คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของการล้าเลียงน้้าของพืชต่อ การด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การใช้เทคโนโลยี , การสื่อสาร และการคิด 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > โครงสร้างของรากและล้าต้นเหมาะสมต่อการเกิดกระบวนการล้าเลียงน้้าของพืชอย่างไร > กระบวนการล้าเลียงน้้าของพืชมีความสัมพันธ์กับกระบวนการด้ารงชีวิตของพืชอย่างไร > พืชมีการล้าเลียงน้้าอย่างไรและการคายน้้ากับการล้าเลียงน้้าสัมพันธ์กันอย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะการเคลื่อนที่ของน้้าใน กระบวนการล้าเลียงน้้าจากดินเข้าสู่รากและล้าต้นของพืชนั้นมีกี่แบบ อะไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น ปัจจัยใดบ้างที่ท้าให้กระบวนการล้าเลียงน้้าของพืชเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องจากรากสู่ปลายยอด