SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 80
Descargar para leer sin conexión
1. 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนจุดเน้น 
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา 
เรื่อง “กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเสริมสร้างทักษะการ แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” 
ผู้นาเสนอผลงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
2. 
คานา 
ตามหนังสือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 (ด่วนมาก) เลขที่ ศธ 04231/ พิเศษ 384 ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2557 เรื่อง การจัดทา CD ROM นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ ขับเคลื่อนจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนด จุดเน้นด้านคุณภาพผู้เรียน และโรงเรียนได้รายงานคุณภาพผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์ทุกภาคเรียนตั้งแต่ปี การศึกษา 2554 ถึงปัจจุบัน นั้นในการนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะจัดทาคลังข้อมูลการ จัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อเผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ด้วยเหตุนี้ กระผมจึงได้ส่งผลงาน เรื่อง “กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเสริมสร้างทักษะการแสวงหา ความรู้เพื่อการแก้ปัญหาของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” เข้าร่วม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ในด้านการ แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา พร้อมกับจัดทารายงานฉบับนี้ขึ้นประกอบอันจะเป็นแนวทางในการ ประยุกต์ใช้ กระบวนการและวิธีการดาเนินงานที่มีความชัดเจนของนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ผู้นาเสนอหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นระโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษา ของประเทศชาติเพื่อยกระดับคุณภาพเยาวชนอันจะเป็นพลังสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าอย่าง ยั่งยืนในอนาคตสืบไป 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
3. 
สารบัญ 
หน้า 
ปก 
คานา 
สารบัญ 
กิตติกรรมประกาศ 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
คาอธิบายรายวิชา 
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัด 
โครงสร้างรายวิชา 
แบบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ 
แบบประเมินเจตคติวิทยาศาสตร์ 
แบบประเมินการสอนโดยผู้เรียน 
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรม 
แบบประเมินการทางานกลุ่มหน้าชั้นเรียน 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานชีวิทยา 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา 
ตัวอย่างรายงานโครงงานชีววิทยาของนักเรียน 
สื่อประกอบการเรียนรู้แบบ Power Point 
เว็ปไซต์ประกอบเนื้อหาบทเรียน เรื่อง บทนาทางชีววิทยา 
ภาพบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ 
ประวัติผู้นาเสนอนวัตกรรม
4. 
กิตติกรรมประกาศ 
เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้จะไม่สบประความสาเร็จได้เลยถ้าขาดการเปิด โอกาสจากโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ อีกทั้งการอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าน ผู้อานวยการโรงเรียนนายสกุล ทองเอียด, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารวิชาการและกิจการนักเรียนนาง ศุภธิวรรณ นุชาหาญ, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารงบประมาณและทั่วไปนางสาวชนางรักษ์ มั่นนุช และ นายธันวา ชัยวณิชย์ หัวหน้ากลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ได้สนับสนุนการดาเนินงานด้านต่างๆ เป็นอย่างดีมา โดยตลอด 
ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ทุกท่านที่ได้ช่วยเหลือแนะนาการทางานด้านต่างๆ ทาให้ เกิดการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์การทางาน จนสามารถจัดทาเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทาง วิชาการครั้งนี้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น และขอขอบใจนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนที่ได้ร่วม แรงร่วมใจในการเข้าร่วมกิจกรรมจนประสบผลแห่งความสาเร็จอย่างงดงาม 
ขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานที่ได้กาหนดให้มีการจัดทาคลังข้อมูลการจัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อ เผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ซึ่งทาให้ผู้จัดทาได้รับโอกาสเข้าร่วมการนาเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาครั้งนี้ 
หากเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจศึกษาหาความรู้ทั่วไป ขอมอบคุณงามความดีอันพึงมีในครั้งนี้แด่ครอบครัว ครูบาอาจารย์และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้อบรมเลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ตางๆ แด่ผู้จัดทาจนทา ให้ผู้จัดทามีความรู้ความสามารถที่จะดาเนินงานในครั้งนี้เป็นผลสาเร็จ 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
5. 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) รหัส ว 31104 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
ครูผู้สอน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 
กระทรวงศึกษาธิการ
6. 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
รหัสวิชา ว 31104 รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน 
............................................................................................................................................................... 
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : 
แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 
2. คู่มือครูวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
7. 
คาอธิบายรายวิชา วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 
รหัสวิชา ว 31104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับไบโอม ความหลายหลากของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ การ 
ถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ มนุษย์กับ 
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงสร้างของเซลล์ กล้องจุลทรรศน์ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ กลไก 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซม และสาร 
พันธุกรรม การแบ่งเซลล์ โครโมโซมกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทาง 
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ 
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม 
ตัวชี้วัด 
ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2 , ว 1.1 ม.4/3 , ว 1.1 ม.4/4 
ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 
ว 2.1 ม.4/1 , ว 2.1 ม.4/2 , ว 2.1 ม.4/3 
ว 2.2 ม.4/1 , ว 2.2 ม.4/2 , ว 2.2 ม.4/3 
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , 
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 
รวม 26 ตัวชี้วัด
8. 
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ว 31104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
มฐ. 
ตัวชี้วัด 
คาสาคัญ (Keyword) 
ความรู้ 
ทักษะ/กระบวนการ 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ว 2.1 
ม.4-6/1 อธิบายดุลยภาพของระบบ นิเวศ 
ม.4-6/2 อธิบายกระบวนการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต 
ม.4-6/3 อธิบายความสาคัญของความ หลากหลายทางชีวภาพและเสนอแนะ แนวทางในการดูแลและรักษา 
- ไบโอม 
- ความหลายหลากของ ระบบนิเวศ 
- ความสัมพันธ์ในระบบ นิเวศ 
- การถ่ายทอดพลังงานและ การหมุนเวียนสารในระบบ นิเวศ 
- การสารวจตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ว 2.2 
ม.4-6/1 วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลก 
ม.4-6/2 อภิปรายแนวทางในการ ป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ 
ม.4-6/3 วางแผนและดาเนินการเฝ้า ระวัง อนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ 
- การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ของระบบนิเวศ 
- มนุษย์กับ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 
- การนาความรู้ไปใช้ 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มีวินัย 
ว 1.1 
ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษา ดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 
ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการ รักษาดุลยภาพของน้าในพืช 
ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอธิบาย กลไกการควบคุมดุลยภาพของน้า แร่ ธาตุและอุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์ อื่นๆและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
ม.4-6/4 อธิบายเกี่ยวกับระบบ ภูมิคุ้มกันของร่างกายและนาความรู้ไป ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ 
- โครงสร้างของเซลล์ 
- กล้องจุลทรรศน์ 
- การลาเลียงสารผ่านเซลล์ 
- กลไกการรักษาดุลยภาพ ของสิ่งมีชีวิต 
- ภูมิคุ้มกันของร่างกาย 
- การสืบค้นข้อมูล 
- มีวินัย 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มุ่งมั่นการทางาน
9. 
ว 1.2 
ม.4-6/1 อธิบายกระบวนถ่ายทอดสาร พันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความ หลากหลายทางชีวภาพ 
ม.4-6/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผล ของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 
ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผล ของความหลากหลายทางชีวภาพที่มี ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 
ม.4-6/4 อธิบายกระบวนการคัดเลือก ตามธรรมชาติและผลของการคัดเลือก ตามธรรมชาติต่อความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต 
- ลักษณะทางพันธุกรรม 
- โครโมโซมและสาร 
พันธุกรรม 
- การแบ่งเซลล์ 
- โครโมโซมกับการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม 
- การถ่ายทอดลักษณะทาง 
พันธุกรรม 
- การเปลี่ยนแปลงทาง พันธุกรรม 
- เทคโนโลยีชีวภาพ 
- ความหลากหลายทาง ชีวภาพ 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การตั้งคาถาม 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ว 8.1 
ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐาน ของความรู้และความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์หรือความสนใจหรือจาก ประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้นที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษา ค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือ ได้ 
- การสืบค้นข้อมูล 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การตั้งคาถาม 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎี รองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือ สร้างแบบจาลองหรือสร้างรูปแบบเพื่อ นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ 
-การสร้างสมมติฐาน 
- การตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการ สารวจตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความ เชื่อมั่นอย่างเพียงพอ 
- การสืบค้นข้อมูล 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การรวบรวมข้มูล 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจ ตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้าง และลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ 
- การสังเกต 
-สารวจตรวจสอบ 
- การออกแบบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ใฝ่เรียนรู้
10. 
มฐ. 
ตัวชี้วัด 
คาสาคัญ (Keyword) 
ความรู้ 
ทักษะ/กระบวนการ 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ว 8.1 
ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผล การสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ ถูกต้องครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดยตรวจสอบความ เป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความ ผิดพลาดของข้อมูล 
- การรวบรวมข้อมูล 
- การบันทึก 
- สารวจตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูลโดยคานึงถึง การรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับ ความถุกต้องและนาเสนอข้อมูลด้วย เทคนิควิธีที่เหมาะสม 
- การจัดกระทาข้อมูล 
- การรายงานผล 
- การออกแบบ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปล ความหมายข้อมูลและประเมินความ สอดคล้องของข้อสรุป หรือ สาระสาคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ 
- การวิเคราะห์ 
- การแปลความหมาย 
- การสารวจตรวจสอบ 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของ วิธีการและผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความคาดเคลื่อนของการ วัดและการสังเกต เสนอแนะ การ ปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ 
- การสังเกต 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การสรุปผล 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/9 นาผลการสารวจตรวจสอบที่ ได้ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไป สร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณ์ใหม่และชีวิตจริง 
- การนาไปใช้ 
- การกาหนดปัญหา 
- การแก้ปัญหา 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญใน การที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการ อธิบาย การลงความเห็น และการ สรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความ ถูกต้อง 
- การอธิบาย 
- การลงข้อสรุป 
- การนาเสนอ 
- การสื่อสาร 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต
11. 
มฐ. 
ตัวชี้วัด 
คาสาคัญ (Keyword) 
ความรู้ 
ทักษะ/กระบวนการ 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ว 8.1 
ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการ สารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้ พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้า เพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่ เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้เดิม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจากเดิมซึ่งท้าทายให้มีการ ตรวจสอบอย่างระมัดระวังอันจะ นาไปสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่ 
- การบันทึก 
- การอธิบาย 
- การสารวจตรวจสอบ 
- การสืบค้นข้อมูล 
- การวิเคราะห์ 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียน รายงานและ/หรืออธิบายเกี่ยวกับ แนวคิด กระบวนการและผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 
- การอธิบาย 
- การสื่อสารข้อมูล 
- มุ่งมั่นการทางาน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้
12. 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) รหัส ว 31104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต 
หน่วย ที่ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
สาระที่/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 
สาระแกนกลาง 
เวลา (ชั่วโมง) 
น้าหนัก คะแนน 
1 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นาความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 
ตัวชี้วัด 
1. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการเปลี่ยนแปลง แทนที่ของสิ่งมีชีวิตและความสาคัญของความหลากหลายของ ระบบนิเวศโลกและเสนอแนะแนวทางในการดูแลรักษา 
2. วิเคราะห์และอภิปรายสภาพปัญหา สาเหตุและแนวทางใน การป้องกันแก้ไขของปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับ โลก 
1. ระบบนิเวศในธรรมชาติจะมีความ สมดุลได้ก็ต่อเมื่อมีสภาพแวดล้อมต่างๆที่ เอื้ออานวยต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ชนิดต่างๆ ในระบบนิเวศจนทาให้เกิด ความหลากหลายของระบบนิเวศบนโลก 
2. ระบบนิเวศในโลกที่มีความหลากหลาย มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นอยู่ ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากมนุษย์เป็นผู้กระทา การ เปลี่ยนแปลงเหล่านี้อาจส่งผให้ระบบนิเวศ เสียสมดุลได้ 
3. ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมหรือระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกัน มี ความสัมพันธ์กันหลายระดับตั้งแต่ระดับ ท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลก 
4. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆที่มีอยู่ อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความ ระมัดระวังและไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม 
30 
40
13. 
หน่วย ที่ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
สาระที่/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 
สาระสาคัญ 
เวลา (ชั่วโมง) 
น้าหนัก คะแนน 
2 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต 
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความมรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต 
ตัวชี้วัด 
3. อธิบาย สืบค้นข้อมูลและทดลองเกี่ยวกับการรักษาดุลย ภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กลไกการรักษาดุลยภาพของน้าใน พืช กลไกการควบคุมดุลยภาพของน้า แร่ธาตุ และอุณภูมิของ มนุษย์และสัตว์อื่นๆ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์และระบบ ภูมิคุ้มกันของร่างกายและนาความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษา 
1. สารต่างๆ เคลื่อนที่ผ่านเข้าและออกจาก เซลล์ตลอดเวลา เซลล์จึงต้องมีการรักษา ดุลยภาพเพื่อให้ร่างกายของสิ่งมีชีวิต ดารงชีวิตได้ตามปกติ 
2. พืชมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้า โดยมีการควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้า ผ่านปากใบและการดูดน้าที่ราก 
3. ไตเป็นอวัยวะสาคัญในการรักษาดุลยภาพ ของน้าและสารต่างๆ ในร่างกายซึ่งมี โครงสร้างและการทางานร่วมกับอวัยวะอื่น 
4. ร่างกายมนุษย์มีภูมิคุ้มกันซึ่งเป็นกลไกใน การป้องกันเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ร่างกาย 
15 
20 
3 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทาง ชีวภาพ 
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต 
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
ตัวชี้วัด 
4. อธิบายสืบค้นข้อมูลและอภิปรายลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซมและสารพันธุกรรม การแบ่งเซลล์ โครโมโซมกับการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ และความหลากหลายทางชีวภาพ 
1. สิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมจากพ่อแม่มาสู่รุ่นลูกหลานได้ซึ่ง สังเกตได้จากลักษณะที่ปรากฏ 
2. มนุษย์นาความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านพันธุวิศวกรรม การโคลนและการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาใช้ในการพัฒนาให้เกิด ความก้าวหน้าในด้านต่างๆมากขึ้นและ แพร่หลาย 
3. โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศซึ่ง มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่มากมายหลายสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันก็ยังมีความ หลากหลายทางพันธุกรรม 
4. สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีความ หลากหลายที่แตกต่างกันสิ่งมีชีวิตใน สปีชีส์ เดียวกันจะผสมพันธุ์และสืบลูกหลานต่อไป ได้ 
15 
20
14. 
คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
ลาดับที่ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 
จุดเน้น 
ทักษะ/กระบวนการ 
1 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
ว 2.1 ม.4-6/1-3 
ว 2.2 ม.4-6/1-3 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 
- ทดลอง 
- อธิบาย 
- สืบค้นข้อมูล 
- นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูล 
- การสารวจ 
- การตั้งคาถาม 
- การสร้างสมมติฐาน 
- การตรวจสอบ 
- การรวบรวมข้อมูล 
- การสังเกต 
- การออกแบบ 
- การบันทึก 
- การจัดกระทาข้อมูล 
- การรายงานผล 
- การวิเคราะห์ 
- การแปลความหมาย 
- การกาหนดปัญหา 
- การแก้ปัญหา 
- การนาเสนอ 
- การสื่อสาร 
- การสรุปผล 
2 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 
ว 1.1 ม.4-6/1-4 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 
3 
การถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมและ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ 
ว 1.2 ม.4-6/1-4 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
- ทักษะชีวิต 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม
15. 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 
หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รหัสวิชา/รายวิชา ว 31241/ชีววิทยา 1 ชั้น ม. 4 เวลาเรียน 10 ชั่วโมง 
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
******************************************************************************************* 
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 
สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต 
มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไป ใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง : สามารถอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการ ศึกษาชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง 
สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง : สามารถบอกส่วนประกอบและประเถทของกล้องจุลทรรศน์พร้อมประยุกต์ใช้ใน การศึกษาทางด้านชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง 
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
มาตรฐาน ว.8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน 
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ 
ข้อที่ 1 อธิบายลักษณะของสิ่งมีชีวิต ความหมายของชีววิทยา ชีววิทยากับการดารงชีวิต ชีวจ ริยธรรมและกระบวนการศึกษาทางชีววิทยา 
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
2.1 อธิบายลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต ความหมายและกระบวนการศึกษาของวิชาชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง 
2.2 ศึกษาหาความรู้ด้านชีววิทยาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาโครงงาน ได้อย่างถูกต้อง 
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของชีววิทยากับการดารงชีวิตของมนุษย์และชีวจริยธรรมบนแนวทางพระราชดาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
16. 
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ 
- ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย 
1) มีโครงสร้างและหน้าที่อย่างเป็นระบบ 2) มีการรักษาสมดุลในร่างกาย 
3) มีการปรับตัว 4) มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 
5) มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง 6) มีความต้องการพลังงาน 
7) มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น 8) มีปฏิสัมพันธ์ 
- ชีววิทยา หมายถึง การศึกษาความคิดของคนที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต หรือวิชาที่ว่าด้วยความคิดของคนเกี่ยวกับ สิ่งมีชีวิตอย่างมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 
- กระบวนการศึกษาที่ใช้ในการศึกษาชีววิทยา (กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) ได้แก่ 
1) กาหนดปัญหา 
2) ตั้งสมมติฐาน : คาตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดของปัญหา 
3) ตรวจสอบสมมติฐาน : กาหนดตัวแปร, ทาการทดลอง 
4) แปลและวิเคราะห์ข้อมูล : การบรรยายลักษณะของข้อมูลที่ได้ 
5) สรุปผล: การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาสรุปว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ 
- โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นงานการศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่และสิ่งประดิษฐ์ใหม่ด้วยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์โดยครูเป็นผู้แนะนาให้คาปรึกษา โครงงานวิทยาศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดได้อย่าง อิสระและช่วยพัฒนาความเชื่อมั่นในการนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 
- ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัว ที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและ การดาเนินการทุกขั้นตอน 
4. สาระการเรียนรู้ 
ความรู้ (K) อธิบายลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต ความหมายและกระบวนการศึกษาของวิชาชีววิทยา 
ทักษะ / กระบวนการ (P) ศึกษาหาความรู้ด้านชีววิทยาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยอาศัย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาโครงงาน 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของชีววิทยากับการดารงชีวิตของมนุษย์และ ชีวจริยธรรมบนแนวทางพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 
5. สมรรถนะ 
การคิด ,การสื่อสาร, การแก้ปัญหา,การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี 
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ 
สมุดบันทึก ,ใบงาน, โครงงาน และMind map
17. 
7. การวัดและประเมินผล 
รายการประเมิน 
วิธีวัดผล 
เครื่องมือวัดผล 
เกณฑ์การประเมินผล 
1. สมุดบันทึกการเรียนการ สอนประจาบทเรียน 
2. ใบงานแบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจา บทเรียน 
4. แบบบันทึกการทากิจกรรม โครงงาน 
1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 
2. ตรวจใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจาบทเรียน 
4. ตรวจแบบบันทึกการทา กิจกรรมโครงงาน 
1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอนประจาบทเรียน จริง 
2. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยใบงานแบบฝึกหัดประจา บทเรียน 
3. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 
4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมโครงงาน 
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงามของการจด บันทึก 
2. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 80% 
3. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 50% 
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหาการบันทึก ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงามของ การจดบันทึก 
8. กิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นที่ 1 เตรียมครู 
- ครูศึกษาหลักสูตรแกนกลาง สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการศึกษาสิ่งมีชีวิตโดยใช้กระบวนการทาโครงงานบูรณาการกับแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
- ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับสาระ/มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการศึกษาสิ่งมีชีวิตโดยใช้กระบวนการทาโครงงาน บูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
- ครูทาแบบประเมินตนเองโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจการเป็นผู้ อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ของครู 
ขั้นที่ 2 สารวจชุมชนหาแรงบันดาลใจ 
- ครูให้ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นกับนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต กระบวน การศึกษาทางด้านวิทาศาสตร์ กระบวนการทาโครงงานและแนวพระราชดาริเศรษฐกิจ พอเพียง 
- ครูเปิดสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง กระบวนการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อจุดประกายความคิด และสร้างแรงบันดาลใจในการทาโครงงาน 
- ครูมอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อออกกทาการสารวจชุมชนและจด บันทึกสิ่งที่สังเกตได้ วิเคราะห์และสรุป พร้อมกับออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนๆ
18. 
ขั้นที่ 3 ระดมความคิด 
- หลังจากนาเสนอสิ่งที่ได้จากการสารวจเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายสิ่ง ที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมในมุมมองต่างๆ โดยครูเป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษาและกระตุ้นให้ นักเรียนสนใจและเกิดการตั้งคาถามอย่างต่อเนื่อง จนสรุปเป็นสิ่งที่นักเรียนในกลุ่มสนใจ ร่วมกันโดยบูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ขั้นที่ 4 วิเคราะห์จาแนกแยกแยะข้อมูลที่ถูกต้อง 
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทา Mind map เชื่อมโยงความรู้จากสิ่งที่นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน สรุปเป็นสิ่งที่สนใจร่วมกันเพื่อให้นักเรียนมองเห็นการบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆในการศึกษา ทางด้านชีววิทยาจากสิ่งที่อยู่ในชุมชนโดยบูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ขั้นที่ 5 ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน 
- ครูอธิบายเน้นยาถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาหาความรู้ในสิ่งที่สงสัยอยากรู้โดย บูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพร้อมแจก แบบฟอร์มการเขียนรายงานโครงงานเพื่อให้การศึกษาของนักเรียนแต่ละกลุ่มมีระบบขั้นตอน อย่างชัดเจน 
ขั้นที่ 6 ลงมือปฏิบัติ (PDCA) 
- หาข้อมูล/ทดลอง/สร้างชิ้นงาน : ให้นักเรียนออกแบบวางแผนการทาโครงงานด้วยตนเองโดย ครูเป็นผู้ตรวจสอบให้คาแนะนาอย่างเหมาะสม พร้อมกับติดตามความก้าวหน้าจากการลงมือ ปฏิบัติของนักเรียน ทั้งโครงงานเชิงทดลอง โครงงานเชิงสารวจ โครงงานทฤษฎีและโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ อีกทั้งให้คาแนะนาต่างๆเกี่ยวกับผลการทาโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่าง ต่อเนื่อง 
- เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญและของจริง : ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่ง เรียนรู้เพิ่มเติมต่างๆในชุมชน เช่น ปราญช์ชาวบ้าน ห้องสมุดในโรงเรียน ห้องสืบค้น ครู เฉพาะทางในโรงเรียน ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นต้น เพื่อนามาอ้างอิงและอธิบายสิ่งที่สงสัยให้ เกิดความเข้าใจเพิ่มขึ้น 
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ครูแนะนาให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มโครงงานประชุมกลุ่มย่อยเพื่อวิเคราะห์ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้เพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้ต่างๆมาสรุปเป็นคาตอบของปัญหาที่สิ่งที่ สงสัยอยากรู้ในโครงงาน 
ขั้นที่ 7 สรุปข้อมูล 
- ครูจัดให้มีการนาเสนอผลการทาโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้เป็นการขยายขอบเขตองค์ความรู้และมุมมองของนักเรียนแต่ละคนจากประสบการณ์ที่ ลงมือปฏิบัติจริง
19. 
- ครูมีหน้าที่ควบบคุมบริหารจัดการให้กระบวนการนาเสนอโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มมี ความต่อเนื่องและตรงประเด็นสาคัญตามหัวข้อโดยบูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจ พอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ขั้นที่ 8 ต่อยอดองค์ความรู้ 
- หลังจากที่นักเรียนทุกกลุ่มนาเสนอโครงงานเรียบร้อยแล้ว ครูจะตั้งคาถามให้นักเรียนคิดต่อว่า 
จากโครงงานที่นักเรียนได้ทามาแล้วนั้นสามารถนาไปใช้ศึกษาต่อเรื่องต่างๆได้อย่างไร หรือ 
นักเรียนอยากจะเรียนรู้อะไรเพิ่มเติมจากโครงงานที่ได้ทามาแล้ว พร้อมให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกมานาเสนอแลกเปลี่ยนกันหน้าชั้นเรียน โดยครูเป็นผู้ทาหน้าที่ให้คาแนะนาปรึกษาอย่าง เหมาะสม พร้อมกับกระตุ้นให้นักเรียนทาการศึกษาต่อไปซึ่งเป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (ชีววิทยา) เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ 
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
9.5 ห้องสืบค้นความรู้ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
20. 
Toolkit for 21st Century 
วิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (Biology) 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (โปรแกรมการเรียนวิทย์-คณิต) 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
21. 
สาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ 
สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต 
มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไป ใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต 
ผลการเรียนรู้: สามารถอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการศึกษาชีววิทยา ได้อย่างถูกต้อง 
สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
ผลการเรียนรู้: สามารถบอกส่วนประกอบและประเถทของกล้องจุลทรรศน์พร้อมประยุกต์ใช้ในการศึกษา ทางด้านชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง 
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
มาตรฐาน ว.8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
22. 
ขั้นตอนการสารวจชุมชนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 
แบบสอบถาม 
คาถามนา 
นักเรียนคิดคาถาม 
คาตอบที่ได้ 
ใคร 
ทาอะไร 
ที่ไหน 
กับใคร 
เมื่อไร 
ทาไม 
อย่างไร 
คู่มือนักสารวจ 
สถานที่.............................................................................................................วันที่............................................. 
วัตถุประสงค์ของการสารวจในครั้งนี้ คือ .............................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
เลือกวิธีการในการสารวจชุมชน 
วิธีการ 
เลือก 
รายละเอียดที่จะสารวจ 
สิ่งที่ต้องเตรียม 
สังเกตและจดบันทึก 
วาดภาพหรือถ่ายภาพ บริเวณพื้นที่ที่สารวจ 
ระบุรายละเอียด 
พูดคุยกับคนในชุมชน 
อื่นๆ (ระบุ) …………………………………
23. 
บันทึกสิ่งที่สารวจพบโดยการวาดภาพ 
บันทึกความรู้ 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
..............................................................................................................................................................................
24. 
ผังมโนภาพจากสิ่งที่นักเรียนสนใจ
25. 
ตารางสรุปความคิดของตนเอง 
หัวข้อ 
สิ่งที่รู้แล้ว 
สิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม 
วิธีการเรียนรู้ 
ตารางบันทึกการระดมความคิดเห็นของกลุ่ม 
ชื่อนักเรียน 
ความคิดเห็น 
เหตุผล
26. 
ตารางบันทึกการออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน 
กิจกรรม 
ความคิด นักเรียน 
ความคิดครู 
สรุปการเรียนรู้ ร่วมกัน 
จุดประสงค์การ เรียนรู้ 
การประเมินผล KPA 
แบบประเมินตนเอง 
สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ทาได้ดี 
ส่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไข สิ่งที่ด้องเรียนรู้เพิ่มเติม
27. 
เค้าโครงโครงงาน 
1. ชื่อโครงงาน 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
2. คณะผู้ทาโครงงาน 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
5. จุดมุ่งหมาย 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
6. สมมติฐานของการศึกษา 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
..............................................................................................................................................................................
28. 
7. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
- แผนปฏิบัติงาน 
ขั้นตอนในการทา โครงงาน 
ระยะเวลาในการทาโครงงาน 
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
9. เอกสารอ้างอิง 
.............................................................................................................................................................................. 
..............................................................................................................................................................................
29. 
ตารางบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้และการต่อยอดองค์ความรู้ 
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ 
การต่อยอดองค์ความรู้ 
ผังมโนภาพจากสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้
30. 
บรรณานุกรม 
กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ. 2551. 
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.), คู่มือ TOOLKIT FOR 21st CENTURY. กรุงเทพ. 2556. 
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน : ชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนที่แน้นวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2553. 
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม : ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2554. 
ดร.กิตติศักดิ์ แป้นงามและคณะ, เรียนสนุก สอนสบาย (PCRS Learning Model). นครนายก. 2555. 
รศ. ดร.สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี, หนังสือโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยศึกษา, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : บริษัท ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2537.
31. 
แบบประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 
คาชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้มีทัง้ หมด 15 ข้อ โปรดอ่านข้อความในแต่ละข้อ แล้วพิจารณา 
แสดงความคิดเห็นที่มีต่อข้อความนั้นด้วยการทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของผู้เรียน ข้อความสอบถาม ระดับความคิดเห็น คะแนน ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง ค่อนข้างไม่ เห็นด้วย เห็นด้วย ปานกลาง ค่อนข้าง เห็นด้วย เห็นด้วย อย่างยิ่ง 
1. ข้าพเจ้ามีความสุขเมื่อได้ทดลองวิทยาศาสตร์ 
2. ข้าพเจ้าอยากเรียนวิชาอื่นแทนวิชา วิทยาศาสตร์ 
3. วิทยาศาสตร์ทาให้คนเรามีเหตุผล 
4. เรียนวิชาวิทยาศาสตร์แล้วไม่สามารถ 
นาไปใช้พัฒนาตนเองได้ 
5. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เรียนสนุก 
6. วิทยาศาสตร์ไม่ช่วยให้เรียนวิชาอื่นๆได้ดีขึ้น 
7. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าสนใจ 
8. ในชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตร์แต่ละ 
ครั้งข้าพเจ้าต้องการให้หมดไปเร็ว ๆ 
9. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่มนุษย์นาไป 
พัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า 
10.วิทยาศาสตร์จะทาให้มนุษย์เกิดความเครียด เพราะต้องขบคิดปัญหาตลอดเวลา 
11.วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเรียนกว่าวิชาอื่น 
12. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเบื่อ 
13. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรให้เวลามากกว่านี้ 
14. ข้าพเจ้ารู้สึกกังวลมากเมื่อเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ 
15. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ช่วยให้สังคมก้าวหน้า 
ข้อเสนอแนะ 
...................................................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................................................... 
ขอบใจนักเรียนทุกคนที่ตอบแบบประเมินนี้ตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ ในการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ต่อไป
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
Wichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
Wichai Likitponrak
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
Wichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
Wichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
Aroonswat
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
Wichai Likitponrak
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
Krupol Phato
 

La actualidad más candente (20)

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 

Similar a รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
Pew Juthiporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
Wareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
Mam Chongruk
 

Similar a รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 

Más de Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

Más de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา

  • 1. 1. รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา เรื่อง “กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเสริมสร้างทักษะการ แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” ผู้นาเสนอผลงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2. คานา ตามหนังสือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 (ด่วนมาก) เลขที่ ศธ 04231/ พิเศษ 384 ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2557 เรื่อง การจัดทา CD ROM นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ ขับเคลื่อนจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนด จุดเน้นด้านคุณภาพผู้เรียน และโรงเรียนได้รายงานคุณภาพผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์ทุกภาคเรียนตั้งแต่ปี การศึกษา 2554 ถึงปัจจุบัน นั้นในการนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะจัดทาคลังข้อมูลการ จัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อเผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ด้วยเหตุนี้ กระผมจึงได้ส่งผลงาน เรื่อง “กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเสริมสร้างทักษะการแสวงหา ความรู้เพื่อการแก้ปัญหาของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” เข้าร่วม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ในด้านการ แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา พร้อมกับจัดทารายงานฉบับนี้ขึ้นประกอบอันจะเป็นแนวทางในการ ประยุกต์ใช้ กระบวนการและวิธีการดาเนินงานที่มีความชัดเจนของนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ผู้นาเสนอหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นระโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษา ของประเทศชาติเพื่อยกระดับคุณภาพเยาวชนอันจะเป็นพลังสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าอย่าง ยั่งยืนในอนาคตสืบไป นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
  • 3. 3. สารบัญ หน้า ปก คานา สารบัญ กิตติกรรมประกาศ แผนการจัดการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัด โครงสร้างรายวิชา แบบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ แบบประเมินเจตคติวิทยาศาสตร์ แบบประเมินการสอนโดยผู้เรียน แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรม แบบประเมินการทางานกลุ่มหน้าชั้นเรียน แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานชีวิทยา แบบฟอร์มรายงานโครงงานชีววิทยา ตัวอย่างรายงานโครงงานชีววิทยาของนักเรียน สื่อประกอบการเรียนรู้แบบ Power Point เว็ปไซต์ประกอบเนื้อหาบทเรียน เรื่อง บทนาทางชีววิทยา ภาพบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ ประวัติผู้นาเสนอนวัตกรรม
  • 4. 4. กิตติกรรมประกาศ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้จะไม่สบประความสาเร็จได้เลยถ้าขาดการเปิด โอกาสจากโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ อีกทั้งการอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าน ผู้อานวยการโรงเรียนนายสกุล ทองเอียด, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารวิชาการและกิจการนักเรียนนาง ศุภธิวรรณ นุชาหาญ, ท่านรองผู้อานวยการสานักบริหารงบประมาณและทั่วไปนางสาวชนางรักษ์ มั่นนุช และ นายธันวา ชัยวณิชย์ หัวหน้ากลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ได้สนับสนุนการดาเนินงานด้านต่างๆ เป็นอย่างดีมา โดยตลอด ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ทุกท่านที่ได้ช่วยเหลือแนะนาการทางานด้านต่างๆ ทาให้ เกิดการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์การทางาน จนสามารถจัดทาเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทาง วิชาการครั้งนี้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น และขอขอบใจนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนที่ได้ร่วม แรงร่วมใจในการเข้าร่วมกิจกรรมจนประสบผลแห่งความสาเร็จอย่างงดงาม ขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานที่ได้กาหนดให้มีการจัดทาคลังข้อมูลการจัดการความรู้ ผลของการดาเนินงานตามจุดเน้นแต่ละด้านเพื่อ เผยแพร่ให้กับโรงเรียนอื่นๆได้นาไปจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างยั่งยืนต่อไป ซึ่งทาให้ผู้จัดทาได้รับโอกาสเข้าร่วมการนาเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาครั้งนี้ หากเอกสารประกอบการนาเสนอผลงานทางวิชาการฉบับนี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจศึกษาหาความรู้ทั่วไป ขอมอบคุณงามความดีอันพึงมีในครั้งนี้แด่ครอบครัว ครูบาอาจารย์และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้อบรมเลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ตางๆ แด่ผู้จัดทาจนทา ให้ผู้จัดทามีความรู้ความสามารถที่จะดาเนินงานในครั้งนี้เป็นผลสาเร็จ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
  • 5. 5. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) รหัส ว 31104 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 6. 6. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 รหัสวิชา ว 31104 รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 2. คู่มือครูวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 7. 7. คาอธิบายรายวิชา วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) รหัสวิชา ว 31104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับไบโอม ความหลายหลากของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ การ ถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ มนุษย์กับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงสร้างของเซลล์ กล้องจุลทรรศน์ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ กลไก การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซม และสาร พันธุกรรม การแบ่งเซลล์ โครโมโซมกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2 , ว 1.1 ม.4/3 , ว 1.1 ม.4/4 ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 ว 2.1 ม.4/1 , ว 2.1 ม.4/2 , ว 2.1 ม.4/3 ว 2.2 ม.4/1 , ว 2.2 ม.4/2 , ว 2.2 ม.4/3 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 26 ตัวชี้วัด
  • 8. 8. แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ว 31104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 2.1 ม.4-6/1 อธิบายดุลยภาพของระบบ นิเวศ ม.4-6/2 อธิบายกระบวนการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต ม.4-6/3 อธิบายความสาคัญของความ หลากหลายทางชีวภาพและเสนอแนะ แนวทางในการดูแลและรักษา - ไบโอม - ความหลายหลากของ ระบบนิเวศ - ความสัมพันธ์ในระบบ นิเวศ - การถ่ายทอดพลังงานและ การหมุนเวียนสารในระบบ นิเวศ - การสารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ว 2.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลก ม.4-6/2 อภิปรายแนวทางในการ ป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ม.4-6/3 วางแผนและดาเนินการเฝ้า ระวัง อนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ - การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ของระบบนิเวศ - มนุษย์กับ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - การนาความรู้ไปใช้ - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษา ดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการ รักษาดุลยภาพของน้าในพืช ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอธิบาย กลไกการควบคุมดุลยภาพของน้า แร่ ธาตุและอุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์ อื่นๆและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ม.4-6/4 อธิบายเกี่ยวกับระบบ ภูมิคุ้มกันของร่างกายและนาความรู้ไป ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ - โครงสร้างของเซลล์ - กล้องจุลทรรศน์ - การลาเลียงสารผ่านเซลล์ - กลไกการรักษาดุลยภาพ ของสิ่งมีชีวิต - ภูมิคุ้มกันของร่างกาย - การสืบค้นข้อมูล - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นการทางาน
  • 9. 9. ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนถ่ายทอดสาร พันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความ หลากหลายทางชีวภาพ ม.4-6/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผล ของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผล ของความหลากหลายทางชีวภาพที่มี ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ม.4-6/4 อธิบายกระบวนการคัดเลือก ตามธรรมชาติและผลของการคัดเลือก ตามธรรมชาติต่อความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต - ลักษณะทางพันธุกรรม - โครโมโซมและสาร พันธุกรรม - การแบ่งเซลล์ - โครโมโซมกับการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม - การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม - การเปลี่ยนแปลงทาง พันธุกรรม - เทคโนโลยีชีวภาพ - ความหลากหลายทาง ชีวภาพ - การสารวจตรวจสอบ - การตั้งคาถาม - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐาน ของความรู้และความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์หรือความสนใจหรือจาก ประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้นที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษา ค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือ ได้ - การสืบค้นข้อมูล - การสารวจตรวจสอบ - การตั้งคาถาม - มุ่งมั่นการทางาน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎี รองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือ สร้างแบบจาลองหรือสร้างรูปแบบเพื่อ นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ -การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - มุ่งมั่นการทางาน - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการ สารวจตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความ เชื่อมั่นอย่างเพียงพอ - การสืบค้นข้อมูล - การสารวจตรวจสอบ - การรวบรวมข้มูล - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจ ตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งทางกว้าง และลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ - การสังเกต -สารวจตรวจสอบ - การออกแบบ - มุ่งมั่นการทางาน - ใฝ่เรียนรู้
  • 10. 10. มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผล การสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ ถูกต้องครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดยตรวจสอบความ เป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความ ผิดพลาดของข้อมูล - การรวบรวมข้อมูล - การบันทึก - สารวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นการทางาน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูลโดยคานึงถึง การรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับ ความถุกต้องและนาเสนอข้อมูลด้วย เทคนิควิธีที่เหมาะสม - การจัดกระทาข้อมูล - การรายงานผล - การออกแบบ - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปล ความหมายข้อมูลและประเมินความ สอดคล้องของข้อสรุป หรือ สาระสาคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ - การวิเคราะห์ - การแปลความหมาย - การสารวจตรวจสอบ - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของ วิธีการและผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความคาดเคลื่อนของการ วัดและการสังเกต เสนอแนะ การ ปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ - การสังเกต - การสารวจตรวจสอบ - การสรุปผล - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/9 นาผลการสารวจตรวจสอบที่ ได้ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไป สร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณ์ใหม่และชีวิตจริง - การนาไปใช้ - การกาหนดปัญหา - การแก้ปัญหา - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญใน การที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการ อธิบาย การลงความเห็น และการ สรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความ ถูกต้อง - การอธิบาย - การลงข้อสรุป - การนาเสนอ - การสื่อสาร - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต
  • 11. 11. มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการ สารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้ พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้า เพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่ เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้เดิม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจากเดิมซึ่งท้าทายให้มีการ ตรวจสอบอย่างระมัดระวังอันจะ นาไปสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่ - การบันทึก - การอธิบาย - การสารวจตรวจสอบ - การสืบค้นข้อมูล - การวิเคราะห์ - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียน รายงานและ/หรืออธิบายเกี่ยวกับ แนวคิด กระบวนการและผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ - การอธิบาย - การสื่อสารข้อมูล - มุ่งมั่นการทางาน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้
  • 12. 12. โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) รหัส ว 31104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระที่/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นาความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด 1. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการเปลี่ยนแปลง แทนที่ของสิ่งมีชีวิตและความสาคัญของความหลากหลายของ ระบบนิเวศโลกและเสนอแนะแนวทางในการดูแลรักษา 2. วิเคราะห์และอภิปรายสภาพปัญหา สาเหตุและแนวทางใน การป้องกันแก้ไขของปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับ โลก 1. ระบบนิเวศในธรรมชาติจะมีความ สมดุลได้ก็ต่อเมื่อมีสภาพแวดล้อมต่างๆที่ เอื้ออานวยต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ชนิดต่างๆ ในระบบนิเวศจนทาให้เกิด ความหลากหลายของระบบนิเวศบนโลก 2. ระบบนิเวศในโลกที่มีความหลากหลาย มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นอยู่ ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากมนุษย์เป็นผู้กระทา การ เปลี่ยนแปลงเหล่านี้อาจส่งผให้ระบบนิเวศ เสียสมดุลได้ 3. ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมหรือระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกัน มี ความสัมพันธ์กันหลายระดับตั้งแต่ระดับ ท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลก 4. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆที่มีอยู่ อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความ ระมัดระวังและไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม 30 40
  • 13. 13. หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระที่/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความมรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ตัวชี้วัด 3. อธิบาย สืบค้นข้อมูลและทดลองเกี่ยวกับการรักษาดุลย ภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กลไกการรักษาดุลยภาพของน้าใน พืช กลไกการควบคุมดุลยภาพของน้า แร่ธาตุ และอุณภูมิของ มนุษย์และสัตว์อื่นๆ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์และระบบ ภูมิคุ้มกันของร่างกายและนาความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษา 1. สารต่างๆ เคลื่อนที่ผ่านเข้าและออกจาก เซลล์ตลอดเวลา เซลล์จึงต้องมีการรักษา ดุลยภาพเพื่อให้ร่างกายของสิ่งมีชีวิต ดารงชีวิตได้ตามปกติ 2. พืชมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้า โดยมีการควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้า ผ่านปากใบและการดูดน้าที่ราก 3. ไตเป็นอวัยวะสาคัญในการรักษาดุลยภาพ ของน้าและสารต่างๆ ในร่างกายซึ่งมี โครงสร้างและการทางานร่วมกับอวัยวะอื่น 4. ร่างกายมนุษย์มีภูมิคุ้มกันซึ่งเป็นกลไกใน การป้องกันเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ร่างกาย 15 20 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทาง ชีวภาพ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 4. อธิบายสืบค้นข้อมูลและอภิปรายลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซมและสารพันธุกรรม การแบ่งเซลล์ โครโมโซมกับการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ และความหลากหลายทางชีวภาพ 1. สิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมจากพ่อแม่มาสู่รุ่นลูกหลานได้ซึ่ง สังเกตได้จากลักษณะที่ปรากฏ 2. มนุษย์นาความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านพันธุวิศวกรรม การโคลนและการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาใช้ในการพัฒนาให้เกิด ความก้าวหน้าในด้านต่างๆมากขึ้นและ แพร่หลาย 3. โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศซึ่ง มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่มากมายหลายสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันก็ยังมีความ หลากหลายทางพันธุกรรม 4. สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีความ หลากหลายที่แตกต่างกันสิ่งมีชีวิตใน สปีชีส์ เดียวกันจะผสมพันธุ์และสืบลูกหลานต่อไป ได้ 15 20
  • 14. 14. คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ว 2.1 ม.4-6/1-3 ว 2.2 ม.4-6/1-3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ สภาพปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน กาหนด ทางเลือกวิธีการขั้นตอนที่นามาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ผลดีที่สุด - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม - ทดลอง - อธิบาย - สืบค้นข้อมูล - นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูล - การสารวจ - การตั้งคาถาม - การสร้างสมมติฐาน - การตรวจสอบ - การรวบรวมข้อมูล - การสังเกต - การออกแบบ - การบันทึก - การจัดกระทาข้อมูล - การรายงานผล - การวิเคราะห์ - การแปลความหมาย - การกาหนดปัญหา - การแก้ปัญหา - การนาเสนอ - การสื่อสาร - การสรุปผล 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ว 1.1 ม.4-6/1-4 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม 3 การถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมและ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ว 1.2 ม.4-6/1-4 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สารสนเทศนาเสนองานและใช้ คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสานึกและ วัฒนธรรม
  • 15. 15. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา/รายวิชา ว 31241/ชีววิทยา 1 ชั้น ม. 4 เวลาเรียน 10 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไป ใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง : สามารถอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการ ศึกษาชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง : สามารถบอกส่วนประกอบและประเถทของกล้องจุลทรรศน์พร้อมประยุกต์ใช้ใน การศึกษาทางด้านชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว.8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ข้อที่ 1 อธิบายลักษณะของสิ่งมีชีวิต ความหมายของชีววิทยา ชีววิทยากับการดารงชีวิต ชีวจ ริยธรรมและกระบวนการศึกษาทางชีววิทยา 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต ความหมายและกระบวนการศึกษาของวิชาชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง 2.2 ศึกษาหาความรู้ด้านชีววิทยาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาโครงงาน ได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของชีววิทยากับการดารงชีวิตของมนุษย์และชีวจริยธรรมบนแนวทางพระราชดาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 16. 16. 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย 1) มีโครงสร้างและหน้าที่อย่างเป็นระบบ 2) มีการรักษาสมดุลในร่างกาย 3) มีการปรับตัว 4) มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 5) มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง 6) มีความต้องการพลังงาน 7) มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น 8) มีปฏิสัมพันธ์ - ชีววิทยา หมายถึง การศึกษาความคิดของคนที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต หรือวิชาที่ว่าด้วยความคิดของคนเกี่ยวกับ สิ่งมีชีวิตอย่างมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ - กระบวนการศึกษาที่ใช้ในการศึกษาชีววิทยา (กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) ได้แก่ 1) กาหนดปัญหา 2) ตั้งสมมติฐาน : คาตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดของปัญหา 3) ตรวจสอบสมมติฐาน : กาหนดตัวแปร, ทาการทดลอง 4) แปลและวิเคราะห์ข้อมูล : การบรรยายลักษณะของข้อมูลที่ได้ 5) สรุปผล: การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาสรุปว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ - โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นงานการศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่และสิ่งประดิษฐ์ใหม่ด้วยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์โดยครูเป็นผู้แนะนาให้คาปรึกษา โครงงานวิทยาศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดได้อย่าง อิสระและช่วยพัฒนาความเชื่อมั่นในการนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ - ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัว ที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและ การดาเนินการทุกขั้นตอน 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต ความหมายและกระบวนการศึกษาของวิชาชีววิทยา ทักษะ / กระบวนการ (P) ศึกษาหาความรู้ด้านชีววิทยาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยอาศัย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาโครงงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของชีววิทยากับการดารงชีวิตของมนุษย์และ ชีวจริยธรรมบนแนวทางพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. สมรรถนะ การคิด ,การสื่อสาร, การแก้ปัญหา,การใช้ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน, โครงงาน และMind map
  • 17. 17. 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียนการ สอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. แบบบันทึกการทากิจกรรม โครงงาน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจาบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการทา กิจกรรมโครงงาน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอนประจาบทเรียน จริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยใบงานแบบฝึกหัดประจา บทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับคา เฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมโครงงาน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงามของการจด บันทึก 2. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 80% 3. ความถูกต้องของคาตอบ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหาการบันทึก ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงามของ การจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 เตรียมครู - ครูศึกษาหลักสูตรแกนกลาง สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการศึกษาสิ่งมีชีวิตโดยใช้กระบวนการทาโครงงานบูรณาการกับแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับสาระ/มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการศึกษาสิ่งมีชีวิตโดยใช้กระบวนการทาโครงงาน บูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - ครูทาแบบประเมินตนเองโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจการเป็นผู้ อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ของครู ขั้นที่ 2 สารวจชุมชนหาแรงบันดาลใจ - ครูให้ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นกับนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต กระบวน การศึกษาทางด้านวิทาศาสตร์ กระบวนการทาโครงงานและแนวพระราชดาริเศรษฐกิจ พอเพียง - ครูเปิดสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง กระบวนการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อจุดประกายความคิด และสร้างแรงบันดาลใจในการทาโครงงาน - ครูมอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อออกกทาการสารวจชุมชนและจด บันทึกสิ่งที่สังเกตได้ วิเคราะห์และสรุป พร้อมกับออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนๆ
  • 18. 18. ขั้นที่ 3 ระดมความคิด - หลังจากนาเสนอสิ่งที่ได้จากการสารวจเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายสิ่ง ที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมในมุมมองต่างๆ โดยครูเป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษาและกระตุ้นให้ นักเรียนสนใจและเกิดการตั้งคาถามอย่างต่อเนื่อง จนสรุปเป็นสิ่งที่นักเรียนในกลุ่มสนใจ ร่วมกันโดยบูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขั้นที่ 4 วิเคราะห์จาแนกแยกแยะข้อมูลที่ถูกต้อง - ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทา Mind map เชื่อมโยงความรู้จากสิ่งที่นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน สรุปเป็นสิ่งที่สนใจร่วมกันเพื่อให้นักเรียนมองเห็นการบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆในการศึกษา ทางด้านชีววิทยาจากสิ่งที่อยู่ในชุมชนโดยบูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขั้นที่ 5 ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน - ครูอธิบายเน้นยาถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาหาความรู้ในสิ่งที่สงสัยอยากรู้โดย บูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพร้อมแจก แบบฟอร์มการเขียนรายงานโครงงานเพื่อให้การศึกษาของนักเรียนแต่ละกลุ่มมีระบบขั้นตอน อย่างชัดเจน ขั้นที่ 6 ลงมือปฏิบัติ (PDCA) - หาข้อมูล/ทดลอง/สร้างชิ้นงาน : ให้นักเรียนออกแบบวางแผนการทาโครงงานด้วยตนเองโดย ครูเป็นผู้ตรวจสอบให้คาแนะนาอย่างเหมาะสม พร้อมกับติดตามความก้าวหน้าจากการลงมือ ปฏิบัติของนักเรียน ทั้งโครงงานเชิงทดลอง โครงงานเชิงสารวจ โครงงานทฤษฎีและโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ อีกทั้งให้คาแนะนาต่างๆเกี่ยวกับผลการทาโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่าง ต่อเนื่อง - เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญและของจริง : ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่ง เรียนรู้เพิ่มเติมต่างๆในชุมชน เช่น ปราญช์ชาวบ้าน ห้องสมุดในโรงเรียน ห้องสืบค้น ครู เฉพาะทางในโรงเรียน ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นต้น เพื่อนามาอ้างอิงและอธิบายสิ่งที่สงสัยให้ เกิดความเข้าใจเพิ่มขึ้น - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ครูแนะนาให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มโครงงานประชุมกลุ่มย่อยเพื่อวิเคราะห์ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้เพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้ต่างๆมาสรุปเป็นคาตอบของปัญหาที่สิ่งที่ สงสัยอยากรู้ในโครงงาน ขั้นที่ 7 สรุปข้อมูล - ครูจัดให้มีการนาเสนอผลการทาโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้เป็นการขยายขอบเขตองค์ความรู้และมุมมองของนักเรียนแต่ละคนจากประสบการณ์ที่ ลงมือปฏิบัติจริง
  • 19. 19. - ครูมีหน้าที่ควบบคุมบริหารจัดการให้กระบวนการนาเสนอโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มมี ความต่อเนื่องและตรงประเด็นสาคัญตามหัวข้อโดยบูรณาการกับแนวพระราชดาริเศรษฐกิจ พอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขั้นที่ 8 ต่อยอดองค์ความรู้ - หลังจากที่นักเรียนทุกกลุ่มนาเสนอโครงงานเรียบร้อยแล้ว ครูจะตั้งคาถามให้นักเรียนคิดต่อว่า จากโครงงานที่นักเรียนได้ทามาแล้วนั้นสามารถนาไปใช้ศึกษาต่อเรื่องต่างๆได้อย่างไร หรือ นักเรียนอยากจะเรียนรู้อะไรเพิ่มเติมจากโครงงานที่ได้ทามาแล้ว พร้อมให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกมานาเสนอแลกเปลี่ยนกันหน้าชั้นเรียน โดยครูเป็นผู้ทาหน้าที่ให้คาแนะนาปรึกษาอย่าง เหมาะสม พร้อมกับกระตุ้นให้นักเรียนทาการศึกษาต่อไปซึ่งเป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (ชีววิทยา) เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท.กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้นความรู้ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 20. 20. Toolkit for 21st Century วิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (Biology) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (โปรแกรมการเรียนวิทย์-คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
  • 21. 21. สาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไป ใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้: สามารถอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการศึกษาชีววิทยา ได้อย่างถูกต้อง สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้: สามารถบอกส่วนประกอบและประเถทของกล้องจุลทรรศน์พร้อมประยุกต์ใช้ในการศึกษา ทางด้านชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว.8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
  • 22. 22. ขั้นตอนการสารวจชุมชนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ แบบสอบถาม คาถามนา นักเรียนคิดคาถาม คาตอบที่ได้ ใคร ทาอะไร ที่ไหน กับใคร เมื่อไร ทาไม อย่างไร คู่มือนักสารวจ สถานที่.............................................................................................................วันที่............................................. วัตถุประสงค์ของการสารวจในครั้งนี้ คือ .............................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เลือกวิธีการในการสารวจชุมชน วิธีการ เลือก รายละเอียดที่จะสารวจ สิ่งที่ต้องเตรียม สังเกตและจดบันทึก วาดภาพหรือถ่ายภาพ บริเวณพื้นที่ที่สารวจ ระบุรายละเอียด พูดคุยกับคนในชุมชน อื่นๆ (ระบุ) …………………………………
  • 23. 23. บันทึกสิ่งที่สารวจพบโดยการวาดภาพ บันทึกความรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 25. 25. ตารางสรุปความคิดของตนเอง หัวข้อ สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม วิธีการเรียนรู้ ตารางบันทึกการระดมความคิดเห็นของกลุ่ม ชื่อนักเรียน ความคิดเห็น เหตุผล
  • 26. 26. ตารางบันทึกการออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน กิจกรรม ความคิด นักเรียน ความคิดครู สรุปการเรียนรู้ ร่วมกัน จุดประสงค์การ เรียนรู้ การประเมินผล KPA แบบประเมินตนเอง สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ทาได้ดี ส่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไข สิ่งที่ด้องเรียนรู้เพิ่มเติม
  • 27. 27. เค้าโครงโครงงาน 1. ชื่อโครงงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. คณะผู้ทาโครงงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จุดมุ่งหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. สมมติฐานของการศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 28. 28. 7. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการทา โครงงาน ระยะเวลาในการทาโครงงาน 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 9. เอกสารอ้างอิง .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 29. 29. ตารางบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้และการต่อยอดองค์ความรู้ สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ การต่อยอดองค์ความรู้ ผังมโนภาพจากสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้
  • 30. 30. บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ. 2551. สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.), คู่มือ TOOLKIT FOR 21st CENTURY. กรุงเทพ. 2556. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน : ชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนที่แน้นวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2553. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม : ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2554. ดร.กิตติศักดิ์ แป้นงามและคณะ, เรียนสนุก สอนสบาย (PCRS Learning Model). นครนายก. 2555. รศ. ดร.สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี, หนังสือโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยศึกษา, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : บริษัท ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2537.
  • 31. 31. แบบประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ คาชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้มีทัง้ หมด 15 ข้อ โปรดอ่านข้อความในแต่ละข้อ แล้วพิจารณา แสดงความคิดเห็นที่มีต่อข้อความนั้นด้วยการทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของผู้เรียน ข้อความสอบถาม ระดับความคิดเห็น คะแนน ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง ค่อนข้างไม่ เห็นด้วย เห็นด้วย ปานกลาง ค่อนข้าง เห็นด้วย เห็นด้วย อย่างยิ่ง 1. ข้าพเจ้ามีความสุขเมื่อได้ทดลองวิทยาศาสตร์ 2. ข้าพเจ้าอยากเรียนวิชาอื่นแทนวิชา วิทยาศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ทาให้คนเรามีเหตุผล 4. เรียนวิชาวิทยาศาสตร์แล้วไม่สามารถ นาไปใช้พัฒนาตนเองได้ 5. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เรียนสนุก 6. วิทยาศาสตร์ไม่ช่วยให้เรียนวิชาอื่นๆได้ดีขึ้น 7. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าสนใจ 8. ในชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตร์แต่ละ ครั้งข้าพเจ้าต้องการให้หมดไปเร็ว ๆ 9. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่มนุษย์นาไป พัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า 10.วิทยาศาสตร์จะทาให้มนุษย์เกิดความเครียด เพราะต้องขบคิดปัญหาตลอดเวลา 11.วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเรียนกว่าวิชาอื่น 12. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเบื่อ 13. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรให้เวลามากกว่านี้ 14. ข้าพเจ้ารู้สึกกังวลมากเมื่อเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ 15. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ช่วยให้สังคมก้าวหน้า ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ขอบใจนักเรียนทุกคนที่ตอบแบบประเมินนี้ตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ ในการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ต่อไป