SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
มหาเวสสันดร
กัณฑ์มัทรี
ชาดก
หน้า ๓๐-๓๕
เมื่อพระนางมัทรี เสด็จกลับถึงพระอาศรม ไม่ทรงเห็นลูกทั้งสองจึง
ตามหา เมื่อหาลูกไม่พบก็อ้อนวอนถาม พระเวสสันดร ถึงลูกทั้งสองว่าลูกได้
หายไปไหนแต่พระเวสสันดร ก็ไม่ทรงตอบ และทรงแกล้งกล่าวตาหนิที่พระ
นางทรงกลับมืดค่าให้พระนางเจ็บพระทัย จะได้คลายทุกข์โศก ไม่คิดถึงเรื่องที่
ลูกหายตัวไป แต่นางก็ได้อภิปรายกับเหตุการณ์ต่างๆว่าทาไมถึงได้กลับมาช้า
แก่พระเวสสันดร พออภิปรายเสร็จนางก็ไก้ทูลถามถึงลูกอีกแต่พระเวสสันดร
ก็ไม่ทรงตอบ แม้พระนางจะทรงอ้อนวอนสักเท่าใดก็ไม่ทรงตอบ จนพระนาง
น้อยพระทัย ทรงออกติดตามพระโอรสพระธิดาทั้งคืน นางมัทรีได้ออกตามหา
ลูกไปทั่วทุกหนแห่ง เห็นสิ่งใดก็นึกถึงแต่ลูก
สถานที่ต่างๆที่ลูกเคยเล่นก็เหมือนยังเห็นภาพลูกของตนเล่นอยู่ตรงนั้น
เมื่อนางมัทรีหาลูกไปเรื่อยๆแต่ก็ยังไม่พบนางจึงกลับไปถามพระเวสสันดร แต่
พระเวสสันดรก็ยังนิ่งเฉย ไม่ตรัสประการใดๆ นางมันทรีจึงได้เฝ้าตามหาลูก
ต่อไปจนหมดสติต่อหน้าพระเวสสันดร เมื่อพระเวสสันดรทรงตรวจดูพระนาง
มัทรี ทาให้พระนางมันทรีฟื้นแล้ว จึงทรงบอกความจริงว่าได้ประทานพระโอรส
พระธิดาให้ชูชกไปแล้ว ทรงขอให้พระนางอนุโมทนากับทานบารมีของพระองค์
ด้วย อันจะส่งผลให้พระองค์เสด็จสู่พระสัมมาสัมโพธิญาณ พระนางมัทรี เมื่อทรง
ทราบความจริงก็ทรงบรรเทาโศก และทรงอนุโมทนาต่อบุตรทานครั้งนี้ อานิสงค์
ของทานครั้งนี้ เมื่อเกิดในโลกหน้าจะเป็นผู้มั่งคั่งสมบูรณ์ไปด้วยทรัพย์สมบัติ มี
อายุยืน รูปโฉมงามและมีแต่ความสุข
อาราม หมายถึง พะวงที่จาทาการใดๆด้วยความรีบร้อน
น่าหลากใจ หมายถึง น่าประหลาดใจ
ไม่มีเนตร หมายถึง ไม่มีเลยที่ตาจะเห็นได้ในที่นี้หมายความว่า “อกของใครจะ อาภัพยับ
พิกลเหมือนอกของมัทรีไม่มีเนตร”
ปริภาษณา หมายถึง บริภาษ กล่าวโทษ
เกล้ากระหม่อมฉาน หมายถึง เกล้ากระหม่อนฉัน
พื้นที่ปริมณฑล หมายถึง พื้นที่โดยรอบ ในที่นี้หมายถึง อาณาบริเวณ
ระแนง หมายถึง เรียงราย ในความว่า “ดั่งบุคคลเอาแก้วมาระแนง”
แกล้ง หมายถึง ตั้งใจ
เมิล หมายถึง มองดู
ซับทราบ หมายถึง ทราบ
กัมปนาท หมายถึง ดังก้อง
สันดาน หมายถึง ความต่อเนื่อง ในที่นี้หมายถึง ลมหายใจ ชีวิต ในความว่า “เพียงพะสันดานจะ
ขาดจะดับสูญ”
ประถมยาม หมายถึง ปฐมยาม แปลว่า ยามแรก กาหนดนับตั้งแต่ ๑๘ นาฬิกา (หกโมงเย็น) ถึง ๒๒
นาฬิกา ( ๔ ทุ่ม) ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น๓ ยาม ยามหนึ่งมี ๔ ชั่วโมง เรียกว่า
ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม
ปัจจุสมัย หมายถึง เวลาเช้ามืด
หิมเวศ หมายถึง ป่าหิมพานต์ มาจากคาว่า หิมวา ซึ่งใช้ศ เข้าลิลิต
ห่วงสารสาร หมายถึง ห่วงแห่งความรัก
ระหวย หมายถึง ระโหย อิดโรยเพราะหิว
ศิโรเพฐน์ หมายถึง ผ้าโพกศีรษะ ในที่นี้หมายถึง ศีรษะ “บ่ายศิโรเพฐน์” คือ เอนศรีษะลง
วิสัญญี หมายถึง สลบ
หน้าฉาน หมายถึง หน้าที่นั่ง ในที่นี้หมายถึงตรงหน้าพระอาศรมที่พระเวสสันดรประทับอยู่
พระคันธกุฎี หมายถึง ชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า
กฤดาภินิหาร หมายถึง บุญอันยิ่งที่ทาไว้
สัตพิธรัตน์ หมายถึง แก้ว ๗ ประการ ได้แก่ ทอง เงิน มุกดาหาร ทับทิม ไพฑูรย์เพชร และแก้ว
ประพาฬ
ทานพาหิรกะ หมายถึง ทานภายนอก ได้แก่ ข้าวของต่างๆ
มังสัง หมายถึง คือมังสะ แปลว่าเนื้อ
ยุบลสาร หมายถึง ข่าว
นุสนธิ์ หมายถึง มาจากคาว่า อนุสนธิ์ แปลว่า ความต่อเนื่อง การสืบเนื่อง ใน ที่นี้ หมายถึง
ความเป็นมา
สาธุการ หมายถึง การเปล่งวาจาชื่นชมเมื่อเห็นว่ากระทาสมควรแล้ว
ดาวดึงส์ หมายถึง แปลว่า ๓๓ เป็นชื่อสวรรค์ที่มีเทพชั้นผู้ใหญ่ ๓๓ องค์โดยมีพระอินทร์เป็น
หัวหน้า เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งฉกามาพจร (สวรรค์ ๖ ชั้นฟ้า)
รามํ สีตาวนุพฺพตา
อุปมาเหมือนสีดาที่มีความจงรักภักดีต่อพระราม
อิเม เต ชมฺพุกา รุกฺขา
ต้นหว้าใหญ่งามด้วยกิ่งก้าน ใบเขียวเป็นช่อเป็นฉัตรชั้นเหมือนอย่างฉัตรทอง แสง
จันทร์ส่องถูกน้าค้างที่ไหลหยดย้อยดูคล้ายพลอย กรวดทรายที่ใต้ต้นหว้าก็งดงาม
แวววาว เหมือนมีคนเอาเศษแก้วมามาโปรยโรยรอบต้นหว้า สวยงามดั่งดอกไม้ใน
เมืองสวรรค์
มหานิโคฺรธชาตํ
ต้นไทรสีทองเรียงรายถัดกันไป กิ่งก้านใบรากห้อยยื่นระย้า
อิมาตา โปกฺขรณี รมฺมา
เปรียบเป็นกัณหาและชาลีเคยมาประพาสสรงสนานในสระบัว
ตาแหน่งนอกที่อยู่
ภิกฺขเว
เป็นคาร้องเรียกบุคคลผู้จะรับเอาพระธรรมน้อมนาไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อ
กาจัด กิเลสทั้งหลาย ให้เสื่อมคลายไปจากขันธสันดานของตน
ปณฺ ณรสโยชนมคฺดํ
ถ้าจะคลี่คลายขยายหนทางก็ได้สัก ๑๕ โยชน์
ลจฺฉาม ปุตฺเต ชีวนฺตา
ถ้าเราทั้งสอง(ในที่นี้หมายถึงนางมัทรี และพระเวสสันดร)ยังมีชีวิตต่อไป
กุมาร ๒ คนนี้เรา จะได้พบกันแน่
ทชฺชา สปฺปุริโส ทานํ
สัตบุรุษเมื่อปรารถนา ประโยชน์สูงสุด พึงผ่าอุระควักเนื้อหัวใจให้เป็นทาน
ทิสฺวา ยาจกมาคเต
ถ้าเห็นยาจกเข้ามาใกล้ไหว้วอน ขอไม่ย่อท้อในการทาทาน
สา มทฺที
สมเด็จพระมัทรีศรีสุนทรบวรราชธิดามหาสมมุติ
เวสฺสนฺตรสูส
แห่งพระเวสสันดรราชฤาษี
ยสสฺสินี
พระเกียรติยศอันโอฬารลาเลิศวิไลลักษณ์ยอดกษัตริย์
อิติ เมาะ อิมินา ปกาเรน
ด้วยประการฉะนี้ดังแล้วแล
วิเคราะห์ลักษณะตัวละคร
นางมัทรี
1. เป็นผู้ที่มีความจงรักภักดีต่อพระเวสสันดรเป็นอย่างยิ่ง
2. นางเป็นแม่ที่รักลูก
3. มีความอดทนต่อความยากลาบาก
4. รู้กาลเทศะ สิ่งที่ควร ไม่ควรกระทา
5. มีจิตเป็นกุศล
พระเวสสันดร
1. เป็นผู้ที่มีปฏิภาณไหวพริบ
2. รักและห่วงใยคู่คู่ครอง
3. เข้าใจความรู้สึกของผู้หญิงที่เป็นแม่
4. มีความมุ่งมั่น ทรงมุ่นมั่นและปรารถนาที่จะบาเพ็ญทานบารมี
•เสาวรจนี : จะพบน้อยมาก ซึ่งพบในตอนที่นางมัทรีทรงอนุโมทนาต่อบุตรทาน
ให้อานิสงค์ส่งผลให้เมื่อเกิดชาติหน้าจะเป็นผู้ทีมีรูปโฉมงาม มีแต่
ความสุข ร่ารวยทรัพย์สมบัติ
•นารีปราโมทย์ : ในเรื่องนี้จะไม่ปรากฏ เพราะไม่มีบทเกี่ยวกับการเกี้ยวพาราสี
•พิโรจวาทัง : จะพบได้มาก เพราะมีการใช้อารมณ์และความโกรธอยู่บ่อยครั้ง ซึ่ง
สังเกตได้จากตอนที่พระเวชสันดรได้แกล้งกล่าวตาหนินางมัทรีที่
ทรงกลับดึก
•สัลลาปังคพิไสย : พบในตอนที่นางมัทรีคราครวญถึงลูกทั้งสองที่หายไป
วรรณคดี 4 รสแบบ ไทย
•เสาวรจนี : จะพบน้อยมาก ซึ่งพบในตอนที่นางมัทรีทรงอนุโมทนาต่อบุตรทาน
ให้อานิสงค์ส่งผลให้เมื่อเกิดชาติหน้าจะเป็นผู้ทีมีรูปโฉมงาม มีแต่
ความสุข ร่ารวยทรัพย์สมบัติ
•นารีปราโมทย์ : ในเรื่องนี้จะไม่ปรากฏ เพราะไม่มีบทเกี่ยวกับการเกี้ยวพาราสี
•พิโรจวาทัง : จะพบได้มาก เพราะมีการใช้อารมณ์และความโกรธอยู่บ่อยครั้ง ซึ่ง
สังเกตได้จากตอนที่พระเวชสันดรได้แกล้งกล่าวตาหนินางมัทรีที่
ทรงกลับดึก
•สัลลาปังคพิไสย : พบในตอนที่นางมัทรีคราครวญถึงลูกทั้งสองที่หายไป
วรรณคดี 4 รสแบบ สันสกฤต
สภาพสังคม : สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม และการบริจาค
ทานซึ่งเป็นการกระทาที่สมควรได้รับการอนุโมทนา ซึ่งเห็นได้จาก
การที่นางมัทรีทรงอนุโมทนาต่อบุตรทานครั้งนี้
ค่านิยม : สะท้อนให้เห็นค่านิยมแนวโลกุตตรธรรมของประชาชนว่า มีความ
ปรารถนาที่จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ
ความเชื่อ : มีการเชื่อเรื่องบุญกุศลจากการให้ทาน ถ้าเราทาทานในภพภูมินี้
เราจะได้แต่สิ่งที่ดีกลับเข้ามา และอาจได้บุญกุศลในโลกหน้าด้วย
รวมถึงเชื่อเรื่องอานาจของเทพยดาฟ้าดินต่างๆอีกด้วย เช่น
อานิสงค์ของทานที่นางมัทรีได้ทาในครั้งนี้ จะส่งผลให้เมื่อเกิดใน
ชาติหน้าจะมีรูปโฉมที่งดงามและมีแต่ความสุข ความเจริญ
“รักใครเล่าจะเท่าพ่อแม่รัก ห่วงใดเล่าจะเท่าพ่อแม่ห่วง
หวงใดเล่าจะเท่าพ่อแม่หวง ให้ใครเล่าจะเท่าพ่อแม่ให้”
จากตอนที่ได้อ่านนี้ยังได้ข้อคิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของมนุษย์เพศหญิงในฐานะที่เป็นอยู่คือ เป็น
ทั้งแม่และภรรยาที่ดี ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญเหนือสิ่งอื่นใดทั้งปวงและยังสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมของคนในสมัยนั้นที่
มีความต้องการที่จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ โดยสามารถละสิ่งทุกอย่างไปได้เพื่อที่จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ
ข้อคิด คติธรรม จากตอนนี้ที่สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวันของทุกคน ทุกเพศได้คือ คติธรรมที่เกี่ยวกับ
การเป็นคู่สามีภรรยาที่ดี มีความเสียสละเพื่อให้ชีวิตคู่ยืนยาว เป็นคุณธรรมที่ควรยกย่องเป็นอย่างยิ่งและพบเห็น
ได้ยากในสังคมปัจจุบัน และการบริจาคทานแก่ผู้ยากไร้ ขาดแคลน เป็นการกระทาที่สมควรได้รับอนุโมทนาเป็น
อย่างยิ่ง
การทําหน้าที่ของแม่หรือบุพการีให้ดี เช่นการอบรมสั่งสอนบุตรให้เป็นคนดี
การเลือกคู่ครองและการเป็นคู่ครองที่ดี ซึ่งจะนําพาให้ชีวิตครอบครัวนั้นมีความสุข
การบริจาคทาน ซึ่งเป็นการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
การรักษาคําพูด จากการที่พระเวสสันดรรักษาคําพูดของตนต่อชูชก
วิธีการแก้ไขปัญหาสังคม
เมื่อศึกษาเรื่องนี้
๑. สะท้อนให้เห็นค่านิยมแนวโลกกุตตธรรมของประชาชนว่า มีความปรารถนาจะบรรลุสัมมาสัม -
โพธิ์ญาณ ทาให้คนไทยสนใจในการจะเข้าวัดและทาความดี
๒. สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียม และค่านิยมของคนยุคนั้นๆผู้คนนิยมบริจาคทานเพื่อหวัง
บรรลุนิพพาน และมีความเชื่อเรื่องลางบอกเหตุ เรื่องเทพยาดาฟ้าดินต่างๆ ทาให้สามารถแก้ไขปัญหา
เรื่องความขัดแย้งกันได้เพราะเชื่อในสิ่งเหมือนๆกัน และมีเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจที่เหมือนกัน
๓. แก้ปัญหาครอบครัวได้เพราะว่าภายในเรื่องพระเวสสันดรชาดกนั้นได้กล่าวถึงหน้าที่ของผู้หญิงใน
ฐานะที่เป็นแม่หรือภรรยาที่ดี ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ครอบครัวอบอุ่น ทาให้เด็กที่โตมามีความ
อบอุ่น และสามีที่กลับมาจากการทางานนั้นมีความสุข
๔. ทาให้ผู้ที่อ่านนั้นมีความกตัญญูต่อแม่ เพราะในเรื่องได้กล่าวถึงความรักของแม่ที่มีต่อลูก ซึ่งเป็นการ
ปลูกจิตสานึกของผู้คนที่อ่านให้นึกกลับไปถึงแม่ของตน
ข้อสอบ o-net
๑. มหาเวสสันดรชาดก แต่งด้วยคําประพันธ์อะไร
ก.ร่ายยาว
ข. ร่ายสุภาพ
ค. กลอนสุภาพ
ง. กาพย์สุรางคนางค์ ๒๖
๒. ใครเป็นผู้ประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก
กัณฑ์มหาพน
ก. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ค. พระเทพโมลี
ง. เจ้าพระยาพระคลัง
๓. เหตุการณ์ใดเกี่ยวข้องกับการตรัสเรื่อง เวสสันดร
ชาดก
ก. ฝนโบกขรพรรษ์ตก
ข. พระสงฆ์บาเพ็ญศีล
ค. อุบาสก อุบาสิกาบริจาคทาน
ง. ราหุลกุมารขอบวชตามเสด็จ
๔. ฝนโบกขอพรรษมีลักษณะเป็นอย่างไร
ก. มีสีแดง ใครอยากจะเปียกก็ให้เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็ไม่เปียก
ข. มีสีน้าเงิน ใครอยากจะเปียกก็ให้เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็ไม่เปียก
ค. มีสีแดง ใครอยากให้เปียกก็ไม่เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็เปียก
ง. มีสีน้าเงิน ใครอยากให้เปียกก็ไม่เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็เปียก
๕. พระเวสสันดรชาดกเป็นผู้บําเพ็ญบารมีในด้านใด
ก. ศีลบารมี
ข. ขันติบารมี
ค. ทานบารมี
ง. บาเพ็ญเพียรบารมี
๖. สถานที่ที่พระเวสสันดรจะไปบําเพ็ญพรตออกผนวชเป็นฤาษีคือที่ใด
ก. เขาวงกต
ข. เมืองเจตรัฐ
ค. แคว้นกาลิงครัฐ
ง. หมู่บ้านทุนนวิฏฐ์
๗. “มีชายผิวดํานําดอกบัวทองสองดอกมาวางไว้ในพระหัตถ์ ทรงรับ
ดอกบัวทองนั้นไว้ แล้วนํามาประดับที่พระกรรณ” ข้อความนี้เป็น
ความฝันของใคร
ก. พระนางมัทรี
ข. พระนางผุสดี
ค. พระเวสสันดร
ง.พระเจ้าสญชัย
๘. “แม้พระเจ้าสญชัยและพระนางผุสดีจะขอร้องให้พระนางมัทรีพร้อม
ด้วยกัณหาชาลีอยู่พระนครต่อไป แต่พระนางมัทรีไม่ทรงยินยอมจะ
ขอตามเสด็จพระเวสสันดรไปทุกหนทุกแห่ง” เหตุการณ์นี้ให้ข้อคิดใน
เรื่องใด
ก. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องซื่อสัตย์ต่อกัน
ข. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องร่วมสุขร่วมทุกข์ด้วยกัน
ค. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องมีความจงรักภักดีต่อกัน
ง. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องมีความรักและความเข้าใจกัน
๙. พระเวสสันดรชาดกให้ข้อคิดสําหรับนํามาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน 4 ประการ คือ “เข้าใจขอ เข้าใจให้เข้าใจใช้ และเข้าใจ
ซึ่งกันและกัน” เหตุการณ์ตอนใดต่อไปนี้ให้ข้อคิดในเรื่อง เข้าใจขอ
ก. พระนางผุสดีขอพร 10 ประการ กับพระอินทร์
ข. เฒ่าชูชกขอให้พรานเจตบุตรบอกทางไปเขาวงกตแก่ตน
ค. นางอมิตดาขอให้เฒ่าชูชกไปขอกัณหาชาลีจากพระเวสสันดรมารับใช้ตน
ง. พราหมณ์ 8 คนจากเมืองกาลิงครัฐขอช้างปัจจัยนาเคนทร์จากพระเวสสันดร
ชาดก
๑๐. เหตุผลที่ทําให้เฒ่าชูชกต้องดั้นด้นเดินทางไปเขาวงกตเพื่อขอชาลี
กัณหาจากพระเวสสันดรมาเป็นคนรับใช้ คือข้อใด
ก. มีนิสัยขี้ขอ
ข. ถูกภรรยายุยง
ค. ต้องการลองใจพระเวสสันดร
ง. ทาตามคาสั่งของพระเจ้ากาลิงคัฐ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 

La actualidad más candente (20)

นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 

พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35

  • 2. หน้า ๓๐-๓๕ เมื่อพระนางมัทรี เสด็จกลับถึงพระอาศรม ไม่ทรงเห็นลูกทั้งสองจึง ตามหา เมื่อหาลูกไม่พบก็อ้อนวอนถาม พระเวสสันดร ถึงลูกทั้งสองว่าลูกได้ หายไปไหนแต่พระเวสสันดร ก็ไม่ทรงตอบ และทรงแกล้งกล่าวตาหนิที่พระ นางทรงกลับมืดค่าให้พระนางเจ็บพระทัย จะได้คลายทุกข์โศก ไม่คิดถึงเรื่องที่ ลูกหายตัวไป แต่นางก็ได้อภิปรายกับเหตุการณ์ต่างๆว่าทาไมถึงได้กลับมาช้า แก่พระเวสสันดร พออภิปรายเสร็จนางก็ไก้ทูลถามถึงลูกอีกแต่พระเวสสันดร ก็ไม่ทรงตอบ แม้พระนางจะทรงอ้อนวอนสักเท่าใดก็ไม่ทรงตอบ จนพระนาง น้อยพระทัย ทรงออกติดตามพระโอรสพระธิดาทั้งคืน นางมัทรีได้ออกตามหา ลูกไปทั่วทุกหนแห่ง เห็นสิ่งใดก็นึกถึงแต่ลูก สถานที่ต่างๆที่ลูกเคยเล่นก็เหมือนยังเห็นภาพลูกของตนเล่นอยู่ตรงนั้น เมื่อนางมัทรีหาลูกไปเรื่อยๆแต่ก็ยังไม่พบนางจึงกลับไปถามพระเวสสันดร แต่ พระเวสสันดรก็ยังนิ่งเฉย ไม่ตรัสประการใดๆ นางมันทรีจึงได้เฝ้าตามหาลูก ต่อไปจนหมดสติต่อหน้าพระเวสสันดร เมื่อพระเวสสันดรทรงตรวจดูพระนาง มัทรี ทาให้พระนางมันทรีฟื้นแล้ว จึงทรงบอกความจริงว่าได้ประทานพระโอรส พระธิดาให้ชูชกไปแล้ว ทรงขอให้พระนางอนุโมทนากับทานบารมีของพระองค์ ด้วย อันจะส่งผลให้พระองค์เสด็จสู่พระสัมมาสัมโพธิญาณ พระนางมัทรี เมื่อทรง ทราบความจริงก็ทรงบรรเทาโศก และทรงอนุโมทนาต่อบุตรทานครั้งนี้ อานิสงค์ ของทานครั้งนี้ เมื่อเกิดในโลกหน้าจะเป็นผู้มั่งคั่งสมบูรณ์ไปด้วยทรัพย์สมบัติ มี อายุยืน รูปโฉมงามและมีแต่ความสุข
  • 3. อาราม หมายถึง พะวงที่จาทาการใดๆด้วยความรีบร้อน น่าหลากใจ หมายถึง น่าประหลาดใจ ไม่มีเนตร หมายถึง ไม่มีเลยที่ตาจะเห็นได้ในที่นี้หมายความว่า “อกของใครจะ อาภัพยับ พิกลเหมือนอกของมัทรีไม่มีเนตร” ปริภาษณา หมายถึง บริภาษ กล่าวโทษ เกล้ากระหม่อมฉาน หมายถึง เกล้ากระหม่อนฉัน พื้นที่ปริมณฑล หมายถึง พื้นที่โดยรอบ ในที่นี้หมายถึง อาณาบริเวณ ระแนง หมายถึง เรียงราย ในความว่า “ดั่งบุคคลเอาแก้วมาระแนง” แกล้ง หมายถึง ตั้งใจ เมิล หมายถึง มองดู ซับทราบ หมายถึง ทราบ กัมปนาท หมายถึง ดังก้อง สันดาน หมายถึง ความต่อเนื่อง ในที่นี้หมายถึง ลมหายใจ ชีวิต ในความว่า “เพียงพะสันดานจะ ขาดจะดับสูญ” ประถมยาม หมายถึง ปฐมยาม แปลว่า ยามแรก กาหนดนับตั้งแต่ ๑๘ นาฬิกา (หกโมงเย็น) ถึง ๒๒ นาฬิกา ( ๔ ทุ่ม) ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น๓ ยาม ยามหนึ่งมี ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปัจจุสมัย หมายถึง เวลาเช้ามืด หิมเวศ หมายถึง ป่าหิมพานต์ มาจากคาว่า หิมวา ซึ่งใช้ศ เข้าลิลิต ห่วงสารสาร หมายถึง ห่วงแห่งความรัก ระหวย หมายถึง ระโหย อิดโรยเพราะหิว ศิโรเพฐน์ หมายถึง ผ้าโพกศีรษะ ในที่นี้หมายถึง ศีรษะ “บ่ายศิโรเพฐน์” คือ เอนศรีษะลง วิสัญญี หมายถึง สลบ หน้าฉาน หมายถึง หน้าที่นั่ง ในที่นี้หมายถึงตรงหน้าพระอาศรมที่พระเวสสันดรประทับอยู่ พระคันธกุฎี หมายถึง ชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า กฤดาภินิหาร หมายถึง บุญอันยิ่งที่ทาไว้ สัตพิธรัตน์ หมายถึง แก้ว ๗ ประการ ได้แก่ ทอง เงิน มุกดาหาร ทับทิม ไพฑูรย์เพชร และแก้ว ประพาฬ ทานพาหิรกะ หมายถึง ทานภายนอก ได้แก่ ข้าวของต่างๆ มังสัง หมายถึง คือมังสะ แปลว่าเนื้อ ยุบลสาร หมายถึง ข่าว นุสนธิ์ หมายถึง มาจากคาว่า อนุสนธิ์ แปลว่า ความต่อเนื่อง การสืบเนื่อง ใน ที่นี้ หมายถึง ความเป็นมา สาธุการ หมายถึง การเปล่งวาจาชื่นชมเมื่อเห็นว่ากระทาสมควรแล้ว ดาวดึงส์ หมายถึง แปลว่า ๓๓ เป็นชื่อสวรรค์ที่มีเทพชั้นผู้ใหญ่ ๓๓ องค์โดยมีพระอินทร์เป็น หัวหน้า เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งฉกามาพจร (สวรรค์ ๖ ชั้นฟ้า)
  • 4. รามํ สีตาวนุพฺพตา อุปมาเหมือนสีดาที่มีความจงรักภักดีต่อพระราม อิเม เต ชมฺพุกา รุกฺขา ต้นหว้าใหญ่งามด้วยกิ่งก้าน ใบเขียวเป็นช่อเป็นฉัตรชั้นเหมือนอย่างฉัตรทอง แสง จันทร์ส่องถูกน้าค้างที่ไหลหยดย้อยดูคล้ายพลอย กรวดทรายที่ใต้ต้นหว้าก็งดงาม แวววาว เหมือนมีคนเอาเศษแก้วมามาโปรยโรยรอบต้นหว้า สวยงามดั่งดอกไม้ใน เมืองสวรรค์ มหานิโคฺรธชาตํ ต้นไทรสีทองเรียงรายถัดกันไป กิ่งก้านใบรากห้อยยื่นระย้า อิมาตา โปกฺขรณี รมฺมา เปรียบเป็นกัณหาและชาลีเคยมาประพาสสรงสนานในสระบัว ตาแหน่งนอกที่อยู่ ภิกฺขเว เป็นคาร้องเรียกบุคคลผู้จะรับเอาพระธรรมน้อมนาไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อ กาจัด กิเลสทั้งหลาย ให้เสื่อมคลายไปจากขันธสันดานของตน ปณฺ ณรสโยชนมคฺดํ ถ้าจะคลี่คลายขยายหนทางก็ได้สัก ๑๕ โยชน์ ลจฺฉาม ปุตฺเต ชีวนฺตา ถ้าเราทั้งสอง(ในที่นี้หมายถึงนางมัทรี และพระเวสสันดร)ยังมีชีวิตต่อไป กุมาร ๒ คนนี้เรา จะได้พบกันแน่ ทชฺชา สปฺปุริโส ทานํ สัตบุรุษเมื่อปรารถนา ประโยชน์สูงสุด พึงผ่าอุระควักเนื้อหัวใจให้เป็นทาน ทิสฺวา ยาจกมาคเต ถ้าเห็นยาจกเข้ามาใกล้ไหว้วอน ขอไม่ย่อท้อในการทาทาน สา มทฺที สมเด็จพระมัทรีศรีสุนทรบวรราชธิดามหาสมมุติ เวสฺสนฺตรสูส แห่งพระเวสสันดรราชฤาษี ยสสฺสินี พระเกียรติยศอันโอฬารลาเลิศวิไลลักษณ์ยอดกษัตริย์ อิติ เมาะ อิมินา ปกาเรน ด้วยประการฉะนี้ดังแล้วแล
  • 5. วิเคราะห์ลักษณะตัวละคร นางมัทรี 1. เป็นผู้ที่มีความจงรักภักดีต่อพระเวสสันดรเป็นอย่างยิ่ง 2. นางเป็นแม่ที่รักลูก 3. มีความอดทนต่อความยากลาบาก 4. รู้กาลเทศะ สิ่งที่ควร ไม่ควรกระทา 5. มีจิตเป็นกุศล พระเวสสันดร 1. เป็นผู้ที่มีปฏิภาณไหวพริบ 2. รักและห่วงใยคู่คู่ครอง 3. เข้าใจความรู้สึกของผู้หญิงที่เป็นแม่ 4. มีความมุ่งมั่น ทรงมุ่นมั่นและปรารถนาที่จะบาเพ็ญทานบารมี
  • 6. •เสาวรจนี : จะพบน้อยมาก ซึ่งพบในตอนที่นางมัทรีทรงอนุโมทนาต่อบุตรทาน ให้อานิสงค์ส่งผลให้เมื่อเกิดชาติหน้าจะเป็นผู้ทีมีรูปโฉมงาม มีแต่ ความสุข ร่ารวยทรัพย์สมบัติ •นารีปราโมทย์ : ในเรื่องนี้จะไม่ปรากฏ เพราะไม่มีบทเกี่ยวกับการเกี้ยวพาราสี •พิโรจวาทัง : จะพบได้มาก เพราะมีการใช้อารมณ์และความโกรธอยู่บ่อยครั้ง ซึ่ง สังเกตได้จากตอนที่พระเวชสันดรได้แกล้งกล่าวตาหนินางมัทรีที่ ทรงกลับดึก •สัลลาปังคพิไสย : พบในตอนที่นางมัทรีคราครวญถึงลูกทั้งสองที่หายไป วรรณคดี 4 รสแบบ ไทย
  • 7. •เสาวรจนี : จะพบน้อยมาก ซึ่งพบในตอนที่นางมัทรีทรงอนุโมทนาต่อบุตรทาน ให้อานิสงค์ส่งผลให้เมื่อเกิดชาติหน้าจะเป็นผู้ทีมีรูปโฉมงาม มีแต่ ความสุข ร่ารวยทรัพย์สมบัติ •นารีปราโมทย์ : ในเรื่องนี้จะไม่ปรากฏ เพราะไม่มีบทเกี่ยวกับการเกี้ยวพาราสี •พิโรจวาทัง : จะพบได้มาก เพราะมีการใช้อารมณ์และความโกรธอยู่บ่อยครั้ง ซึ่ง สังเกตได้จากตอนที่พระเวชสันดรได้แกล้งกล่าวตาหนินางมัทรีที่ ทรงกลับดึก •สัลลาปังคพิไสย : พบในตอนที่นางมัทรีคราครวญถึงลูกทั้งสองที่หายไป วรรณคดี 4 รสแบบ สันสกฤต
  • 8. สภาพสังคม : สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม และการบริจาค ทานซึ่งเป็นการกระทาที่สมควรได้รับการอนุโมทนา ซึ่งเห็นได้จาก การที่นางมัทรีทรงอนุโมทนาต่อบุตรทานครั้งนี้ ค่านิยม : สะท้อนให้เห็นค่านิยมแนวโลกุตตรธรรมของประชาชนว่า มีความ ปรารถนาที่จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ความเชื่อ : มีการเชื่อเรื่องบุญกุศลจากการให้ทาน ถ้าเราทาทานในภพภูมินี้ เราจะได้แต่สิ่งที่ดีกลับเข้ามา และอาจได้บุญกุศลในโลกหน้าด้วย รวมถึงเชื่อเรื่องอานาจของเทพยดาฟ้าดินต่างๆอีกด้วย เช่น อานิสงค์ของทานที่นางมัทรีได้ทาในครั้งนี้ จะส่งผลให้เมื่อเกิดใน ชาติหน้าจะมีรูปโฉมที่งดงามและมีแต่ความสุข ความเจริญ
  • 9. “รักใครเล่าจะเท่าพ่อแม่รัก ห่วงใดเล่าจะเท่าพ่อแม่ห่วง หวงใดเล่าจะเท่าพ่อแม่หวง ให้ใครเล่าจะเท่าพ่อแม่ให้” จากตอนที่ได้อ่านนี้ยังได้ข้อคิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของมนุษย์เพศหญิงในฐานะที่เป็นอยู่คือ เป็น ทั้งแม่และภรรยาที่ดี ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญเหนือสิ่งอื่นใดทั้งปวงและยังสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมของคนในสมัยนั้นที่ มีความต้องการที่จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ โดยสามารถละสิ่งทุกอย่างไปได้เพื่อที่จะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ข้อคิด คติธรรม จากตอนนี้ที่สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวันของทุกคน ทุกเพศได้คือ คติธรรมที่เกี่ยวกับ การเป็นคู่สามีภรรยาที่ดี มีความเสียสละเพื่อให้ชีวิตคู่ยืนยาว เป็นคุณธรรมที่ควรยกย่องเป็นอย่างยิ่งและพบเห็น ได้ยากในสังคมปัจจุบัน และการบริจาคทานแก่ผู้ยากไร้ ขาดแคลน เป็นการกระทาที่สมควรได้รับอนุโมทนาเป็น อย่างยิ่ง
  • 11. วิธีการแก้ไขปัญหาสังคม เมื่อศึกษาเรื่องนี้ ๑. สะท้อนให้เห็นค่านิยมแนวโลกกุตตธรรมของประชาชนว่า มีความปรารถนาจะบรรลุสัมมาสัม - โพธิ์ญาณ ทาให้คนไทยสนใจในการจะเข้าวัดและทาความดี ๒. สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียม และค่านิยมของคนยุคนั้นๆผู้คนนิยมบริจาคทานเพื่อหวัง บรรลุนิพพาน และมีความเชื่อเรื่องลางบอกเหตุ เรื่องเทพยาดาฟ้าดินต่างๆ ทาให้สามารถแก้ไขปัญหา เรื่องความขัดแย้งกันได้เพราะเชื่อในสิ่งเหมือนๆกัน และมีเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจที่เหมือนกัน ๓. แก้ปัญหาครอบครัวได้เพราะว่าภายในเรื่องพระเวสสันดรชาดกนั้นได้กล่าวถึงหน้าที่ของผู้หญิงใน ฐานะที่เป็นแม่หรือภรรยาที่ดี ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ครอบครัวอบอุ่น ทาให้เด็กที่โตมามีความ อบอุ่น และสามีที่กลับมาจากการทางานนั้นมีความสุข ๔. ทาให้ผู้ที่อ่านนั้นมีความกตัญญูต่อแม่ เพราะในเรื่องได้กล่าวถึงความรักของแม่ที่มีต่อลูก ซึ่งเป็นการ ปลูกจิตสานึกของผู้คนที่อ่านให้นึกกลับไปถึงแม่ของตน
  • 12. ข้อสอบ o-net ๑. มหาเวสสันดรชาดก แต่งด้วยคําประพันธ์อะไร ก.ร่ายยาว ข. ร่ายสุภาพ ค. กลอนสุภาพ ง. กาพย์สุรางคนางค์ ๒๖ ๒. ใครเป็นผู้ประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มหาพน ก. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ค. พระเทพโมลี ง. เจ้าพระยาพระคลัง ๓. เหตุการณ์ใดเกี่ยวข้องกับการตรัสเรื่อง เวสสันดร ชาดก ก. ฝนโบกขรพรรษ์ตก ข. พระสงฆ์บาเพ็ญศีล ค. อุบาสก อุบาสิกาบริจาคทาน ง. ราหุลกุมารขอบวชตามเสด็จ ๔. ฝนโบกขอพรรษมีลักษณะเป็นอย่างไร ก. มีสีแดง ใครอยากจะเปียกก็ให้เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็ไม่เปียก ข. มีสีน้าเงิน ใครอยากจะเปียกก็ให้เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็ไม่เปียก ค. มีสีแดง ใครอยากให้เปียกก็ไม่เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็เปียก ง. มีสีน้าเงิน ใครอยากให้เปียกก็ไม่เปียก ใครไม่อยากให้เปียกก็เปียก ๕. พระเวสสันดรชาดกเป็นผู้บําเพ็ญบารมีในด้านใด ก. ศีลบารมี ข. ขันติบารมี ค. ทานบารมี ง. บาเพ็ญเพียรบารมี ๖. สถานที่ที่พระเวสสันดรจะไปบําเพ็ญพรตออกผนวชเป็นฤาษีคือที่ใด ก. เขาวงกต ข. เมืองเจตรัฐ ค. แคว้นกาลิงครัฐ ง. หมู่บ้านทุนนวิฏฐ์ ๗. “มีชายผิวดํานําดอกบัวทองสองดอกมาวางไว้ในพระหัตถ์ ทรงรับ ดอกบัวทองนั้นไว้ แล้วนํามาประดับที่พระกรรณ” ข้อความนี้เป็น ความฝันของใคร ก. พระนางมัทรี ข. พระนางผุสดี ค. พระเวสสันดร ง.พระเจ้าสญชัย ๘. “แม้พระเจ้าสญชัยและพระนางผุสดีจะขอร้องให้พระนางมัทรีพร้อม ด้วยกัณหาชาลีอยู่พระนครต่อไป แต่พระนางมัทรีไม่ทรงยินยอมจะ ขอตามเสด็จพระเวสสันดรไปทุกหนทุกแห่ง” เหตุการณ์นี้ให้ข้อคิดใน เรื่องใด ก. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องซื่อสัตย์ต่อกัน ข. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องร่วมสุขร่วมทุกข์ด้วยกัน ค. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องมีความจงรักภักดีต่อกัน ง. เมื่อเป็นสามีภรรยากัน ต้องมีความรักและความเข้าใจกัน ๙. พระเวสสันดรชาดกให้ข้อคิดสําหรับนํามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน 4 ประการ คือ “เข้าใจขอ เข้าใจให้เข้าใจใช้ และเข้าใจ ซึ่งกันและกัน” เหตุการณ์ตอนใดต่อไปนี้ให้ข้อคิดในเรื่อง เข้าใจขอ ก. พระนางผุสดีขอพร 10 ประการ กับพระอินทร์ ข. เฒ่าชูชกขอให้พรานเจตบุตรบอกทางไปเขาวงกตแก่ตน ค. นางอมิตดาขอให้เฒ่าชูชกไปขอกัณหาชาลีจากพระเวสสันดรมารับใช้ตน ง. พราหมณ์ 8 คนจากเมืองกาลิงครัฐขอช้างปัจจัยนาเคนทร์จากพระเวสสันดร ชาดก ๑๐. เหตุผลที่ทําให้เฒ่าชูชกต้องดั้นด้นเดินทางไปเขาวงกตเพื่อขอชาลี กัณหาจากพระเวสสันดรมาเป็นคนรับใช้ คือข้อใด ก. มีนิสัยขี้ขอ ข. ถูกภรรยายุยง ค. ต้องการลองใจพระเวสสันดร ง. ทาตามคาสั่งของพระเจ้ากาลิงคัฐ