SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 1.
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O-NET ปีการศึกษา 2558
รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
(Part : ชีววิทยา และ เคมี)
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
(วท.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล , ศษ.ม. มหาวิทยาลัยรามคาแหง)
ครู ค.ศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร
“ความสาเร็จของลูกศิษย์ คือ ความภาคภูมิใจของคนเป็นครู”
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 2.
บทเรียนที่ใช้ในการทดสอบ O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 (Part : ชีววิทยา และ เคมี)
1. เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
2. สารรอบตัว
3. สารละลาย
4. สารละลายกรดและเบส
5. หน่วยของสิ่งมีชีวิต
6. การดารงชีวิตของพืช
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การสังเกตและตั้งคาถาม (จุดเริ่มสาคัญสุด) การตั้งสมมติฐาน (คาดคะเนคาตอบ)
การตรวจสอบสมมติฐาน (ทดลองแบบควบคุม : ตัวแปร) การวิเคราะห์ (กราฟ ตาราง แผนภูมิ) การสรุป (คาตอบของคาถาม)
ตัวแปร แบ่งเป็น ตัวแปรต้น (สิ่งที่ต้องการศึกษา) ตัวแปรตาม (ผลการศึกษา) ตัวแปรควบคุม (สิ่งที่ทาให้เหมือนกัน)
กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น แบบใช้แสง (ธรรมดากับสเตอริโอ) และแบบใช้อิเล็กตรอน (ส่องผ่านและส่องกราด)
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงธรรมดา : กาลังขยาย = เลนส์ใกล้ตา x เลนส์ใกล้วัตถุ
สาร แบ่งเป็นสารเนื้อเดียว (สารบริสุทธิ์และสารละลาย) กับสารเนื้อผสม (คอลลอยด์และแขวนลอย)
สารบริสุทธิ์ แบ่งเป็น ธาตุ (โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ) และสารประกอบ (พันธะเคมี : ไอออนิกและโคเวเลนต์)
คอลลอยด์ : อิมัลชัน (ของเหลว + ของเหลว : ตัวประสาน/อิมัลซิฟายเออร์) ,ปรากฏการณ์ทินดอลล์, กรองผ่านกระดาษกรองไม่ผ่าน
เซลโลเฟน ส่วนแขวนลอย ไม่ผ่านทั้งกระดาษกรองและเซลโลเฟน และสารละลายผ่านทั้งกระดาษกรองและเซลโลเฟน
โลหะส่วนใหญ่เป็นของแข็ง ยกเว้น ปรอท (โลหะของเหลว) อโลหะส่วนใหญ่ไม่นาไฟฟ้า ยกเว้น แกรไฟต์ (โครงร่างตาข่ายคาร์บอน)
ตัวทาละลาย (ปริมาณมากกว่า/สถานะเดียวกับสารละลาย) ตัวถูกละลาย (ปริมาฯน้อยกว่า/คนละสถานะกับสารละลาย)
ความเข้มข้น แบ่งเป็น %โดยมวล = มวลตัวถูก/มวลสารละลาย , %โดยปริมาตร = ปริมาตรตัวถูก/ปริมาตรสารละลาย และ %โดยมวล
ต่อปริมาตร = มวลตัวถูก/ปริมาตรสารละลาย (ppm คือ 1 ส่วนในล้านส่วน และ ppt คือ 1 ส่วนในพันส่วน)
มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง (นาก ทองเหลือง เหล็กกล้า) ของเหลว (น้าเชื่อม น้าเกลือ แก๊สโซฮอล์) แก็ส (อากาศ LPG NGV)
การละลาย : แบบคายความร้อน (อุณหภูมิที่วัดได้สูงขึ้น) แบบดูดความร้อน (อุณหภูมิที่วัดได้ลดลง)
กรด คือ สารที่มีค่า pH < 7 รสเปรี้ยว ทาปฏิกิริยากับโลหะได้ H2 (เกิดการติดไฟ) ทาปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้า (คายความร้อน) ทา
ปฏิกิริยากับหินปูน (สารประกอบคาร์บอเนต)ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (ทาให้น้าปูใสขุ่น) เปลี่ยนกระดาษลิสมัตจากสีน้าเงินเป็นแดง
เบส คือ สารที่มีค่า pH > 7 รสฝาด ลื่นมือคล้ายสบู่ (ปฏิกิยาสะปอนิฟิเคชั่น) ส่วนใหญ่เป็นสารชะล้าง ยกเว้น น้ายาล้างห้องน้า (กรด)
เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน เปลี่ยนสีอินดิเคเตอร์ฟีนอฟทาลีนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู
กลาง คือ สารที่มี pH = 7 เช่น น้ากลั่น เกลือ น้าตาล ไม่เปลี่ยนกระดาษลิตมัสทั้งแดงและน้าเงิน
เซลล์ เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ส่วน คือ
1. ส่วนห่อหุ้ม ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ (พบทั้งพืชและสัตว์) ผนังเซลล์ (พบในพืชเท่านั้น : เซลล์เหลี่ยม)
2. ส่วนไซโทพลาสซึม ได้แก่ ออร์แกเนลล์ไม่มีเยื่อหุ้ม เช่น ไรโบโซม เซนทริโอล (พบในสัตว์เท่านั้น) เยื่อหุ้ม 1 ชั้น เช่น ไลโซโซม (พบใน
สัตว์เท่านั้น) กอลจิบอดี ร่างแหเอ็นโดพลาสซึม เยื่อหุ้ม 2 ชั้น เช่น ไมโคอนเครียและคลอโรพลาสต์ (พบในพืชเท่านั้น)
3. ส่วนนิวเคลียส ควบคุมการทางานเซลล์และถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ประกอบด้วย เยื่อหุ้ม โครมาทิน และนิวคลีโอลัส
พืชเป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศ มีคลอฟิลล์ในคลอโรพลาสต์เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สร้างโมเลกุล
น้าตาลและได้แก๊สออกซิเจนกับน้าเป็นผลพลอยได้ หลังจากนั้นอาหารจะถูกลาเลียงผ่านท่อโฟลเอ็มทั้งขึ้นและลง
กระบวนการดูดซึมน้า คือ ออสโมซิส กระบวนการดูดซึมแร่ธาตุ คือ การแพร่ ทั้งหมดลาเลียงผ่านท่อไซเล็มจากรากขึ้นสู่ยอดเท่านั้น
ราก แบ่งเป็น รากแก้ว (ใบเลี้ยงคู่) รากฝอย (ใบเลี้ยงเดี่ยว) ลาต้นมีข้อปล้องชัดเจน (ใบเลี้ยงเดี่ยว) ลาต้นมีการสร้างวงปี (ใบเลี้ยงคู่)
เส้นใบขนาน (ใบเลี้ยงเดี่ยว) เส้นใบร่างแห (ใบเลี้ยงคู่) ดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เกิดปฏิสนธิซ้อนหลังถ่ายละอองเรณูได้ผลและเมล็ด
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 3.
7. การจาแนกสาร
8, ปฏิกิริยาเคมี
9. อาหารกับการดารงชีวิต
10. ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์และสัตว์
11. ระบบนิเวศ
12. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การกรอง (แยกตามอนุภาคสาร) การใช้แม่เหล็ก (แยกสารแม่เหล็ก) การระเหยแห้ง (แยกของแข็งออกจากสารละลาย) การใช้กรวยแยก
(แยกสารที่ไม่ละลายกันออกจากกัน) การกลั่นแบบธรรมดา (แยกสารที่มีจุดเดือดต่างกันมาก) การกลั่นด้วยไอน้า (แยกสารจุดเดือดต่าไม่
ละลายน้า) การกลั่นลาดับส่วน (แยกสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน) การสกัดด้วยตัวทาละลาย (สารมีความสามารถในการละลายต่างกัน)
การตกผลึก (การลดอุณหภูมิลงของสารละลายอิ่มตัว) และโครโมโทกราฟี (การแยกสารที่มีสมบัติในการละลายในตัวทาละลายและการดูด
ซับบนตัวกลางต่างกัน : ค่า Rf)
การเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นเป็นสารผลิตภัณฑ์ (สารใหม่ที่มีสมบัติแต่ต่างจากเดิม) ระวัง ไม่ใช่การเปลี่ยนสถานะของสาร
อัตราเร็วของปฏิกิริยา ขึ้นกับ สมบัติของสาร ความเข้มข้นของสาร ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา ระดับอุณหภูมิของปฏิกิริยา และพื้นที่ผิว
ของแข็งของสารตั้งต้น
การสลายพันธะเดิม : ดูดความร้อน ส่วนการสร้างพันธะใหม่ : คายความร้อน
การเปลี่ยนสถานะของสาร : จุดเดือด (ของเหลวเป็นแก๊ส : ระเหย) จุดเยือกแข็ง (ของเหลวเป็นของแข็ง) ระเหิด (ของแข็งเป็นแก็ส)
สารอินทรีย์ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และวิตามิน ส่วนสารอนินทรีย์ ได้แก่ น้า และแร่ธาตุ
สารอาหารให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต (4 kcal/g) โปรตีน (4 kcal/g) และไขมัน (9 kcal/g)
การทดสอบสารอาหาร ได้แก่ น้าตาลทดสอบด้วยเบเนดิกต์หลังต้มจะได้ตะกอนแดงอิฐ แป้งทดสอบด้วยไอโอดีนได้สีน้าเงินเข้ม ไขมัน
ทดสอบด้วยกระดาษเปลี่ยนจากทีบแสงเป็นโปร่แสง โปรตีนทดสอบด้วยไบยูเร็ตได้สารรละลายสีม่วง
วิตามิน แบ่งเป็น ละลายไขมัน (A D E K) และละลายน้า (B1 B2 B5 B6 B 12 และ C)
1. ระบบย่อยอาหาร 2. ระบบหมุนเวียนเลือด 3. ระบบหมุนเวียนน้าเหลือง
4. ระบบหายใจ 5. ระบบห่อหุ้มร่างกาย 6. ระบบกระดูก
7. ระบบกล้ามเนื้อ 8. ระบบขับถ่าย 9. ระบบสืบพันธุ์
10. ระบบประสาทและฮอร์โมน
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (ปัจจัยกายภาพ เช่น แสง น้า แร่ธาตุ และปัจจัยชีวภาพ คือ สิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง)
สมดุลระบบนิเวศ เกิดจากกระบวนการหมุนเวียนสสาร (คาร์บอน น้า ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส) และกระบวนการถ่ายทอดพลังงาน (ห่วงโซ่
อาหารและสายใยอาหาร : 10%) การสะสมสารพิษจะมากที่สุดในผู้บริโภคอันดับสุดท้าย
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต เช่น แบบพึ่งพา แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน แบบปรสิต แบบล่าเหยื่อ แบบอิงอาศัย
สภาวะโลกร้อน/ช่องโหว่งโอโซน/การพัฒนาอย่างยั่งยืน/reuse reduce recycle
บิดาวิชาพันธุศาสตร์ คือ เมเดล ค้นพบกฎ 2 ข้อ คือ กฎการแยกตัว กับ กฎการรวมกลุ่มอิสระ อัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1
พันธุ์เด่นแท้ (TT) พันทาง (Tt) พันธุ์ด้อย (tt) ลักษณะข่มอย่างสมบูรณ์
ลักษณะข่มไม่สมบูรณ์ เช่น ดอกสีแดงผสมดอกสีขาวได้ดอกสีชมพู ลักษณะเด่นร่วม เช่น หมู่เลือด AB
โรคทางพันธุกรรมจากยีน เช่น ทาลัสซีเมีย ผิวเผือก ฮีโมฟีเลีย ตาบอดสี จากโครโมโซม เช่น ดาวน์ซินโครม พาทัวซินโดรม เทอร์เนอร์ซินโดรม
ความหลากหลายทางชีวภาพ 5 อาณาจักร ได้แก่ มอเนอรา (แบคทีเรียกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน) โปรติสตา ฟังไจ (เห็ด รา ยีสต์) พืช และสัตว์
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 4.
แนวข้อสอบ O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 (Part : ชีววิทยา และ เคมี)
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. กำรใช้กล้องจุลทรรศน์ในกำรศึกษำเซลล์ กำรดูภำพครั้งแรกควรใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยำยเท่ำใด
1. 4X 2. 10X
3. 40X 4. 100X
2. ส่วนประกอบใดภำยในเซลล์ที่ทำหน้ำที่เป็นแหล่งสร้ำงพลังงำนให้แก่เซลล์
1. นิวเคลียส 2. แวคิวโอล
3. คลอโรพลำสต์ 4. ไมโทคอนเดรีย
3. ออร์แกเนลล์ใดที่พบได้เฉพำะในเซลล์พืช
1. แวคิวโอล กอลจิบอดี
2. ผนังเซลล์ คลอโรพลำสต์
3. นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย
4. เยื่อหุ้มเซลล์ ร่ำงแหเอนโดพลำซึม
4. ส่วนประกอบที่อยู่ด้ำนนอกสุดของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีควำมเหมือนหรือแตกต่ำงกันอย่ำงไร
1. เหมือนกัน คือ เป็นผนังเซลล์
2. เหมือนกัน คือ เป็นเยื่อหุ้มเซลล์
3. ต่ำงกัน โดยเซลล์พืชจะมีผนังเซลล์ ส่วนเซลล์สัตว์มีเยื่อหุ้มเซลล์
4. ต่ำงกัน โดยเซลล์พืชจะมีเยื่อหุ้มเซลล์ ส่วนเซลล์สัตว์มีผนังเซลล์
5. ออร์แกเนลล์คู่ใดมีควำมสัมพันธ์กันมำกที่สุด
1. ไมโทคอนเดรีย – แวคิวโอล
2. เซนทริโอล – ไมโทคอนเดรีย
3. ร่ำงแหเอนโดพลำซึม – แวคิวโอล
4. ร่ำงแหเอนโดพลำซึม – กอลจิบอดี
6. กำรเคลื่อนที่ของสำรในข้อใดถูกต้อง
ข้อ กระบวนการแพร่ กระบวนการออสโมซิส
1. กำรเคลื่อนที่ของน้ำเข้ำสู่เซลล์ขนรำก กำรกระจำยของน้ำหอมในอำกำศ
2. กำรกระจำยของน้ำหอมในอำกำศ กำรเคลื่อนที่ของน้ำเข้ำสู่เซลล์ขนรำก
3. กำรเคลื่อนที่ของแร่ธำตุเข้ำสู่เซลล์ขนรำก กำรละลำยของน้ำตำลในน้ำ
4. กำรละลำยของน้ำตำลในน้ำ กำรเคลื่อนที่ของแร่ธำตุเข้ำสู่เซลล์ขนรำก
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 5.
7. นำลำต้นและรำกพืช 4 ชนิด มำส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ พบว่ำ
ลำต้นพืชชนิดที่ 1 มีไซเล็มและโฟลเอ็มเรียงตัวอยู่ทั่วลำต้น
ลำต้นพืชชนิดที่ 2 มีไซเล็มและโฟลเอ็มเรียงตัวเป็นวงรอบลำต้น
ลำต้นพืชชนิดที่ 3 มีไซเล็มเรียงตัวอยู่รอบพิธ มีโฟลเอ็มแทรกอยู่ระหว่ำงไซเล็ม
ลำต้นพืชชนิดที่ 4 มีไซเล็มเรียงตัวเป็นแฉกออกจำกกึ่งกลำงรำก โดยโฟลเอ็มแทรกอยู่ระหว่ำงแฉก
อยำกทรำบว่ำพืชชนิดใดเป็นพืชประเภทเดียวกัน
1. พืชชนิดที่ 1 และ 3
2. พืชชนิดที่ 1 และ 4
3. พืชชนิดที่ 2 และ 3
4. พืชชนิดที่ 3 และ 4
8. น้ำและแร่ธำตุลำเลียงเข้ำสู่รำกพืชด้วยกระบวนกำรใด
1. ลำเลียงโดยกำรแพร่ทั้งคู่
2. ลำเลียงโดยกำรออสโมซิสทั้งคู่
3. น้ำลำเลียงโดยกำรแพร่ ส่วนแร่ธำตุลำเลียงโดยกำรออสโมซิส
4. น้ำลำเลียงโดยกำรออสโมซิส ส่วนแร่ธำตุลำเลียงโดยกำรแพร่
9. จำกสมกำรดังนี้
คำร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ
แสง
คลอโรฟิลล์
น้ำตำล + A + น้ำ
A คือสำรใด
1. กลูโคส 2. ออกซิเจน
3. คลอโรฟิลล์ 4. คำร์บอนไดออกไซด์
10. กระบวนกำรสังเครำะห์ด้วยแสงมีควำมสำคัญต่อพืชอย่ำงไร
1. ทำให้พืชมีอำกำศหำยใจ
2. ทำให้พืชสร้ำงอำหำรได้
3. ทำให้พืชสำมำรถสืบพันธุ์ได้
4. ช่วยระบำยควำมร้อนออกจำกต้นพืช
11. โครงสร้ำงใดที่พืชใช้ในกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ
1. ใบ 2. ผล
3. ดอก 4. ลำต้น
12. กำรปฏิสนธิของพืชเกิดขึ้นเมื่อใด
1. เมล็ดเริ่มงอกเป็นต้น
2. กลีบดอกเริ่มบำนออก
3. ละอองเรณูตกบนยอดเกสรเพศเมีย
4. นิวเคลียสของละอองเรณูผสมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 6.
13. ดอกทำนตะวันจะหันไปตำมดวงอำทิตย์ตลอดทั้งวัน เป็นผลมำจำกกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำใด
1. แสง 2. อุณหภูมิ
3. ดวงอำทิตย์ 4. แก๊สออกซิเจน
14. กำรตอบสนองในข้อใดเป็นกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำชนิดเดียวกัน
1. กำรงอกของรำกต้นถั่ว-กำรจำศีลของหมี
2. กำรบำนของดอกคุณนำยตื่นสำย-กำรบินกลับรังของนก
3. กำรหุบใบของต้นกำบหอยแครง-กำรลงไปแช่ในแอ่งน้ำของควำย
4. กำรลดรูปใบไปเป็นหนำมของต้นตะบองเพชร-กำรพองตัวของอึ่งอ่ำง
15. กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อเหมำะสำหรับนำมำใช้ขยำยพันธุ์พืชชนิดใด
พืช A เป็นพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ไปจำกประเทศไทย
พืช B เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่มีอำกำศร้อนชื้น
พืช C เป็นพืชที่ถูกรบกวนโดยแมลงศัตรูพืชและวัชพืชได้ง่ำย
พืช D เป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งทุกปีจะมีกำรส่งออกจำนวนมำก
1. พืช A เท่ำนั้น
2. พืช B เท่ำนั้น
3. พืช A B และ D
4. พืช A C และ D
16. กำรจำแนกสำรโดยใช้ขนำดของอนุภำคเป็นเกณฑ์เหมำะกับกำรจำแนกสำรในข้อใดมำกที่สุด
1. กำว โฟม เยลลี
2. เหล็ก ปรอท คลอรีน
3. น้ำนม น้ำส้มสำยชู น้ำคลอง
4. น้ำเกลือ น้ำเชื่อม แอลกอฮอล์ล้ำงแผล
17. ข้อใดระบุตัวทำละลำยละตัวละลำยได้ถูกต้อง
ข้อ สารละลาย ตัวทาละลาย ตัวละลาย
1. น้ำส้มสำยชู เอทำนอล กรดแอซีติก
2. น้ำเกลือ เกลือแกง น้ำ
3. น้ำเชื่อม น้ำ น้ำตำลทรำย
4. แอลกอฮอล์ล้ำงแผล น้ำ แอลกอฮอล์
18. สำรในข้อใดต่ำงไปจำกสำรอื่นๆ
1. นำก 2. ทอง
3. อำกำศ 4. น้ำเกลือ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 7.
19. ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้อง
1. อิมัลซิไฟเออร์ในน้ำนม คือ เคซีน
2. อิมัลซิไฟเออร์ในน้ำสลัด คือ น้ำมันพืช
3. อิมัลซิไฟเออร์ในน้ำสลัด คือ น้ำส้มสำยชู
4. อิมัลซิไฟเออร์ในกำรชำระล้ำงสิ่งสกปรก คือ ไขมัน
20. สำรในข้อใดมีสมบัติควำมเป็นกรด-เบสเหมือนกัน
1. ผงฟู ผงซักฟอก เกลือแกง
2. เบียร์ น้ำปูนใส น้ำตำลทรำย
3. น้ำยำเช็ดกระจก ผงชูรส ยำสระผม
4. น้ำมะขำม น้ำมะเขือเทศ น้ำส้มสำยชู
21. ข้อใดไม่เป็นกำรช่วยลดภำวะโลกร้อน
1. กำรเข้ำร่วมโครงกำรปลูกป่ำทดแทน
2. กำรลดปริมำณขยะโดยกำรมำนำมำใช้ซ้ำ
3. กำรใช้พลังงำนแสงอำทิตย์ในกำรผลิตไฟฟ้ำ
4. กำรใช้ถุงพลำสติกจำกร้ำนค้ำแค่เพียงใบเดียว
22. หำกกำรจัดระบบในร่ำงกำยมนุษย์และสัตว์ผิดปกติในระดับใดระดับหนึ่ง จะส่งผลต่อร่ำงกำยอย่ำงไร
1. ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่ำ
2. ทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ำย
3. ระบบต่ำงๆ ในร่ำงกำยทำงำนผิดปกติ
4. ร่ำงกำยจะปรับตัวได้จึงไม่มีผลแต่อย่ำงใด
23. อำกำรท้องผูกเกิดจำกกำรทำงำนผิดปกติของอวัยวะใด
1. ลำไส้เล็ก 2. ลำไส้ใหญ่
3. ทวำรหนัก 4. กระเพำะอำหำร
24. เพรำะเหตุใดกล้ำมเนื้อหัวใจห้องล่ำงจึงหนำกว่ำกล้ำมเนื้อหัวใจห้องบน
1. หัวใจห้องล่ำงต้องรับเลือดจำกส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย
2. หัวใจห้องล่ำงต้องบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปยังส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย
3. เลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องล่ำงมีควำมดันสูงกว่ำเลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องบน
4. เลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องล่ำงมีปริมำณมำกกว่ำเลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องบน
25. กำรที่เหงือกของปลำมีลักษณะเป็นซี่เล็กๆ มีผลต่อระบบหำยใจอย่ำงไร
1. ช่วยให้น้ำซึมผ่ำนได้ดี
2. ช่วยเพิ่มพื้นที่ในกำรแลกเปลี่ยนแก๊ส
3. ช่วยให้ดูดซึมแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ได้ดี
4. ช่วยให้ปลำไม่ต้องขึ้นมำหำยใจเหนือน้ำบ่อยๆ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 8.
26. ในขณะที่เรำหำยใจเข้ำ ข้อใดกล่ำวถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกะบังลมกับกระดูกซี่โครงได้ถูกต้อง
1. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง
2. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น
3. กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง
4. กะบังลมเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น
27. หำกไตทำงำนผิดปกติ จะสำมำรถสังเกตได้จำกสิ่งใด
1. เหงื่อ 2. อุจจำระ
3. ปัสสำวะ 4. ลมหำยใจออก
28. หำกเด็กหญิงคนหนึ่งมีรังไข่ผิดปกติ จะส่งผลต่อร่ำงกำยอย่ำงไร
1. ร่ำงกำยไม่เจริญเติบโต 2. มีลักษณะเหมือนผู้ชำย
3. พัฒนำกำรทำงเพศผิดปกติ 4. ทำให้เกิดโรคมะเร็งในรังไข่
29. แฝดอิน – จัน แฝดสยำมคู่แรกของโลก เป็นกำรเกิดแฝดในกรณีใด
1. แฝดต่ำงไข่
2. แฝดร่วมไข่
3. อำจเป็นแฝดต่ำงไข่ หรือแฝดร่วมไข่
4. เป็นแฝดที่เกิดจำกวิธีกำรทำงกำรแพทย์
30. เพรำะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงมีกำรแสดงพฤติกรรม
1. เพื่อปรับตัวเข้ำกับสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อแสดงออกถึงควำมต้องกำร
3. เพื่อตอบสนองต่อสังคมที่อำศัยอยู่
4. เพื่อควำมอยู่รอดและดำรงเผ่ำพันธุ์
31. เทคโนโลยีชีวภำพมีประโยชน์อย่ำงไร
1. ช่วยประหยัดต้นทุนกำรผลิตสัตว์
2. ช่วยทำให้ได้สัตว์สำยพันธุ์ตำมต้องกำร
3. ลดระยะเวลำในกำรเจริญเติบโตของสัตว์
4. สำมำรถทำได้ง่ำย โดยไม่ต้องใช้ควำมเชี่ยวชำญ
32. ข้อควำมใดที่กล่ำวเกี่ยวกับกำรใช้พลังงำนจำกสำรอำหำรได้ถูกต้องที่สุด
1. ขณะนอนหลับร่ำงกำยจะไม่ใช้พลังงำนที่ได้จำกสำรอำหำร
2. ในกำรทำกิจกรรมชนิดเดียวกัน ผู้หญิงกับผู้ชำยจะใช้พลังงำนต่ำงกัน
3. ในกำรทำกิจกรรมชนิดเดียวกัน ผู้ที่มีน้ำหนักน้อยจะใช้พลังงำนมำกกว่ำผู้ที่มีน้ำหนักมำก
4. ขณะเล่นกีฬำผู้ชำยจะใช้พลังงำนมำกกว่ำผู้หญิง แต่ในขณะทำงำนเบำๆ ผู้หญิงจะใช้พลังงำนมำกกว่ำผู้ชำย
33. เพื่อส่งเสริมให้ร่ำงกำยเจริญเติบโตอย่ำงสมวัย วัยรุ่นควรรับประทำนอำหำรชนิดใดมำกที่สุด
1. ข้ำว เนื้อสัตว์ 2. เนย ผักใบเขียว
3. ไข่ มะเขือเทศ 4. น้ำมันพืช ถั่วเหลือง
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 9.
34. ข้อใดเป็นสำเหตุสำคัญที่สุด ที่ทำให้เด็กในวัยเรียนรับประทำนอำหำรไม่ครบ 5 หมู่
1. กำรรับประทำนอำหำรนอกบ้ำน
2. กำรรับประทำนอำหำรไม่เป็นเวลำ
3. กำรรับประทำนอำหำรไม่อิ่มเพรำะเร่งรีบ
4. กำรเลือกรับประทำนอำหำรเฉพำะที่ตนเองชอบ
35. นักเรียนควรเลือกรับประทำนอำหำรชนิดใดต่อไปนี้ จึงจะมีชนิดสำรอำหำรมำกที่สุด หำกอำหำร
ทั้งหมดนี้มีรำคำเท่ำกัน
1. ขนมครก 2. ปำท่องโก๋
3. กล้วยบวชชี 4. นมถั่วเหลือง
36. กำรสังเกตว่ำบุคคลใดติดสำรเสพติดนั้น วิธีใดที่ให้ผลแน่นอนที่สุด
1. สังเกตจำกบุคคลใกล้ชิด
2. สังเกตจำกพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป
3. สังเกตจำกสุขภำพร่ำงกำยของผู้เสพ
4. สังเกตจำกผลกำรตรวจเลือดและปัสสำวะ
37. ข้อใดกล่ำวถึงธำตุได้ถูกต้อง
1. ธำตุทุกชนิดสำมำรถนำไฟฟ้ำ
2. ธำตุแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ โลหะ และอโลหะ
3. โซเดียมคลอไรด์และโพแทสเซียมออกไซด์เป็นธำตุ
4. ไม่สำมำรถทำให้ธำตุแตกตัวเป็นสำรเดี่ยวหลำยชนิดได้
38. ข้อใดเป็นสมบัติทำงกำยภำพของสำร
1. สี กำรลุกติดไฟ
2. สถำนะ จุดเดือด
3. กลิ่น ควำมเป็นกรด-เบส
4. จุดหลอมเหลว กำรสลำยตัว
39. เพรำะเหตุใดภำชนะหุงต้มที่ใช้ประกอบอำหำรจึงทำด้วยโลหะ
1. มีผิวมันวำว
2. นำไฟฟ้ำได้ดี
3. นำควำมร้อนได้ดี
4. ตีแผ่เป็นรูปทรงต่ำงๆ ได้ง่ำย
40. สำรที่เหมำะสมจะนำมำแยกโดยกำรกลั่นแบบไอน้ำ ควรมีสมบัติตำมข้อใด
1. ไม่ละลำยน้ำ จุดเดือดสูง
2. ไม่ละลำยน้ำ จุดเดือดต่ำ
3. ละลำยน้ำได้ดี จุดเดือดสูง
4. ละลำยน้ำได้ดี จุดเดือดต่ำ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 10.
41. กำรแยกสำรบริสุทธิ์ด้วยวิธีโครมำโทกรำฟีอำศัยหลักกำรใด
1. ควำมแตกต่ำงของกำรถูกดูดซับ
2. ควำมแตกต่ำงของสำรในกำรละลำย
3. ควำมแตกต่ำงของสำรที่ใช้เป็นตัวทำละลำย
4. ควำมแตกต่ำงของสำรในกำรละลำยและกำรถูกดูดซับ
42. จำกกำรนำสำร 2 ชนิด มำผสมกัน ดังตำรำงที่กำหนดให้ ข้อใดเป็นปฏิกิริยำคำยควำมร้อน
ข้อ สารที่ผสม
อุณหภูมิของสาร (o
C)
ก่อนผสม หลังผสม
1. A+B 27 28
2. C+D 29 29
3. E+F 29 28
4. G+H 26 25
43. พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้ แล้วตอบคำถำม
ก. เติมตัวเร่งปฏิกิริยำ
ข. ให้ควำมร้อนแก่ปฏิกิริยำ
ค. บดหรือหั่นสำรตั้งต้นให้มีขนำดเล็กลง
ง. เพิ่มปริมำณของสำรตั้งต้นโดยกำรเติมน้ำกลั่น
จ. เลือกสำรตั้งต้นที่มีคุณสมบัติเหมำะสมในกำรใช้งำน
ข้อใดเป็นกำรเร่งอัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำเคมี
1. ก. ข. ค. 2. ก. ข. จ.
3. ก. ข. ค. ง. 4. ก. ข. ค. จ.
44. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อกำรเกิดปฏิกิริยำเคมี
1. อุณหภูมิที่สูงขึ้น จะทำให้เกิดปฏิกิริยำเคมีได้เร็ว
2. กำรเพิ่มพื้นที่ผิวของสำร จะช่วยให้ปฏิกิริยำเคมีเกิดช้ำลง
3. สำรตั้งต้นที่มีควำมเข้มข้นมำก จะทำให้เกิดปฏิกิริยำเคมีได้อย่ำงรวดเร็ว
4. สมบัติของสำรตั้งต้นที่เป็นสำรไวไฟ จะทำให้ปฏิกิริยำเคมีเกิดได้เร็วขึ้น
45. ข้อใดเป็นควำมหมำยของคำว่ำ “ทรัพยำกรธรรมชำติ”
1. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ
2. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ หรือบำงส่วนที่มนุษย์สร้ำงขึ้น
3. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ แต่มนุษย์ไม่สำมำรถนำมำใช้ประโยชน์
4. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ และมีประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทำงตรงและทำงอ้อม
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 11.
46. จำกข้อควำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้
ก. ฝนกรด
ข. กำรเกิดหินงอกหินย้อย
ค. ปรำกฏกำรณ์เรือนกระจก
ง. น้ำเน่ำเสียจำกกำรทิ้งสำรอินทรีย์
ข้อใดเป็นผลกระทบของปฏิกิริยำเคมีที่เป็นอันตรำยต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. ก. ข. 2. ข. ค.
3. ก. ข. ค. 4. ก. ค. ง.
47. จำกข้อควำมที่กำหดให้ต่อไปนี้
ก. สำรสังเครำะห์สำมำรถเกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติได้
ข. สำรสังเครำะห์ คือ กำรลอกเลียนแบบสำรจำกธรรมชำติ
ค. สำรสังเครำะห์มีประสิทธิภำพมำกกว่ำสำรจำกธรรมชำติ
ง. สำรจำกธรรมชำติมีพิษหรืออันตรำยมำกกว่ำสำรสังเครำะห์
ข้อใดกล่ำวถึงสำรสังเครำะห์ได้ถูกต้อง
1. ก. ข. 2. ข. ค.
3. ก. ค. 4. ก. ง.
48. กำรถ่ำยทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจำกรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง หมำยถึงข้อใด
1. พันธุกรรม 2. พันธุศำสตร์
3. พันธุวิศวกรรม 4. โรคทำงพันธุกรรม
49. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทำงพันธุกรรม
1. สีผิว 2. ลักยิ้ม
3. ชั้นตำ 4. แผลเป็น
50. เมื่อมองเซลล์ผ่ำนกล้องจุลทรรศน์ในขณะที่มีกำรแบ่งเซลล์จะพบโครงสร้ำงใด
1. โครมำทิด 2. โครมำทิน
3. โครโมโซม 4. เซนโทรเมียร์
51. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับโครโมโซมของมนุษย์
1. เป็นออโตโซม 22 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่
2. เป็นออโตโซม 23 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่
3. เป็นออโตโซม 45 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่
4. เป็นออโตโซม 46 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่
52. กำรที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีหลำยสำยพันธุ์ จัดเป็นควำมหลำกหลำยทำงใด
1. ควำมหลำกหลำยทำงกำยภำพ
2. ควำมหลำกหลำยทำงชนิดพันธุ์
3. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม
4. ควำมหลำกหลำยทำงระบบนิเวศ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 12.
53. มนุษย์ยุคปัจจุบันมีชื่อวิทยำศำสตร์ว่ำอะไร
1. Homo sapiens
2. Homo erectus
3. Homo sapiens idaltu
4. Homo neanderthalensis
54. กำรจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตตำมแนวคิดของรอเบิร์ต วิตเทเกอร์ แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นกี่อำณำจักร
1. 4 อำณำจักร 2. 5 อำณำจักร
3. 6 อำณำจักร 4. 7 อำณำจักร
55. แพรวำจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1) ฟองน้ำ แมงกะพรุน หอย และหมึก
2) ปลำหำงนกยูง โลมำ ไก่ และสุนัข
แพรวำใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ในกำรจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต
1. แหล่งที่อยู่ 2. แหล่งกำเนิด
3. ลักษณะลำตัว 4. กระดูกสันหลัง
56. ระบบนิเวศประกอบด้วยโครงสร้ำงใดบ้ำง
1. กลุ่มสิ่งมีชีวิตเพียงอย่ำงเดียว
2. กลุ่มสิ่งมีชีวิต และแหล่งที่อยู่
3. กลุ่มสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม
4. กลุ่มสิ่งมีชีวิต แหล่งที่อยู่และสิ่งแวดล้อม
57. สิ่งมีชีวิตในข้อใดแสดงบทบำทต่ำงจำกสิ่งมีชีวิตในข้ออื่น
1. มอส 2. ชวนชม
3. เห็ดนำงฟ้ำ 4. สำหร่ำยหำงกระรอก
58. “ไลเคน” เป็นกำรอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่มีควำมสัมพันธ์กันแบบใด
1. ภำวะแข่งขัน 2. ภำวะล่ำเหยื่อ
3. ภำวะอิงอำศัย 4. ภำวะพึ่งพำกัน
59. “หนอน นก หญ้ำ งู” พบในระบบนิเวศแห่งหนึ่ง จะเขียนควำมสัมพันธ์ในรูปโซ่อำหำรได้อย่ำงไร
1. หญ้ำ ⟶ หนอน ⟶ งู ⟶ นก
2. หญ้ำ ⟶ หนอน ⟶ นก ⟶ งู
3. หญ้ำ ⟶ นก ⟶ หนอน ⟶ งู
4. หญ้ำ ⟶ งู ⟶ นก ⟶ หนอน
60. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรคำร์บอน
1. กำรคำยน้ำของพืช
2. กำรหำยใจของสิ่งมีชีวิต
3. กำรสังเครำะห์ด้วยแสงของพืช
4. กำรย่อยสลำยซำกพืช ซำกสัตว์
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 13.
61. วัฏจักรสำรใดที่จะเกิดขึ้นได้สมบูรณ์ต้องอำศัยจุลินทรีย์
1. น้ำ 2. คำร์บอน
3. ไนโตรเจน 4. ฟอสฟอรัส
62. ปัจจัยใดบ้ำงที่มีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงขนำดของประชำกร
1. อัตรำกำรเกิดเท่ำนั้น
2. อัตรำกำรตำยเท่ำนั้น
3. อัตรำกำรเกิด อัตรำกำรตำย และอัตรำกำรอพยพเข้ำ
4. อัตรำกำรเกิด อัตรำกำรตำย อัตรำกำรอพยพเข้ำ และอัตรำกำรอพยพออก
63. ระบบนิเวศที่สมดุลหมำยถึงข้อใด
1. บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตหลำกหลำยชนิดมำอยู่รวมกัน
2. บริเวณที่มีสิ่งแวดล้อมทั้งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิตจำนวนเท่ำๆ กัน
3. บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตอำศัยอยู่ และมีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะต่ำงๆ
4. บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลำยในปริมำณ สัดส่วน และกำรกระจำยที่เหมำะสม
64. ข้อใดอธิบำยควำมหมำยของคำว่ำ “สิ่งแวดล้อม” ได้ถูกต้องที่สุด
1. สิ่งต่ำงๆ ที่อยู่รอบตัวเรำ
2. สิ่งต่ำงๆ ที่มีควำมเหมำะสมต่อมนุษย์
3. ทุกสิ่งที่ประกอบกันเป็นโลกและสภำพแวดล้อมที่เกี่ยวกับป่ำไม้ดิน น้ำ อำกำศ
4. ทุกสิ่งทุกอย่ำงที่อยู่รอบตัวเรำทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ทั้งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติและที่
มนุษย์สร้ำงขึ้น
65. สำเหตุสำคัญที่สุดของปัญหำวิกฤตกำรณ์ด้ำนสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติคือข้อใด
1. กำรเพิ่มขึ้นของประชำกร
2. กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจ
3. ภัยธรรมชำติและอุบัติเหตุ
4. ควำมเจริญทำงด้ำนเทคโนโลยี
66. ตัวกำรสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหำวิกฤตกำรณ์ด้ำนสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติคือข้อใด
1. มนุษย์
2. นักกำรเมือง
3. ภัยธรรมชำติ
4. ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยี
67. กำรแก้ปัญหำสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดคือข้อใด
1. กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ
2. ลดปริมำณกำรใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
3. ให้กำรศึกษำด้ำนสิ่งแวดล้อมแก่ประชำชน
4. กำหนดบทลงโทษอย่ำงจริงจังเกี่ยวกับกำรทำลำยสิ่งแวดล้อม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
Pat Pataranutaporn
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
Phattarawan Wai
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
Sumalee Khvamsuk
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
Weerachat Martluplao
 

La actualidad más candente (20)

การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 

Destacado

สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
krutew Sudarat
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
flimgold
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
krupornpana55
 
1โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี521โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี52
krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
krupornpana55
 
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 

Destacado (20)

Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
18ข้อสอบสสวท 56
18ข้อสอบสสวท 5618ข้อสอบสสวท 56
18ข้อสอบสสวท 56
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6
 
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
 
1โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี521โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี52
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
 
Onet m.3 2553 (1)
Onet m.3 2553 (1)Onet m.3 2553 (1)
Onet m.3 2553 (1)
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
 
O ne tm31-54
O ne tm31-54O ne tm31-54
O ne tm31-54
 
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 

Similar a เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O

เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
อังสนา แสนเยีย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 

Similar a เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O (20)

Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
4
44
4
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49
 
เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 

Más de Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

Más de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O

  • 1. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 1. เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O-NET ปีการศึกษา 2558 รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Part : ชีววิทยา และ เคมี) ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ (วท.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล , ศษ.ม. มหาวิทยาลัยรามคาแหง) ครู ค.ศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร “ความสาเร็จของลูกศิษย์ คือ ความภาคภูมิใจของคนเป็นครู”
  • 2. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 2. บทเรียนที่ใช้ในการทดสอบ O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 (Part : ชีววิทยา และ เคมี) 1. เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร 2. สารรอบตัว 3. สารละลาย 4. สารละลายกรดและเบส 5. หน่วยของสิ่งมีชีวิต 6. การดารงชีวิตของพืช กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การสังเกตและตั้งคาถาม (จุดเริ่มสาคัญสุด) การตั้งสมมติฐาน (คาดคะเนคาตอบ) การตรวจสอบสมมติฐาน (ทดลองแบบควบคุม : ตัวแปร) การวิเคราะห์ (กราฟ ตาราง แผนภูมิ) การสรุป (คาตอบของคาถาม) ตัวแปร แบ่งเป็น ตัวแปรต้น (สิ่งที่ต้องการศึกษา) ตัวแปรตาม (ผลการศึกษา) ตัวแปรควบคุม (สิ่งที่ทาให้เหมือนกัน) กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น แบบใช้แสง (ธรรมดากับสเตอริโอ) และแบบใช้อิเล็กตรอน (ส่องผ่านและส่องกราด) กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงธรรมดา : กาลังขยาย = เลนส์ใกล้ตา x เลนส์ใกล้วัตถุ สาร แบ่งเป็นสารเนื้อเดียว (สารบริสุทธิ์และสารละลาย) กับสารเนื้อผสม (คอลลอยด์และแขวนลอย) สารบริสุทธิ์ แบ่งเป็น ธาตุ (โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ) และสารประกอบ (พันธะเคมี : ไอออนิกและโคเวเลนต์) คอลลอยด์ : อิมัลชัน (ของเหลว + ของเหลว : ตัวประสาน/อิมัลซิฟายเออร์) ,ปรากฏการณ์ทินดอลล์, กรองผ่านกระดาษกรองไม่ผ่าน เซลโลเฟน ส่วนแขวนลอย ไม่ผ่านทั้งกระดาษกรองและเซลโลเฟน และสารละลายผ่านทั้งกระดาษกรองและเซลโลเฟน โลหะส่วนใหญ่เป็นของแข็ง ยกเว้น ปรอท (โลหะของเหลว) อโลหะส่วนใหญ่ไม่นาไฟฟ้า ยกเว้น แกรไฟต์ (โครงร่างตาข่ายคาร์บอน) ตัวทาละลาย (ปริมาณมากกว่า/สถานะเดียวกับสารละลาย) ตัวถูกละลาย (ปริมาฯน้อยกว่า/คนละสถานะกับสารละลาย) ความเข้มข้น แบ่งเป็น %โดยมวล = มวลตัวถูก/มวลสารละลาย , %โดยปริมาตร = ปริมาตรตัวถูก/ปริมาตรสารละลาย และ %โดยมวล ต่อปริมาตร = มวลตัวถูก/ปริมาตรสารละลาย (ppm คือ 1 ส่วนในล้านส่วน และ ppt คือ 1 ส่วนในพันส่วน) มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง (นาก ทองเหลือง เหล็กกล้า) ของเหลว (น้าเชื่อม น้าเกลือ แก๊สโซฮอล์) แก็ส (อากาศ LPG NGV) การละลาย : แบบคายความร้อน (อุณหภูมิที่วัดได้สูงขึ้น) แบบดูดความร้อน (อุณหภูมิที่วัดได้ลดลง) กรด คือ สารที่มีค่า pH < 7 รสเปรี้ยว ทาปฏิกิริยากับโลหะได้ H2 (เกิดการติดไฟ) ทาปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้า (คายความร้อน) ทา ปฏิกิริยากับหินปูน (สารประกอบคาร์บอเนต)ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (ทาให้น้าปูใสขุ่น) เปลี่ยนกระดาษลิสมัตจากสีน้าเงินเป็นแดง เบส คือ สารที่มีค่า pH > 7 รสฝาด ลื่นมือคล้ายสบู่ (ปฏิกิยาสะปอนิฟิเคชั่น) ส่วนใหญ่เป็นสารชะล้าง ยกเว้น น้ายาล้างห้องน้า (กรด) เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน เปลี่ยนสีอินดิเคเตอร์ฟีนอฟทาลีนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู กลาง คือ สารที่มี pH = 7 เช่น น้ากลั่น เกลือ น้าตาล ไม่เปลี่ยนกระดาษลิตมัสทั้งแดงและน้าเงิน เซลล์ เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ส่วน คือ 1. ส่วนห่อหุ้ม ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ (พบทั้งพืชและสัตว์) ผนังเซลล์ (พบในพืชเท่านั้น : เซลล์เหลี่ยม) 2. ส่วนไซโทพลาสซึม ได้แก่ ออร์แกเนลล์ไม่มีเยื่อหุ้ม เช่น ไรโบโซม เซนทริโอล (พบในสัตว์เท่านั้น) เยื่อหุ้ม 1 ชั้น เช่น ไลโซโซม (พบใน สัตว์เท่านั้น) กอลจิบอดี ร่างแหเอ็นโดพลาสซึม เยื่อหุ้ม 2 ชั้น เช่น ไมโคอนเครียและคลอโรพลาสต์ (พบในพืชเท่านั้น) 3. ส่วนนิวเคลียส ควบคุมการทางานเซลล์และถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ประกอบด้วย เยื่อหุ้ม โครมาทิน และนิวคลีโอลัส พืชเป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศ มีคลอฟิลล์ในคลอโรพลาสต์เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สร้างโมเลกุล น้าตาลและได้แก๊สออกซิเจนกับน้าเป็นผลพลอยได้ หลังจากนั้นอาหารจะถูกลาเลียงผ่านท่อโฟลเอ็มทั้งขึ้นและลง กระบวนการดูดซึมน้า คือ ออสโมซิส กระบวนการดูดซึมแร่ธาตุ คือ การแพร่ ทั้งหมดลาเลียงผ่านท่อไซเล็มจากรากขึ้นสู่ยอดเท่านั้น ราก แบ่งเป็น รากแก้ว (ใบเลี้ยงคู่) รากฝอย (ใบเลี้ยงเดี่ยว) ลาต้นมีข้อปล้องชัดเจน (ใบเลี้ยงเดี่ยว) ลาต้นมีการสร้างวงปี (ใบเลี้ยงคู่) เส้นใบขนาน (ใบเลี้ยงเดี่ยว) เส้นใบร่างแห (ใบเลี้ยงคู่) ดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เกิดปฏิสนธิซ้อนหลังถ่ายละอองเรณูได้ผลและเมล็ด
  • 3. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 3. 7. การจาแนกสาร 8, ปฏิกิริยาเคมี 9. อาหารกับการดารงชีวิต 10. ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์และสัตว์ 11. ระบบนิเวศ 12. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การกรอง (แยกตามอนุภาคสาร) การใช้แม่เหล็ก (แยกสารแม่เหล็ก) การระเหยแห้ง (แยกของแข็งออกจากสารละลาย) การใช้กรวยแยก (แยกสารที่ไม่ละลายกันออกจากกัน) การกลั่นแบบธรรมดา (แยกสารที่มีจุดเดือดต่างกันมาก) การกลั่นด้วยไอน้า (แยกสารจุดเดือดต่าไม่ ละลายน้า) การกลั่นลาดับส่วน (แยกสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน) การสกัดด้วยตัวทาละลาย (สารมีความสามารถในการละลายต่างกัน) การตกผลึก (การลดอุณหภูมิลงของสารละลายอิ่มตัว) และโครโมโทกราฟี (การแยกสารที่มีสมบัติในการละลายในตัวทาละลายและการดูด ซับบนตัวกลางต่างกัน : ค่า Rf) การเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นเป็นสารผลิตภัณฑ์ (สารใหม่ที่มีสมบัติแต่ต่างจากเดิม) ระวัง ไม่ใช่การเปลี่ยนสถานะของสาร อัตราเร็วของปฏิกิริยา ขึ้นกับ สมบัติของสาร ความเข้มข้นของสาร ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา ระดับอุณหภูมิของปฏิกิริยา และพื้นที่ผิว ของแข็งของสารตั้งต้น การสลายพันธะเดิม : ดูดความร้อน ส่วนการสร้างพันธะใหม่ : คายความร้อน การเปลี่ยนสถานะของสาร : จุดเดือด (ของเหลวเป็นแก๊ส : ระเหย) จุดเยือกแข็ง (ของเหลวเป็นของแข็ง) ระเหิด (ของแข็งเป็นแก็ส) สารอินทรีย์ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และวิตามิน ส่วนสารอนินทรีย์ ได้แก่ น้า และแร่ธาตุ สารอาหารให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต (4 kcal/g) โปรตีน (4 kcal/g) และไขมัน (9 kcal/g) การทดสอบสารอาหาร ได้แก่ น้าตาลทดสอบด้วยเบเนดิกต์หลังต้มจะได้ตะกอนแดงอิฐ แป้งทดสอบด้วยไอโอดีนได้สีน้าเงินเข้ม ไขมัน ทดสอบด้วยกระดาษเปลี่ยนจากทีบแสงเป็นโปร่แสง โปรตีนทดสอบด้วยไบยูเร็ตได้สารรละลายสีม่วง วิตามิน แบ่งเป็น ละลายไขมัน (A D E K) และละลายน้า (B1 B2 B5 B6 B 12 และ C) 1. ระบบย่อยอาหาร 2. ระบบหมุนเวียนเลือด 3. ระบบหมุนเวียนน้าเหลือง 4. ระบบหายใจ 5. ระบบห่อหุ้มร่างกาย 6. ระบบกระดูก 7. ระบบกล้ามเนื้อ 8. ระบบขับถ่าย 9. ระบบสืบพันธุ์ 10. ระบบประสาทและฮอร์โมน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (ปัจจัยกายภาพ เช่น แสง น้า แร่ธาตุ และปัจจัยชีวภาพ คือ สิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง) สมดุลระบบนิเวศ เกิดจากกระบวนการหมุนเวียนสสาร (คาร์บอน น้า ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส) และกระบวนการถ่ายทอดพลังงาน (ห่วงโซ่ อาหารและสายใยอาหาร : 10%) การสะสมสารพิษจะมากที่สุดในผู้บริโภคอันดับสุดท้าย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต เช่น แบบพึ่งพา แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน แบบปรสิต แบบล่าเหยื่อ แบบอิงอาศัย สภาวะโลกร้อน/ช่องโหว่งโอโซน/การพัฒนาอย่างยั่งยืน/reuse reduce recycle บิดาวิชาพันธุศาสตร์ คือ เมเดล ค้นพบกฎ 2 ข้อ คือ กฎการแยกตัว กับ กฎการรวมกลุ่มอิสระ อัตราส่วน เด่น : ด้อย = 3 : 1 พันธุ์เด่นแท้ (TT) พันทาง (Tt) พันธุ์ด้อย (tt) ลักษณะข่มอย่างสมบูรณ์ ลักษณะข่มไม่สมบูรณ์ เช่น ดอกสีแดงผสมดอกสีขาวได้ดอกสีชมพู ลักษณะเด่นร่วม เช่น หมู่เลือด AB โรคทางพันธุกรรมจากยีน เช่น ทาลัสซีเมีย ผิวเผือก ฮีโมฟีเลีย ตาบอดสี จากโครโมโซม เช่น ดาวน์ซินโครม พาทัวซินโดรม เทอร์เนอร์ซินโดรม ความหลากหลายทางชีวภาพ 5 อาณาจักร ได้แก่ มอเนอรา (แบคทีเรียกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน) โปรติสตา ฟังไจ (เห็ด รา ยีสต์) พืช และสัตว์
  • 4. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 4. แนวข้อสอบ O-NET วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 (Part : ชีววิทยา และ เคมี) คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. กำรใช้กล้องจุลทรรศน์ในกำรศึกษำเซลล์ กำรดูภำพครั้งแรกควรใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยำยเท่ำใด 1. 4X 2. 10X 3. 40X 4. 100X 2. ส่วนประกอบใดภำยในเซลล์ที่ทำหน้ำที่เป็นแหล่งสร้ำงพลังงำนให้แก่เซลล์ 1. นิวเคลียส 2. แวคิวโอล 3. คลอโรพลำสต์ 4. ไมโทคอนเดรีย 3. ออร์แกเนลล์ใดที่พบได้เฉพำะในเซลล์พืช 1. แวคิวโอล กอลจิบอดี 2. ผนังเซลล์ คลอโรพลำสต์ 3. นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย 4. เยื่อหุ้มเซลล์ ร่ำงแหเอนโดพลำซึม 4. ส่วนประกอบที่อยู่ด้ำนนอกสุดของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีควำมเหมือนหรือแตกต่ำงกันอย่ำงไร 1. เหมือนกัน คือ เป็นผนังเซลล์ 2. เหมือนกัน คือ เป็นเยื่อหุ้มเซลล์ 3. ต่ำงกัน โดยเซลล์พืชจะมีผนังเซลล์ ส่วนเซลล์สัตว์มีเยื่อหุ้มเซลล์ 4. ต่ำงกัน โดยเซลล์พืชจะมีเยื่อหุ้มเซลล์ ส่วนเซลล์สัตว์มีผนังเซลล์ 5. ออร์แกเนลล์คู่ใดมีควำมสัมพันธ์กันมำกที่สุด 1. ไมโทคอนเดรีย – แวคิวโอล 2. เซนทริโอล – ไมโทคอนเดรีย 3. ร่ำงแหเอนโดพลำซึม – แวคิวโอล 4. ร่ำงแหเอนโดพลำซึม – กอลจิบอดี 6. กำรเคลื่อนที่ของสำรในข้อใดถูกต้อง ข้อ กระบวนการแพร่ กระบวนการออสโมซิส 1. กำรเคลื่อนที่ของน้ำเข้ำสู่เซลล์ขนรำก กำรกระจำยของน้ำหอมในอำกำศ 2. กำรกระจำยของน้ำหอมในอำกำศ กำรเคลื่อนที่ของน้ำเข้ำสู่เซลล์ขนรำก 3. กำรเคลื่อนที่ของแร่ธำตุเข้ำสู่เซลล์ขนรำก กำรละลำยของน้ำตำลในน้ำ 4. กำรละลำยของน้ำตำลในน้ำ กำรเคลื่อนที่ของแร่ธำตุเข้ำสู่เซลล์ขนรำก
  • 5. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 5. 7. นำลำต้นและรำกพืช 4 ชนิด มำส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ พบว่ำ ลำต้นพืชชนิดที่ 1 มีไซเล็มและโฟลเอ็มเรียงตัวอยู่ทั่วลำต้น ลำต้นพืชชนิดที่ 2 มีไซเล็มและโฟลเอ็มเรียงตัวเป็นวงรอบลำต้น ลำต้นพืชชนิดที่ 3 มีไซเล็มเรียงตัวอยู่รอบพิธ มีโฟลเอ็มแทรกอยู่ระหว่ำงไซเล็ม ลำต้นพืชชนิดที่ 4 มีไซเล็มเรียงตัวเป็นแฉกออกจำกกึ่งกลำงรำก โดยโฟลเอ็มแทรกอยู่ระหว่ำงแฉก อยำกทรำบว่ำพืชชนิดใดเป็นพืชประเภทเดียวกัน 1. พืชชนิดที่ 1 และ 3 2. พืชชนิดที่ 1 และ 4 3. พืชชนิดที่ 2 และ 3 4. พืชชนิดที่ 3 และ 4 8. น้ำและแร่ธำตุลำเลียงเข้ำสู่รำกพืชด้วยกระบวนกำรใด 1. ลำเลียงโดยกำรแพร่ทั้งคู่ 2. ลำเลียงโดยกำรออสโมซิสทั้งคู่ 3. น้ำลำเลียงโดยกำรแพร่ ส่วนแร่ธำตุลำเลียงโดยกำรออสโมซิส 4. น้ำลำเลียงโดยกำรออสโมซิส ส่วนแร่ธำตุลำเลียงโดยกำรแพร่ 9. จำกสมกำรดังนี้ คำร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ แสง คลอโรฟิลล์ น้ำตำล + A + น้ำ A คือสำรใด 1. กลูโคส 2. ออกซิเจน 3. คลอโรฟิลล์ 4. คำร์บอนไดออกไซด์ 10. กระบวนกำรสังเครำะห์ด้วยแสงมีควำมสำคัญต่อพืชอย่ำงไร 1. ทำให้พืชมีอำกำศหำยใจ 2. ทำให้พืชสร้ำงอำหำรได้ 3. ทำให้พืชสำมำรถสืบพันธุ์ได้ 4. ช่วยระบำยควำมร้อนออกจำกต้นพืช 11. โครงสร้ำงใดที่พืชใช้ในกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ 1. ใบ 2. ผล 3. ดอก 4. ลำต้น 12. กำรปฏิสนธิของพืชเกิดขึ้นเมื่อใด 1. เมล็ดเริ่มงอกเป็นต้น 2. กลีบดอกเริ่มบำนออก 3. ละอองเรณูตกบนยอดเกสรเพศเมีย 4. นิวเคลียสของละอองเรณูผสมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่
  • 6. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 6. 13. ดอกทำนตะวันจะหันไปตำมดวงอำทิตย์ตลอดทั้งวัน เป็นผลมำจำกกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำใด 1. แสง 2. อุณหภูมิ 3. ดวงอำทิตย์ 4. แก๊สออกซิเจน 14. กำรตอบสนองในข้อใดเป็นกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำชนิดเดียวกัน 1. กำรงอกของรำกต้นถั่ว-กำรจำศีลของหมี 2. กำรบำนของดอกคุณนำยตื่นสำย-กำรบินกลับรังของนก 3. กำรหุบใบของต้นกำบหอยแครง-กำรลงไปแช่ในแอ่งน้ำของควำย 4. กำรลดรูปใบไปเป็นหนำมของต้นตะบองเพชร-กำรพองตัวของอึ่งอ่ำง 15. กำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อเหมำะสำหรับนำมำใช้ขยำยพันธุ์พืชชนิดใด พืช A เป็นพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ไปจำกประเทศไทย พืช B เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่มีอำกำศร้อนชื้น พืช C เป็นพืชที่ถูกรบกวนโดยแมลงศัตรูพืชและวัชพืชได้ง่ำย พืช D เป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งทุกปีจะมีกำรส่งออกจำนวนมำก 1. พืช A เท่ำนั้น 2. พืช B เท่ำนั้น 3. พืช A B และ D 4. พืช A C และ D 16. กำรจำแนกสำรโดยใช้ขนำดของอนุภำคเป็นเกณฑ์เหมำะกับกำรจำแนกสำรในข้อใดมำกที่สุด 1. กำว โฟม เยลลี 2. เหล็ก ปรอท คลอรีน 3. น้ำนม น้ำส้มสำยชู น้ำคลอง 4. น้ำเกลือ น้ำเชื่อม แอลกอฮอล์ล้ำงแผล 17. ข้อใดระบุตัวทำละลำยละตัวละลำยได้ถูกต้อง ข้อ สารละลาย ตัวทาละลาย ตัวละลาย 1. น้ำส้มสำยชู เอทำนอล กรดแอซีติก 2. น้ำเกลือ เกลือแกง น้ำ 3. น้ำเชื่อม น้ำ น้ำตำลทรำย 4. แอลกอฮอล์ล้ำงแผล น้ำ แอลกอฮอล์ 18. สำรในข้อใดต่ำงไปจำกสำรอื่นๆ 1. นำก 2. ทอง 3. อำกำศ 4. น้ำเกลือ
  • 7. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 7. 19. ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้อง 1. อิมัลซิไฟเออร์ในน้ำนม คือ เคซีน 2. อิมัลซิไฟเออร์ในน้ำสลัด คือ น้ำมันพืช 3. อิมัลซิไฟเออร์ในน้ำสลัด คือ น้ำส้มสำยชู 4. อิมัลซิไฟเออร์ในกำรชำระล้ำงสิ่งสกปรก คือ ไขมัน 20. สำรในข้อใดมีสมบัติควำมเป็นกรด-เบสเหมือนกัน 1. ผงฟู ผงซักฟอก เกลือแกง 2. เบียร์ น้ำปูนใส น้ำตำลทรำย 3. น้ำยำเช็ดกระจก ผงชูรส ยำสระผม 4. น้ำมะขำม น้ำมะเขือเทศ น้ำส้มสำยชู 21. ข้อใดไม่เป็นกำรช่วยลดภำวะโลกร้อน 1. กำรเข้ำร่วมโครงกำรปลูกป่ำทดแทน 2. กำรลดปริมำณขยะโดยกำรมำนำมำใช้ซ้ำ 3. กำรใช้พลังงำนแสงอำทิตย์ในกำรผลิตไฟฟ้ำ 4. กำรใช้ถุงพลำสติกจำกร้ำนค้ำแค่เพียงใบเดียว 22. หำกกำรจัดระบบในร่ำงกำยมนุษย์และสัตว์ผิดปกติในระดับใดระดับหนึ่ง จะส่งผลต่อร่ำงกำยอย่ำงไร 1. ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่ำ 2. ทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ำย 3. ระบบต่ำงๆ ในร่ำงกำยทำงำนผิดปกติ 4. ร่ำงกำยจะปรับตัวได้จึงไม่มีผลแต่อย่ำงใด 23. อำกำรท้องผูกเกิดจำกกำรทำงำนผิดปกติของอวัยวะใด 1. ลำไส้เล็ก 2. ลำไส้ใหญ่ 3. ทวำรหนัก 4. กระเพำะอำหำร 24. เพรำะเหตุใดกล้ำมเนื้อหัวใจห้องล่ำงจึงหนำกว่ำกล้ำมเนื้อหัวใจห้องบน 1. หัวใจห้องล่ำงต้องรับเลือดจำกส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย 2. หัวใจห้องล่ำงต้องบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปยังส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย 3. เลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องล่ำงมีควำมดันสูงกว่ำเลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องบน 4. เลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องล่ำงมีปริมำณมำกกว่ำเลือดที่เข้ำสู่หัวใจห้องบน 25. กำรที่เหงือกของปลำมีลักษณะเป็นซี่เล็กๆ มีผลต่อระบบหำยใจอย่ำงไร 1. ช่วยให้น้ำซึมผ่ำนได้ดี 2. ช่วยเพิ่มพื้นที่ในกำรแลกเปลี่ยนแก๊ส 3. ช่วยให้ดูดซึมแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ได้ดี 4. ช่วยให้ปลำไม่ต้องขึ้นมำหำยใจเหนือน้ำบ่อยๆ
  • 8. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 8. 26. ในขณะที่เรำหำยใจเข้ำ ข้อใดกล่ำวถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกะบังลมกับกระดูกซี่โครงได้ถูกต้อง 1. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง 2. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น 3. กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง 4. กะบังลมเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น 27. หำกไตทำงำนผิดปกติ จะสำมำรถสังเกตได้จำกสิ่งใด 1. เหงื่อ 2. อุจจำระ 3. ปัสสำวะ 4. ลมหำยใจออก 28. หำกเด็กหญิงคนหนึ่งมีรังไข่ผิดปกติ จะส่งผลต่อร่ำงกำยอย่ำงไร 1. ร่ำงกำยไม่เจริญเติบโต 2. มีลักษณะเหมือนผู้ชำย 3. พัฒนำกำรทำงเพศผิดปกติ 4. ทำให้เกิดโรคมะเร็งในรังไข่ 29. แฝดอิน – จัน แฝดสยำมคู่แรกของโลก เป็นกำรเกิดแฝดในกรณีใด 1. แฝดต่ำงไข่ 2. แฝดร่วมไข่ 3. อำจเป็นแฝดต่ำงไข่ หรือแฝดร่วมไข่ 4. เป็นแฝดที่เกิดจำกวิธีกำรทำงกำรแพทย์ 30. เพรำะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงมีกำรแสดงพฤติกรรม 1. เพื่อปรับตัวเข้ำกับสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อแสดงออกถึงควำมต้องกำร 3. เพื่อตอบสนองต่อสังคมที่อำศัยอยู่ 4. เพื่อควำมอยู่รอดและดำรงเผ่ำพันธุ์ 31. เทคโนโลยีชีวภำพมีประโยชน์อย่ำงไร 1. ช่วยประหยัดต้นทุนกำรผลิตสัตว์ 2. ช่วยทำให้ได้สัตว์สำยพันธุ์ตำมต้องกำร 3. ลดระยะเวลำในกำรเจริญเติบโตของสัตว์ 4. สำมำรถทำได้ง่ำย โดยไม่ต้องใช้ควำมเชี่ยวชำญ 32. ข้อควำมใดที่กล่ำวเกี่ยวกับกำรใช้พลังงำนจำกสำรอำหำรได้ถูกต้องที่สุด 1. ขณะนอนหลับร่ำงกำยจะไม่ใช้พลังงำนที่ได้จำกสำรอำหำร 2. ในกำรทำกิจกรรมชนิดเดียวกัน ผู้หญิงกับผู้ชำยจะใช้พลังงำนต่ำงกัน 3. ในกำรทำกิจกรรมชนิดเดียวกัน ผู้ที่มีน้ำหนักน้อยจะใช้พลังงำนมำกกว่ำผู้ที่มีน้ำหนักมำก 4. ขณะเล่นกีฬำผู้ชำยจะใช้พลังงำนมำกกว่ำผู้หญิง แต่ในขณะทำงำนเบำๆ ผู้หญิงจะใช้พลังงำนมำกกว่ำผู้ชำย 33. เพื่อส่งเสริมให้ร่ำงกำยเจริญเติบโตอย่ำงสมวัย วัยรุ่นควรรับประทำนอำหำรชนิดใดมำกที่สุด 1. ข้ำว เนื้อสัตว์ 2. เนย ผักใบเขียว 3. ไข่ มะเขือเทศ 4. น้ำมันพืช ถั่วเหลือง
  • 9. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 9. 34. ข้อใดเป็นสำเหตุสำคัญที่สุด ที่ทำให้เด็กในวัยเรียนรับประทำนอำหำรไม่ครบ 5 หมู่ 1. กำรรับประทำนอำหำรนอกบ้ำน 2. กำรรับประทำนอำหำรไม่เป็นเวลำ 3. กำรรับประทำนอำหำรไม่อิ่มเพรำะเร่งรีบ 4. กำรเลือกรับประทำนอำหำรเฉพำะที่ตนเองชอบ 35. นักเรียนควรเลือกรับประทำนอำหำรชนิดใดต่อไปนี้ จึงจะมีชนิดสำรอำหำรมำกที่สุด หำกอำหำร ทั้งหมดนี้มีรำคำเท่ำกัน 1. ขนมครก 2. ปำท่องโก๋ 3. กล้วยบวชชี 4. นมถั่วเหลือง 36. กำรสังเกตว่ำบุคคลใดติดสำรเสพติดนั้น วิธีใดที่ให้ผลแน่นอนที่สุด 1. สังเกตจำกบุคคลใกล้ชิด 2. สังเกตจำกพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป 3. สังเกตจำกสุขภำพร่ำงกำยของผู้เสพ 4. สังเกตจำกผลกำรตรวจเลือดและปัสสำวะ 37. ข้อใดกล่ำวถึงธำตุได้ถูกต้อง 1. ธำตุทุกชนิดสำมำรถนำไฟฟ้ำ 2. ธำตุแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ โลหะ และอโลหะ 3. โซเดียมคลอไรด์และโพแทสเซียมออกไซด์เป็นธำตุ 4. ไม่สำมำรถทำให้ธำตุแตกตัวเป็นสำรเดี่ยวหลำยชนิดได้ 38. ข้อใดเป็นสมบัติทำงกำยภำพของสำร 1. สี กำรลุกติดไฟ 2. สถำนะ จุดเดือด 3. กลิ่น ควำมเป็นกรด-เบส 4. จุดหลอมเหลว กำรสลำยตัว 39. เพรำะเหตุใดภำชนะหุงต้มที่ใช้ประกอบอำหำรจึงทำด้วยโลหะ 1. มีผิวมันวำว 2. นำไฟฟ้ำได้ดี 3. นำควำมร้อนได้ดี 4. ตีแผ่เป็นรูปทรงต่ำงๆ ได้ง่ำย 40. สำรที่เหมำะสมจะนำมำแยกโดยกำรกลั่นแบบไอน้ำ ควรมีสมบัติตำมข้อใด 1. ไม่ละลำยน้ำ จุดเดือดสูง 2. ไม่ละลำยน้ำ จุดเดือดต่ำ 3. ละลำยน้ำได้ดี จุดเดือดสูง 4. ละลำยน้ำได้ดี จุดเดือดต่ำ
  • 10. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 10. 41. กำรแยกสำรบริสุทธิ์ด้วยวิธีโครมำโทกรำฟีอำศัยหลักกำรใด 1. ควำมแตกต่ำงของกำรถูกดูดซับ 2. ควำมแตกต่ำงของสำรในกำรละลำย 3. ควำมแตกต่ำงของสำรที่ใช้เป็นตัวทำละลำย 4. ควำมแตกต่ำงของสำรในกำรละลำยและกำรถูกดูดซับ 42. จำกกำรนำสำร 2 ชนิด มำผสมกัน ดังตำรำงที่กำหนดให้ ข้อใดเป็นปฏิกิริยำคำยควำมร้อน ข้อ สารที่ผสม อุณหภูมิของสาร (o C) ก่อนผสม หลังผสม 1. A+B 27 28 2. C+D 29 29 3. E+F 29 28 4. G+H 26 25 43. พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้ แล้วตอบคำถำม ก. เติมตัวเร่งปฏิกิริยำ ข. ให้ควำมร้อนแก่ปฏิกิริยำ ค. บดหรือหั่นสำรตั้งต้นให้มีขนำดเล็กลง ง. เพิ่มปริมำณของสำรตั้งต้นโดยกำรเติมน้ำกลั่น จ. เลือกสำรตั้งต้นที่มีคุณสมบัติเหมำะสมในกำรใช้งำน ข้อใดเป็นกำรเร่งอัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำเคมี 1. ก. ข. ค. 2. ก. ข. จ. 3. ก. ข. ค. ง. 4. ก. ข. ค. จ. 44. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อกำรเกิดปฏิกิริยำเคมี 1. อุณหภูมิที่สูงขึ้น จะทำให้เกิดปฏิกิริยำเคมีได้เร็ว 2. กำรเพิ่มพื้นที่ผิวของสำร จะช่วยให้ปฏิกิริยำเคมีเกิดช้ำลง 3. สำรตั้งต้นที่มีควำมเข้มข้นมำก จะทำให้เกิดปฏิกิริยำเคมีได้อย่ำงรวดเร็ว 4. สมบัติของสำรตั้งต้นที่เป็นสำรไวไฟ จะทำให้ปฏิกิริยำเคมีเกิดได้เร็วขึ้น 45. ข้อใดเป็นควำมหมำยของคำว่ำ “ทรัพยำกรธรรมชำติ” 1. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ 2. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ หรือบำงส่วนที่มนุษย์สร้ำงขึ้น 3. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ แต่มนุษย์ไม่สำมำรถนำมำใช้ประโยชน์ 4. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ และมีประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทำงตรงและทำงอ้อม
  • 11. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 11. 46. จำกข้อควำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ก. ฝนกรด ข. กำรเกิดหินงอกหินย้อย ค. ปรำกฏกำรณ์เรือนกระจก ง. น้ำเน่ำเสียจำกกำรทิ้งสำรอินทรีย์ ข้อใดเป็นผลกระทบของปฏิกิริยำเคมีที่เป็นอันตรำยต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. ก. ข. 2. ข. ค. 3. ก. ข. ค. 4. ก. ค. ง. 47. จำกข้อควำมที่กำหดให้ต่อไปนี้ ก. สำรสังเครำะห์สำมำรถเกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติได้ ข. สำรสังเครำะห์ คือ กำรลอกเลียนแบบสำรจำกธรรมชำติ ค. สำรสังเครำะห์มีประสิทธิภำพมำกกว่ำสำรจำกธรรมชำติ ง. สำรจำกธรรมชำติมีพิษหรืออันตรำยมำกกว่ำสำรสังเครำะห์ ข้อใดกล่ำวถึงสำรสังเครำะห์ได้ถูกต้อง 1. ก. ข. 2. ข. ค. 3. ก. ค. 4. ก. ง. 48. กำรถ่ำยทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจำกรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง หมำยถึงข้อใด 1. พันธุกรรม 2. พันธุศำสตร์ 3. พันธุวิศวกรรม 4. โรคทำงพันธุกรรม 49. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทำงพันธุกรรม 1. สีผิว 2. ลักยิ้ม 3. ชั้นตำ 4. แผลเป็น 50. เมื่อมองเซลล์ผ่ำนกล้องจุลทรรศน์ในขณะที่มีกำรแบ่งเซลล์จะพบโครงสร้ำงใด 1. โครมำทิด 2. โครมำทิน 3. โครโมโซม 4. เซนโทรเมียร์ 51. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับโครโมโซมของมนุษย์ 1. เป็นออโตโซม 22 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่ 2. เป็นออโตโซม 23 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่ 3. เป็นออโตโซม 45 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่ 4. เป็นออโตโซม 46 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่ 52. กำรที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีหลำยสำยพันธุ์ จัดเป็นควำมหลำกหลำยทำงใด 1. ควำมหลำกหลำยทำงกำยภำพ 2. ควำมหลำกหลำยทำงชนิดพันธุ์ 3. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม 4. ควำมหลำกหลำยทำงระบบนิเวศ
  • 12. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 12. 53. มนุษย์ยุคปัจจุบันมีชื่อวิทยำศำสตร์ว่ำอะไร 1. Homo sapiens 2. Homo erectus 3. Homo sapiens idaltu 4. Homo neanderthalensis 54. กำรจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตตำมแนวคิดของรอเบิร์ต วิตเทเกอร์ แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นกี่อำณำจักร 1. 4 อำณำจักร 2. 5 อำณำจักร 3. 6 อำณำจักร 4. 7 อำณำจักร 55. แพรวำจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ฟองน้ำ แมงกะพรุน หอย และหมึก 2) ปลำหำงนกยูง โลมำ ไก่ และสุนัข แพรวำใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ในกำรจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต 1. แหล่งที่อยู่ 2. แหล่งกำเนิด 3. ลักษณะลำตัว 4. กระดูกสันหลัง 56. ระบบนิเวศประกอบด้วยโครงสร้ำงใดบ้ำง 1. กลุ่มสิ่งมีชีวิตเพียงอย่ำงเดียว 2. กลุ่มสิ่งมีชีวิต และแหล่งที่อยู่ 3. กลุ่มสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม 4. กลุ่มสิ่งมีชีวิต แหล่งที่อยู่และสิ่งแวดล้อม 57. สิ่งมีชีวิตในข้อใดแสดงบทบำทต่ำงจำกสิ่งมีชีวิตในข้ออื่น 1. มอส 2. ชวนชม 3. เห็ดนำงฟ้ำ 4. สำหร่ำยหำงกระรอก 58. “ไลเคน” เป็นกำรอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่มีควำมสัมพันธ์กันแบบใด 1. ภำวะแข่งขัน 2. ภำวะล่ำเหยื่อ 3. ภำวะอิงอำศัย 4. ภำวะพึ่งพำกัน 59. “หนอน นก หญ้ำ งู” พบในระบบนิเวศแห่งหนึ่ง จะเขียนควำมสัมพันธ์ในรูปโซ่อำหำรได้อย่ำงไร 1. หญ้ำ ⟶ หนอน ⟶ งู ⟶ นก 2. หญ้ำ ⟶ หนอน ⟶ นก ⟶ งู 3. หญ้ำ ⟶ นก ⟶ หนอน ⟶ งู 4. หญ้ำ ⟶ งู ⟶ นก ⟶ หนอน 60. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรคำร์บอน 1. กำรคำยน้ำของพืช 2. กำรหำยใจของสิ่งมีชีวิต 3. กำรสังเครำะห์ด้วยแสงของพืช 4. กำรย่อยสลำยซำกพืช ซำกสัตว์
  • 13. ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ O-Net วิทยาศาสตร์ ม.3 13. 61. วัฏจักรสำรใดที่จะเกิดขึ้นได้สมบูรณ์ต้องอำศัยจุลินทรีย์ 1. น้ำ 2. คำร์บอน 3. ไนโตรเจน 4. ฟอสฟอรัส 62. ปัจจัยใดบ้ำงที่มีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงขนำดของประชำกร 1. อัตรำกำรเกิดเท่ำนั้น 2. อัตรำกำรตำยเท่ำนั้น 3. อัตรำกำรเกิด อัตรำกำรตำย และอัตรำกำรอพยพเข้ำ 4. อัตรำกำรเกิด อัตรำกำรตำย อัตรำกำรอพยพเข้ำ และอัตรำกำรอพยพออก 63. ระบบนิเวศที่สมดุลหมำยถึงข้อใด 1. บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตหลำกหลำยชนิดมำอยู่รวมกัน 2. บริเวณที่มีสิ่งแวดล้อมทั้งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิตจำนวนเท่ำๆ กัน 3. บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตอำศัยอยู่ และมีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะต่ำงๆ 4. บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลำยในปริมำณ สัดส่วน และกำรกระจำยที่เหมำะสม 64. ข้อใดอธิบำยควำมหมำยของคำว่ำ “สิ่งแวดล้อม” ได้ถูกต้องที่สุด 1. สิ่งต่ำงๆ ที่อยู่รอบตัวเรำ 2. สิ่งต่ำงๆ ที่มีควำมเหมำะสมต่อมนุษย์ 3. ทุกสิ่งที่ประกอบกันเป็นโลกและสภำพแวดล้อมที่เกี่ยวกับป่ำไม้ดิน น้ำ อำกำศ 4. ทุกสิ่งทุกอย่ำงที่อยู่รอบตัวเรำทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ทั้งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติและที่ มนุษย์สร้ำงขึ้น 65. สำเหตุสำคัญที่สุดของปัญหำวิกฤตกำรณ์ด้ำนสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติคือข้อใด 1. กำรเพิ่มขึ้นของประชำกร 2. กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจ 3. ภัยธรรมชำติและอุบัติเหตุ 4. ควำมเจริญทำงด้ำนเทคโนโลยี 66. ตัวกำรสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหำวิกฤตกำรณ์ด้ำนสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติคือข้อใด 1. มนุษย์ 2. นักกำรเมือง 3. ภัยธรรมชำติ 4. ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยี 67. กำรแก้ปัญหำสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดคือข้อใด 1. กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ 2. ลดปริมำณกำรใช้น้ำมันเชื้อเพลิง 3. ให้กำรศึกษำด้ำนสิ่งแวดล้อมแก่ประชำชน 4. กำหนดบทลงโทษอย่ำงจริงจังเกี่ยวกับกำรทำลำยสิ่งแวดล้อม