SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 161
ความสัมพันธ์
ระหว่าง
ภาษากับ
วัฒนธรรม
ภาษาสร้าง ธารง
พัฒนาวัฒนธรรม
ภาษาสะท้อน
วัฒนธรรม
การใช้ภาษาสัมพันธ์
กับวัฒนธรรม
ภาษาสร้าง
ธารง
และพัฒนา
วัฒนธรรม
ต้น
กาเนิด
สืบทอด
รักษา
ปรับปรุง
ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม
๑.ใช้ภาษาในการแสดงความลดหลั่นชั้นเชิง เช่น
- คำเรียกเครือญำติ ลุง ป้ำ น้ำ อำ พี่ น้อง
-กำรใช้คำรำชำศัพท์
-กำรใช้คำขยำยเรียกยศข้ำรำชกำลสมัยโบรำณ
-กำรกำหนดยศ ในปัจจุบัน เช่น สิบ ร้อย พัน พล
- ตำแหน่งวิชำกำร ผู้ช่วยศำตรำจำรย์ รองศำตรำจำรย์
ศำสตรำจำรย์
๒.ในภาษาไทยมีการใช้คาแทนตัว เป็นคาบอกเครือญาติ คาบอก
อาชีพ คาบอกตาแหน่ง
เรียกผู้ที่ตนเองพูดถึงว่ำ ป้ำ พี่ แม่ ครู หมอ
นำยอำเภอ
สะท้อน
ว่าคนไทยให้ความสาคัญกับเครือญาติ
อาชีพ ตาแหน่ง
ไม่นิยมใช้เรียกชื่อบุคคลพร่าเพรื่อ ใช้เรียก
เมื่อมีความใกล้ชิด สนิท คุ้นเคยกัน
๓.ใช้คำดั้งเดิมหรือคำไทยแท้ในกำรสื่อสำรที่ไม่เปนนทำงกำร
ใช้ภำษำอื่นในกำรสนทนำที่เปนนทำงกำร
คำไทยแท้ คำที่เปนนทำงกำร
พ่อ แม่ บิดำ มำรดำ
วัว ควำย โค กระบือ
๔. ภำษำไทยมีคำศัพท์แสดงควำมละเอียดในกำรกล่ำวถึงเรื่อง
ใกล้ตัว เช่น คำแสดงควำมสัมพันธ์ในครอบครัว
ทวด ปู่ ย่ำ ยำย พ่อ แม่ หลำน เหลน ลื่อ ลืบ ลืด
คำที่แสดงรสชำติอำหำร
ขม เคนม เผนด หวำน ขื่น ฝำด กร่อย มัน จืด ชืด
ปร่ำ จี๊ดจ๊ำด
๔. ภำษำไทยมีคำศัพท์แสดงควำมละเอียดในกำรกล่ำวถึงเรื่อง
ใกล้ตัว เช่น คำแสดงควำมสัมพันธ์ในครอบครัว
ทวด ปู่ ย่ำ ยำย พ่อ แม่ หลำน เหลน ลื่อ ลืบ ลืด
คาที่แสดงรสชาติอาหาร
ขม เคนม เผนด หวำน ขื่น ฝำด กร่อย มัน จืด ชืด
ปร่ำ จี๊ดจ๊ำด
๕. ภำษำไทยมีคำลักษณนำมช่วยจำแนกลักษณะของสิ่งต่ำง
ช้างบ้าน ใช้ลักษณนามว่า เชือก
ช้างป่ า ใช้ลักษณนามว่า ตัว
ช้างขึ้นระวาง ใช้ลักษณนามว่า ช้าง
งาช้าง ใช้ลักษณนามว่า กิ่ง
แคน ใช้ลักษณนามว่า เต้า
หอยสังข์ ใช้ลักษณนามว่า ขอน
แห อวน โพงพาง ใช้ลักษณนามว่า ปาก
เลื่อย ใช้ลักษณนามว่า ปื้น
แม่ชี ใช้ลักษณนามว่า คน
สวน ใช้ลักษณนามว่า ขนัด
ลูกคิด ใช้ลักษณนามว่า ราง
รุ้งกินน้า ใช้ลักษณนามว่า ตัว
ข้าวเม่าทอด ใช้ลักษณนามว่า แพ
ขนมครก คู่ ฝา
นางฟ้ า ใช้ลักษณนามว่า องค์
นางอัปสร ใช้ลักษณนามว่า นาง
ระกา ใช้ลักษณนามว่า กระปุก
ขนมจีน ใช้ลักษณนามว่า จับ
ไข่มุก ใช้ลักษณนามว่า เมนด
คทำ ใช้ลักษณนามว่า เล่ม อัน
คลื่น ใช้ลักษณนามว่า ลูก
คัมภีร์ใบลำน ใช้ลักษณนามว่า ผูก
บัตรประชำชน ใช้ลักษณนำมว่ำ ฉบับ
ระนำด ใช้ลักษณนามว่า ผืน, รำง
นาฬิกาแดด ใช้ลักษณนามว่า เรือน
นาฬิกาทราย ใช้ลักษณนามว่า อัน
ภูต ผี ปีศำจ ชีเปลือย ใช้ลักษณนามว่า ตน
วิญญาณ ใช้ลักษณนามว่า ดวง
ธรรมจักร วง
๖.มีกำรเล่นกับภำษำในรูปแบบต่ำง เช่นใช้คำสัมผัสคล้องจอง
ซ้ำคำ ผวนคำ
ชื่อบุคคล ที่สัมผัสคล้องจอง
ชื่อประตูพระบรมราชวัง
วิมานเทเวศร์ วิเศษไชยศรี มณีนพรัตน์
สวัสดิโสภา เทวาพิทักษ์ ศักดิ์ไชยสิทธิ์
วิจิตรบรรจง อนงคารักษ์ พิทักษ์บวร
สุนทรทิศา เทวาภิรมย์ อุดมสุดารักษ์
ชื่อเรือพระราชพิธี
เรือเอกชัยเหินหาว เรือเอกชัยหลาวทอง
เรือครุฑเหินเห็จ เรือเตร็ดไตรจักร
เรือพาลีรั้งทวีป เรือสุครีพครองเมือง
เรือกระบี่ปราบเมืองมาร เรือกระบีราญรอนราพณ์
เอกชัยเหินหำว เอกชัยหลำวทอง สร้ำงในรัชกำลที่ ๑ ใช้เวลำ ๒๘ เดือน
เรือครุฑเหินเหนจ
เรือครุฑเตรนจไตรจักร
เรือพำลีรั้งทวีป ๘. เรือสุครีพครองเมือง
เรือกระบี่ปรำบเมืองมำร เรือกระบี่รำญรอนรำพย์
โขนเรือพระที่นั่งและเรือรูปสัตว์ : ๑. เรือครุฑเหินเหนจ ๒. เรือครุฑเตรนจไตรจักร
๓. เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์๔. เรือกระบี่ปรำบเมืองมำร๕. เรือกระบี่รำญรอนรำพย์
๖. เรือพระที่นั่งอนันตนำครำช๗. เรือพำลีรั้งทวีป๘. เรือสุครีพครองเมือง๙. เรืออสุร
วำยุภักษ์
ยำว 44.9 เมตร กว้ำง 3.14 เมตร ลึก 0.9 เมตร
กินน้ำลึก 0.41 เมตร กำลัง 3.5 เมตร (พำยครั้ง
หนึ่งแล่นไปได้ไกล 3.5 เมตร) หนัก 15.1 ตัน
ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวงาม
ข้าวหลามหวานมัน สนามจันทร์งามล้น
พุทธมณฑลคู่ธานี พระปฐมเจดีย์เสียดฟ้ า
คำขวัญของ ประเทศอำเซียน คือ
หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม
(One Vision, One Identity, One Community)
เขียนคาขวัญประจาตัวเองความยาว ไม่ต่ากว่า
๔ วรรค
๗.ภำษำไทยมีควำมหลำกหลำย
มีทั้งภำษำไทยมำตรฐำน และภำษำไทยถิ่นต่ำง
ภำษำไทยมีภำษำมำตรฐำนเพื่อใช้ในกำรสื่อสำรทำงรำชกำร ภำษำ
มำตรฐำนเปนนภำษำที่คนทั้งชำติที่ได้รับกำรศึกษำพอสมควรเข้ำใจได้
ภำษำมำตรฐำนมีลักษณะดังนี้
- เปนนภำษำไทยภำคกลำงที่ใช้กันในเมืองหลวง
-เปนนภำษำที่ใช้ในเมืองหลวงและเปนนภำษำสุภำพชนใช้กัน
ทั่วไป
-เปนนภำษำที่ไม่ใช้คำหยำบคำย ภำษำคะนองปำก และไม่ใช้
ภำษำต่ำงประเทศโดยไม่จำเปนน
-เปนนภำษำที่ผู้มีกำรศึกษำพอสมควรใช้พูดจำกัน
-เปนนภำษำที่คนทุกคนทุกภำคเข้ำใจกันได้
การใช้ภาษาสัมพันธ์กับ
วัฒนธรรม
การใช้ภาษา
สัมพันธ์กับ
วัฒนธรรม
การใช้คาราชา
ศัพท์
ระดับภาษา
การใช้คารื่นหู
๑.
พระมหากษัตริย์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๒สมเด็จพระบรม ๑.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ
๒. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเสยามมกุฎราชกุมาร
๓. สมเด็จพระเทพรัตราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
๕. สมเด็จพระบรมราชชนนี( สมเด็จย่า )
๓.สมเด็จเจ้าฟ้ า ๑. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
๒. สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราช
นครินทร์
๔.พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา
พระองค์เจ้าฑีปังกรรัชมีโชติ พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์
๕.หม่อมเจ้า หม่อมเจ้าชาตรี เฉลิมยุคล
การใช้คาราชาศัพท์
๑
๒
๓
ใต้ฝ่าละออง
ธุลีพระบาท
พระมหากษัตริย์
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
ใต้ฝ่าละออง
พระบาท
๒. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเสยามมกุฎราชกุมาร
๓. สมเด็จพระเทพรัตราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
๕. สมเด็จพระบรมราชชนนี( สมเด็จย่า )
ใต้ฝ่าพระบาท ๑. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
๒. สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ ากัลยาณิวัฒนา
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา
พระองค์เจ้าฑีปังกรรัชมีโชติ พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์
ฝ่าบาท หม่อมเจ้า
คือกำรกรำบถวำยบังคมทูล หรือกำรถวำยพระฉำยำแด่
พระรำชำ ด้วยกำรยกย่องอย่ำงสูงว่ำ ทรงเปนนผู้ที่มี “ ฝ่ าละอองธุลี
พระบาท (ของพระผู้มีพระภาคเจ้า) ปกเกล้ำปกกระหม่อม”เมื่อเรำ
กรำบบังคมทูล เรำกนขอเดชแห่งพระมหำกษัตริย์ ผู้ได้รับฝ่ำละอองธุลี
พระบำทแห่งพระบรมศำสดำปกเกล้ำปกกระหม่อม ได้ช่วยคุ้มครอง
เรำด้วย...นั่นเอง.
ใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาท
การแบ่งภาษา
เป็น ๒ ระดับ
การแบ่งภาษา
เป็น ๓ระดับ
การแบ่งภาษาเป็น
๕ ระดับ
ทำงกำร
ทำงกำร ระดับพิธีกำร
ระดับทำงกำร
กึ่งทำงกำร ระดับกึ่งทำงกำร
ไม่เปนนทำงกำร
ระดับสนทนำ
ไม่เปนนทำงกำร ระดับกันเอง
ระดับภาษา
ภำษำไทยมีระดับใช้ภำษำในสังคม
- กูอั๋ว เรา ฉัน ดิฉัน กระผม ข้าพเจ้า ข้าพระพุทธเจ้า
อาตมา
เกล้ากระหม่อม
-ไอ้เหี้ย มึง มัน เอ็ง เธอ ท่าน คุณ พระคุณท่าน พระองค์
- แดก ยัด สวาปาม กิน รับประทาน ฉัน เสวย
- เป็นไข้ ไม่สบาย เจ็บป่วย
ภำษำพูด ภำษำทำงกำร
วัยโจ๋ วัยรุ่น
เจ๋ง เยี่ยมมำก
แห้ว ผิดหวัง
เดี้ยง พลำดและเจนบตัว
มั่วนิ่ม ไม่ใส่ใจรำยละเอียด
ในหลวง พระมหำกษัตริย์
ผัวเมีย สำมีภรรยำ
เมียน้อย อนุภรรยำ
ค่อยยังชั่ว อำกำรดีขึ้น อำกำรทุเลำขึ้น
ดำรำหนัง ดำรำภำพยนตร์
ภำษำพูด ภำษำเขียน
วัวควำย โคกระบือ
ปอดลอย หวำดกลัว
โดนสวด ถูกตำหนิ
ตีนเปล่ำ เท้ำเปล่ำ
เกือก รองเท้ำ
โหลยโท่ย แย่มำก
จิ๊บจ๊อย เลนกน้อย
ดิ้น เต้นรำ
เซนง เบื่อหน่ำย
แซว เสียดสี
ประโยคที่ใช้สานวนการพูด ประโยคที่ใช้ในการเขียน
๑. เธอทำยังงี้ไม่ถูกนะ เธอทำอย่ำงนี้ไม่ถูกต้อง
๒. แบบว่ำงำนนี้ฉันไม่ถนัด ฉันไม่ถนัดที่จะทำงำนนี้
๓. เค้ำไม่มำตั้งหลำยวันแล้วแหละ เขำไม่มำหลำยวันแล้ว
๔. ฉันกนเลยไม่รู้ว่ำเกิดอะไรขึ้นกันแน่
๕. พอค่อยยังชั่วแล้วฉันกนเลยลงเล่นน้ำต่อ
๖.เขำถูกคัดเลือกเปนนพนักงำนดีเด่นโดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว
๗.อ่ำนหนังสือเยอะ เพื่อหำตัวอย่ำงฝึกอะไรต่ำง ให้เยอะขึ้น
๘.บำงร้ำนอำหำรไม่สะอำดไม่มีอะไรมำปิดซึ่งทำนบ่อย ทุกวัน กนเหมือน
เรำจะสะสมเชื้อโรคต่ำง จึงอยำกให้ทุกคนใส่ใจในอำหำรที่เรำกินด้วย
๙.เมื่อไปถึงจตุจักรเรำกนไปกินข้ำว แล้วเดินซื้อของกันที่จตุจักรมีของเยอะ
มำก เกือบทุกอย่ำงเลย
การใช้สานวนการพูดในการเขียน
เธอเข้ำมำในห้องพร้อมกับช่อดอกไม้ในมือ
เขำจับรถไฟไปอย่ำงรีบร้อน
สองสำวที่นั่งอยู่ตรงนั้นเปนนเพื่อนกัน
มันเปนนวันที่อำกำศหนำวเยนน
เรื่องมฤตยูแคระ แปลโดยนิดำ
ผืนนำหลำยแห่งถูกกว้ำนซื้อโดยนักลงทุนต่ำงชำติ
การใช้สานวนต่างประเทศ
แก้ไขประโยคให้ถูก
ต้องการหลักภาษาไทย
โครงสร้ำงประโยคแบบไทยจะเรียง
ประธำน + กริยำ + กรรม ตำมลำดับ
ครูดุนักเรียน
โครงสร้ำงภำษำต่ำงประเทศ
กรรม + กริยำ+ประธำน
นักเรียนถูกครูดุ
สานวนต่างประเทศสังเกตอย่างไร
ส่วนขยายในภาษาไทยจะวางไว้หลังคาที่ถูกขยายเสมอ และมักวางไว้ชิดติดกับ
คาที่ขยาย (ยกเว้นส่วนขยายของคากริยาที่มีกรรม)
เช่น หนังสือเล่มนี้เข้าใจง่าย
( ง่ายขยายกริยาเข้าใจ )
แต่ถ้าใช้ว่า หนังสือเล่มนี้ง่ายต่อการเข้าใจ ประโยคนี้ใช้สานวน
ต่างประเทศ
วิเศษณ์บอกจานวนนับที่เป็นตัวเลขจะตามหลังคานามและตาม
ด้วยลักษณนาม เช่น ผู้หญิง ๒ คน ผู้ชาย ๓ คน
ดังนั้นหากนาวิเศษณ์บอกจานวนนับที่เป็นตัวเลขมาขึ้นต้น
ประโยค จึงเป็นประโยคที่ใช้สานวนต่างประเทศ
ประโยคนี้ใช้สานวนต่างประเทศ
๒ สาวชักชวนกันไปเที่ยวต่างจังหวัด
ภำษำไทยมีกำรรับภำษำต่ำงประเทศเข้ำมำใช้ในภำษำไทย
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้บันทึก
ไว้ว่ำ คำภำษำไทยส่วนหนึ่งมีที่มำจำกภำษำต่ำงประเทศ
14 ภำษำ คือ เขมร จีน ชวำ ญวน ญี่ปุ่น ตะแลง เบงกำลี
บำลี ฝรั่งเศส มลำยูละติน สันสฤต อังกฤษ และฮินดี
นอกเหนือจำก 14 ภำษำนี้แล้ว กนยังมีภำษำอื่น
เช่นคำว่ำ “สบู่” มำจำกภำษำโปรตุเกส
ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันดังนี้
๑. ภาษาเป็นวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง จัดไว้ในประเภทคติธรรม
๒. ภาษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
๓. ภาษาเป็นเครื่องหมายแสดงความเจริญของมนุษย์
๔. ภาษาเป็นเครื่องบันเทิงใจ
๕. ภาษาเป็นศิลปะ มีคุณค่าอยู่ในตัวเอง
๖.ภาษาเป็นเครื่องมือสะท้อนภาพวัฒนธรรมในอดีต
จดหมายเหตุเราเรียนรู้วัฒนธรรม
จากการบันทึกเรื่องราว
จาก
ภาษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการสะท้อน
วัฒนธรรมในอดีต
พงศาวดาร
วรรณคดี
มุขปาถะ
การบันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียม
โบราณ ค่านิยม ความเชื่อ วิถีชีวิต วัฒนธรรม โดยจารึกไว้ใน
วรรณคดี เช่น
ศิลาจารึก
ไตรภูมิพระร่วง
โองการแช่งน้า
ลิลิตยวนพ่าย
บทพระราชนิพนธ์พระราชพิธี สิบสองเดือน
เรื่องขุนช้างขุนแผน
นางทองประศรี+ ขุนไกรพลพ่าย = พลายแก้ว
(ขุนแผน )
นางเทพทอง + ขุนศรีวิชัย = (ขุนช้าง )
นางศรีประจัน + พันศรโยธา = นางพิมพิลาไลย
ฝ่ ายนางเทพทองนั้นนอนหลับ พลิกกลับก็เพ้อละเมอฝัน
ว่าช้างพลายตายกลิ้งตลิ่งชัน พองขึ้นหัวนั้นเน่าโขลงไป
ยังมีนกตะกรุมหัวเหม่ บินเตร่เร่มาแต่ป่ าใหญ่
อ้าปากคาบช้างแล้ววางไป เข้าในหอกลางที่นางนอน
ในฝันนั้นว่านางเรียกนก เชิญเจ้าขรัวหัวถกมานี่ก่อน
นางคว้าได้ตัวเจ้าหัวกล้อน กอดนอนกับช้างนอนสบาย
กาเนิดขุนช้าง
สะท้อนความเชื่อเรื่องการทานายเหตุการณ์
จากความฝัน
นิมิตฝันว่ำท้ำวสหัสนัยน์ ถือแหวนเพชรเมนดใหญ่เหำะดั้นมำ
ครั้นถึงจึงยื่นแหวนนั้นให้ นำงรับแหวนไว้ด้วยหรรษำ
แสงเพชรส่องวำบปลำบเข้ำตำ ตื่นผวำคว้ำทั่วปลุกผัวพลัน
กาเนิดพลายแก้ว
กาเนิดนางพิม
ท่ำนขำคืนนี้ข้ำเจ้ำฝันว่ำ พระวิษณุกรรมนำยช่ำงใหญ่
ถือแหวนประดับงำมจับใจ เอำมำส่งให้ไว้กับเรำ
ลักษณะความเชื่อเรื่องทานายฝัน
บุพนิมิต จิตนิวรณ์ เทพสังหรณ์ ธาตุโขภ
ทั้งสามคนเป็นเพื่อนเล่นกันมาตั้งแต่เด็ก
ขุนช้างถวายตัวเป็นมหาดเล็ก
ให้มีลางคืนนั้นสนั่นอึง แมงมุมตีอกผึงหาหยุดไม่
สยอดสยองพองขนทุกคนไป เย็นยักเยือกจับใจไปทุกยาม
นางทองประศรีเห็นลางร้าย
หงส์ร่อนมังกรรา ช้างประสมโขลง วิธีการทาเสน่ห์
คงกระพัน
ชาตรี
ฝังอาถรรพ์
เดิมเชียงอินทร์เป็นปิ่ นเอกราช ชะตาขาดนครอ่าน
อาถรรพณ์
จะเสื่อมสิ้นยศอย่างแต่ปางบรรพ์ เป็นประจันตประเทศ
เขตกรุงไทย
ครั้งโบรำณถือว่ำพิธีสร้ำงพระนคร หรือสร้ำงบ้ำน สร้ำงเมือง จะศักดิ์สิทธิ์ต้องทำ
พิธีฝังอำถรรพ์ ๔ ประตูเมือง และต้องฝังเสำหลักเมืองแม้เสำมหำปรำสำทกนเช่นกัน กำรฝัง
อำถรรพ์กระทำด้วยกำรป่ำวร้องรียกผู้คนที่มีชื่อ อิน, จัน, มั่น และคง ไปทั่วเมือง เมื่อ
ชาวเมืองเคราะห์ร้ายขานรับ ก็จะถูกนาตัวมาสถานที่ทาพิธี และถูกจับฝังลงหลุมเป็นๆ ทั้ง
๔ คน เพื่อให้ดวงวิญญำณของคนเหล่ำนั้นอยู่เฝ้ำหลักเมือง เฝ้ำปรำสำท และประตูเมือง
คอยคุ้มครองบ้ำนเมือง.. ป้องกันอริรำชศัตรูและปัดเป่ำโรคภัยมิให้เกิดแก่คนในนคร
กำรฝังอำถรรพ์กนเปนนคนเปนนล้วน ถึง 52 คน ฝังตำมประตูเมืองประตูละ 3คน
12 ประตูกนเปนนทั้งหมด 36 คน และเฉพำะใต้พระที่นั่งในท้องพระโรงต้องฝังถึง 4 คน และ
คนที่ถูกฝังทั้งเปนนเพื่อเปนนผีคอยรักษำเมืองและพระรำชวังนั้นต้องเลือกให้ได้ลักษณะ
ตำมที่โหรพรำหมณ์กำหนด ไม่ใช้นักโทษที่ต้องโทษประหำร
แต่จะเปนนคนที่อยู่ในวัยต่ำง กันมีตั้งแต่คนมีอายุจนถึงเด็กทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ทุกคนต้อง
มีฐานะดีเป็นที่ยกย่องในกลุ่มชน และต้องเกิดตามที่โหรกาหนด
ถ้าเป็นชายต้องไม่มีรอยสัก ผู้หญิงต้องไม่เจาะหู เมื่อสั่งเสียล่าลา ญาติพี่น้องแล้วก็จะถูก
นาตัวไปลงหลุมญาติพี่น้องก็จะได้รับพระราชทานรางวัล
เวลาตกฟากสามชั้นฉาย
๑๐ อักษร = ๑ เมล็ดงา
๔ เมล็ดงา ๑ เมล็ดข้าวเปลือก
๔ เมล็ดข้าวเปลือก ๑ องคุลี
๑๕ องคุลี ๑ ชั้นฉาย
ชั้นฉายวัดจากเงาของตัวเอง ๑ ช่วงเท้าเท่ากับ ๑ ชั้นฉาย
ก็พร้อมหน้า
จะทาบุญให้ทานการศรัทธา ต่างมาที่วัดป่าเลไลย
หญิงชายน้อยใหญ่ไปแออัด ขนทรายเข้าวัดอยู่
ขวักไขว่
ก่อพระเจดีย์ทรายเรี่ยรายไป จะเลี้ยงพระกะไว้ใน
พรุ่งนี้
นิมนต์สงฆ์สวดมนต์เวลาบ่าย ต่างฉลองพระทราย
อยู่อึงมี่
แล้วกลับบ้านเตรียมการเลี้ยงเจ้าชี ปิ้ งจี่สารพัดจัดแจงไว้
สะท้อนความวัฒนธรรม ประเพณีสงกรานต์ วิถีชีวิตที่ผูก
ผันกับวัดและศาสนา วัฒนธรรมในการประกอบอาหาร
บ้างทาห่อหมกปกปิ ดไว้ ต้มไข่ผัดปลาแห้งทั้งแกง
บวน
บ้างก็ทาวุ้นชาสาคู ข้าวเหนียวหน้าหมูไว้ถี่ถ้วน
หน้าเตียงเรียงเล็ดข้าวเม่ากวน ของสวนส้มสูกทั้ง
ลูกไม้
มะปรางลางสาดลูกหวายหว้า ส้มโอส้มซ่าทั้งกล้วย
ไข่
ทุกบ้านอลหม่านกันทั่วไป จนดึกดื่นหลับใหลไป
ฉับพลัน
ครั้นรุ่งแจ้งแสงทองส่องฟ้ า ต่างตกแต่งกายาขมีขมัน
หนุ่มสาวเฒ่าแก่มาแจกัน พร้อมกันที่วัดป่าเลไลยสะท้อนความวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ลักษณะของผู้คนที่มีความศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา สะท้อนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยกรในช่วงเวลา
นั้น วัฒนธรรมในการประกอบอาหาร
แกะเปนนรำชสีห์สิงห์อัด เหยียดหยัดยืนอยู่ดูเฉิดฉิน
แกะเปนนเทพนมพรหมินทร์ พระอินทร์ถือแก้วแล้วเหำะมำ
แกะรูปนำรำยณ์ทรงสุบรรณ ผำดผันเผ่นผยองล่องเวหำ
การเตรียมงานเทศน์มหาชาติ
สะท้อนลักษณะนิสัยคนไทยที่มีความละเอียดลออ มีความสามารถใน
งานฝีมือ
มีความเชื่อเทพ เทวดา ทางศาสนาพรหมณ์
มหาชาติทั้งสิบสามกัณฑ์ วัดป่ าเลไลยก์นั้นวันพระหน้า
ตาปะขาวเฒ่าแก่แซ่กันมา พร้อมกันนั่งปรึกษาที่วัดนั้น
บ้างก็รับทศพรหิมพานต์ บ้างก็รับเอาทานกัณฑ์นั่น
ที่ลูกดกรับชูชกกัณฑ์กลางวัน ให้ยายศรีประจันกัณฑ์มัทรี
มหาราชพันชาติกัณฑ์กลางคืน ฟังหัวเราะครึกครื้นกันอึงมี่
ฉ้อกษัตริ์ย์สงัดเงียบเชียบดี ตาหมื่นศรีคนแก่แกรับไป
เทศน์กัณฑ์มหาพนชีต้นใจ ตาไทก็รับไปทันที
เออกัณฑ์หนึ่งใหญ่ให้ใครดี ยากที่สัปุรุษจะรับไป
นายบุญคุ้นกันไปไวไว ถึงขุนช้างยื่นให้ใบฎีกา
จะมีพระมหาชาติสิบสามกัณฑ์ วัดป่ าเลไลยก์นั้นวันพระหน้า
ตามแต่ใจหม่อมจะศรัทธา พ่อขอทาบุญบ้างเป็นไรนาง
พิมพ์ศรีประจันกัณฑ์มัทรี กุมารยังหามีใครรับไม่
ขุนช้างหัวร่อออชอบใจ ที่กัณฑ์ใหญ่ใหญ่เรายินดี
จะคิดอะไรกับสิ้นยัง ถึงสิ้นสักห้าชั่งยังไม่หนี
เกิดชาติหน้าใหม่จะได้ไปมั่งมี ทาบุญอย่างนี้เราเต็มใจ
พลายแก้วขอให้นางสายทองเป็นสื่อ
อันเณรน้องเหมือนกระต่ำยหมำยชมจันทร์ อยู่ดินหรือจะดั้นขึ้นไปได้
แต่ตรอมตรอมผอมร่ำงกนบำงไป ด้วยทำงไกลกลำงหำวเมื่อครำวปอง
ได้องค์อินทร์แลจะสิ้นสำเรนจตรม จะได้ชมกระต่ำยสวรรค์จันทร์ผยอง
อินทรำอุปมำเหมือนสำยทอง พิมน้องเหมือนกระต่ำยในวงจันทร์
มำพึ่งพิงถ้ำไม่ทิ้งธุระน้อง คงเปนนสองกระต่ำยชมสมสวรรค์
จะขอบคุณที่กำรุณในครำมครัน กว่ำชีวันฉันจะวอดชีวำวำย
ตอนขุนแผนลอบพบนางพิมที่ไร่ฝ้ าย.....ทั้งสองได้เจรจาต่อปากต่อคา
ประเวณีเปนนที่กำเริบใจ แต่ใหม่ใหม่มุ่งมอบชีวิตกัน
อุปมำเหมือนผ้ำที่นุ่งห่ม ซื้อใหม่กนนิยมว่ำเฉิดฉัน
ยำมขัดสนจนมำสำรพัน ผืนนั้นนุ่งซ้ำประจำกำย
ครั้นได้อื่นผืนใหม่เข้ำมำผลัด กนเหยำะหยัดซัดกรุยทำฉุยฉำย
เปนนสองผืนชื่นจิตคิดสบำย นุ่งห่มกรุยกรำยรำยทุกเวลำ
กนเหมือนกันกับหมำยไม่วำยรัก ที่ก่อนเก่ำแล้วกนชักประเชิญหน้ำ
ลองประเชิญแล้วกนเมินทุกเวลำ ลงเปนนผ้ำชุบอำบไม่เอื้อเฟื้อ
แต่ซักซักฟำดฟำดจนขำดวิ่น จนเปนนชิ้นเชนคใช้ไม่หลอเหลือ
ถึงจะเยนบตะเขนบขำดไม่พำดเจือ ให้เปนนเนื้อเดิมได้ดังก่อนมำ
เหมือนหญิงชำยจะตำยด้วยกันได้ จะเหนนใจหรือไม่จงไปข้ำงหน้ำ
ลิ้นกับฟันอยู่ด้วยกันเปนนอัตรำ ลงเวลำกนกระทบกระทั่งกัน
ส่วนพลำยแก้วกนได้ตอบว่ำ
เหมือนผ้ำเก่ำเศร้ำทรุดพิรุธนัก จะซักซ้ำเสียให้ขำดหำควรไม่
เปนนยกทองต้องตำกนอำลัย มิใช่ตำบัวปอกแลเมนดงำ
กว่ำจะได้นุ่งห่มบำรุงกำย มิใช่ง่ำยต่อตำมกันหนักหนำ
กับอนึ่งกนแพงแรงรำคำ ถึงเก่ำแล้วกนอุตส่ำห์ถนอมชม
ประจงใส่หีบหอมถนอมไว้ เมื่อมีงำนกำรใหญ่เปนนกำรสม
จึงหยิบคลี่ด้วยเปนนที่คนนิยม แล้วอบรมกลิ่นฟุ้งจรุงใจ
ถึงผ้ำอื่นผืนใหม่ได้มำมำก กนนุ่งลำกเสียดอกไม่ดีได้
ขอลำนวลจวนค่ำไม่ขืนใจ ทั้งอำลัยลำบำกจะจำกน้อง
...
อดข้ำวดอกนะเจ้ำชีวำวำย ไม่ตำยดอกเพรำะอดเสน่หำ
นำงก้มอยู่กับตักซบพักตรำ เฝ้ำวอนว่ำไหว้พลำงพ่อวำงพิ
ผ้ำตำมะกล่ำ ผ้ำตำเลนดงำ ผ้ำตำสมุก ผ้ำฝ้ำยสีคล้ำมีลำยเลนก ใช้เปนนผ้ำนุ่ง
ผ้ำบัวปอก ผ้ำฝ้ำยเนื้อหยำบ ชำวบ้ำนใช้ โดยเฉพำะผู้หญิงใช้เปนนผ้ำนุ่ง
ตลาดขายผ้า มีทั้งผ้าพื้นเมือง และผ้าต่างประเทศ ผ้าพื้นเมืองที่ส่งเข้ามาขายใน
กรุงศรีอยุธยา ตามที่ปรากฏว่า "คาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม" กล่าว
ว่า สินค้ามาจากเมืองนครราชสีมา คือ "ผ้าตาราง ผ้าลายบัวสี่คืบน่าเกบทอง
และผ้าตาบัวปอก ตาเลดงา" สินค้าจากเมืองพระตะบองคือ "ผ้าปูมแพรญวน"
และในกรุงศรีอยุธยาเอง ก็มีการทอผ้า เช่น "บ้านริมวัดลอดช่อง พวกแขกตานี
ทอผ้าไหม ผ้าด้ายเป็นผ้าพื้น ผ้าม่วงเกลี้ยงดอกขาย"
นางพิมด่าขุนช้าง
อ้ำยเจ้ำชู้ลอมปอมกระหม่อมบำง ลอยชำยลำกหำงเที่ยวเกี้ยวหมำ
ชิชะแป้งจันทร์น้ำมันทำ หย่งหน้ำสองแคมเหมือนหำงเปีย
หมำมันจะเกิดชิงหมำเกิด มึงไปตำยเสียเถิดไอ้ห้ำเบี้ย
หน้ำตำอย่ำงนี้จะมีเมีย อ้ำยมะม่วงหมำเลียไม่เจียมใจ
เหมือนแมลงปออวดอิทธ์ว่ำฤทธิ์สุด จะแข่งครุฑข้ำมอ่ำวทะเลใหญ่
ก้อนเส้ำหรือจะเท่ำเมรุไกร หิ่งห้อยไพรฤำจะแข่งแสงสุริยง
ชำติชั่วตัวดังนกตะกรุม จะเอื้อมอุ้มอิงอกวิหคหงส์
เขำสิงปองเล่นมุจลินท์ลง ตัวพะวงตมกลับทะนงใจ
นางทองประศรีสู่ขอนางพิมให้พลายแก้ว
ยำกยับอับจนเปนนพ้นรู้ อุตส่ำห์สู้บุกแฝกแบกหน้ำมำ
จะขอพันธุ์ฟักแฟงแตงน้ำเต้ำ ที่ออเจ้ำไปปลูกในไร่ข้ำ
ทั้งอัตคัดขัดสนจนเงินตรำ จะมำขำยออแก้วให้ช่วงใช้
อยู่คู่รองเท้ำนึกว่ำเกือกหนัง ไม่เชื่อฟังกนจะหำประกันให้
ได้บำกบั่นมำถึงเรียนอย่ำเบือนไป จะได้หรือไม่ให้ว่ำมำ
ถึงยำกจนอย่ำงไรกนไม่ว่ำ แต่พร้ำขัดหลังมำจะยกให้
อุตส่ำห์ทำมำหำกินไป รู้ทำรู้ได้ด้วยง่ำยดำย...
ถึงเงินทองเปนนพ่อแม่ให้ ไม่รู้จักรักษำไว้กนฉิบหำย
ดูจะขอถำมควำมท่ำนยำย ลูกชำยนั้นดีหรืออย่ำงไร
ไม่เล่นเบี้ยกินเหล้ำเมำกัญชำ ฝิ่นยำมันสูบบ้ำงฤำไม่....”
สะท้อนวัฒนธรรมการสู่ขอก่อนแต่งงาน ความเป็นอยู่ ค่านิยม นิยม
บุคคลที่มีความขยันหมั่นเพียร มีคุณธรรม ไม่ได้ตัดสินที่ทรัพย์สิน
สภาพสังคมที่มีสิ่งเสพติด
เจ้ำพลำยแก้วจึงว่ำเจ้ำเกลอเอ๋ย อย่ำถือเลยที่นำงพิมเรำรักใคร่
รู้ว่ำเปนนเมียเองกูเกรงใจ เอนนดูเถิดจงให้เสียแก่เรำ
ขุนช้ำงฟังว่ำทำหน้ำเก้อ นิจจำเกลอดอกหำไม่ให้เจ้ำ
แม้นเองไม่รักกูจักเอำ ว่ำแล้วกินเหล้ำเมำสำรำญ
ขุนช้างเป็นเพื่อนเจ้าบ่าว
ยกเมฆ เมฆดั้น คือการมองเมฆบนท้องฟ้ า
ถ้าหลับตาดูเรียกว่าเมฆดั้น
ถ้ากาหนดใจเรียกว่าเมฆจิต คือพิจารณาว่าเมฆเป็นรูปอะไร
เมฆฉายให้ดูเงาของเมฆ หากเป็นรูปพระนารายณ์ จระเข้ จะเป็น
เรื่องดี
ลมสูรย์ ลมจันทร์ หรือสุริยกลา จันทกลา
พิจารณาลมหายใจเข้าออก ลมหายใจทางช่องจมูกขวา
เป็นพระอาทิตย์ เรียกว่าสุริยกลา (ไม่ดี ) ให้สวดพระ
พุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังคคุณ
ลมหายใจจมูกซ้าย เป็นพระจันทร์ เรียกว่า จันทกลาซึ่งถ้า
ลมออกทางซ้ายเป็นเรื่องดี
ถ้าออกทั้งสองข้างเสมอกัน ถ้าจะเดินทาง ออกศึก ลม
หายใจออกทางใด ให้ยกเท้านั้น
คนจามข้างหน้านาเร่งเร็วไป จะมีชัยอย่าได้ขาม
คนจามเบื้องหลัง อย่าลีลา แม้นไปจะได้ทุกข์ ศัตรู
พบจะริษยา
คนจามอยู่เบื้องขวา ถ้าลีลาจะได้ทุกข์
วันทองทะเลาะกับนางลาวทอง
ถึงกระนั้นกนกำรอะไรใคร หรือช้ำงแกงมึงเข้ำไปจนคอหอย
ทุดอีลำวชำวป่ำขึ้นหน้ำลอย แม่จะต่อยเอำเลือดลงล้ำงตีน
เจนบไม่น้อยสักร้อยเท่ำ ดังใครเอำดำบฟำดให้ขำดวิ่น
สำยทองกับอีปลีทั้งอีจีน ปีนเรือนลงมำด้วยมำช่วยกู
เปนนไรเปนนนะไม่ละกัน ขุนแผนกั้นน้องวันทองอยู่
ลำวทองแอบหลังบังผัวดู พวกสำยทองกรูจะตบเอำ
อย่ำอย่ำวุ่นวำยเจ้ำสำยทอง เปนนไรน้องมำเปนนเช่นนี้เล่ำ
ชอบแต่จะปลอบนำงให้บำงเบำ อย่ำนะเจ้ำวันทองจงอดใจ
ไม่แล้วคะหม่อมไม่ฟังสิ้น ถึงพระอินทร์ลงมำห้ำมหำฟังไม่
หม่อมไม่เลี้ยงแล้วกนแล้วไป ฟำดฟันลงไว้ในนำวำ
ถึงผัวด่ำสักเท่ำไรกนไม่เถียง จะต่อยสักกี่เสี่ยงกนไม่ว่ำ
นี่อีลำวชำวดอนค่อนเจรจำ อีกินกิ้งก่ำกบจะตบมัน
ว่ำพลำงฉวยแขนเจ้ำลำวทอง ขุนแผนร้องอย่ำอย่ำเอำมือกั้น
ลำวทองหลีกหลบตบไม่ทัน ข่วนขุนแผนนั้นเข้ำเตนมมือ
เออกนดูเอำเถิดอะไรนี่ ไม่กลัวพี่บ้ำงเจียวทีเดียวหรือ
ยิ่งห้ำมยิ่งลำมดังไฟฮือ ดีกนดื้อเข้ำจะเปนนไร
ตีกนตีเข้ำเถิดเจ้ำพลำยแก้ว ผิดแล้วหำเคยเหนนเปนนเช่นนี้ไม่
เดี๋ยวนี้ฮึกฮักทำหนักไป จะเหำะได้แล้วกระมังกำลังมัว
เหนนเรำอะไรชังดังเหนนเสือ ถูกยำเบื่อแล้วหรือหม่อมเจ้ำจอมผัว
มันแขวะควักออกให้กิจจนสิ้นตัว ซำบทั่วขนเข้ำกระดูกดำ
ขุนแผนทะเลาะกับวันทอง
เอ๊ะเอำแล้วซิเจ้ำวันทอง เกินหนักแล้วน้องไม่เกรงผัว
ดึงดื้อถือผิดไม่คิดตัว ถึงมิกลัวกนจะเกรงบ้ำงเปนนไร
ชั่วดีพี่กนได้เปนนผัวเจ้ำ หำได้ช่วยเรำมำเปนนผัวไม่
อย่ำหนักไปนักมักขัดใจ มำตีปลำหน้ำไซให้เสียปลำ
ขำดเดนดเสรนจกันในวันนี้ ไม่อำลัยเท่ำปลำยก้อย
พระอินทร์ลงมำว่ำกนอย่ำคอย ที่วันทองนั้นจะถอยมำคืนดี
เหม่เหม่อีวันทองจองหองจ้ำน จะมำพำลเอำผิดกูหรือนี่
แรกลงมำคิดว่ำดี เดิมทีกนกนยังไม่รู้กล
แกล้งมำร้องไห้พิไรบอก ยักยอกไม่น้อยอีสร้อยสน
จับมึงได้สิ้นลิ้นกะลำวน จวนจนกลัวกูจะขึ้นไป
ฟันอ้ำยขุนช้ำงไว้กลำงบ้ำน มันรักผัวหัวล้ำนไม่นิ่งได้
พาลด่าลาวทองป้ องปิดไว้ จนได้ทะเลาะตัดรอนกู
ไม่ปรารถนาจะค้าคบ อีหน้าด้านพาลตลบน่าอดสู
ผัวไปยังไม่พ้นประตู คบชู้แช่เล่มไว้เต็มใจ
ตาแยเจ้าเอ๋ยมันแสนคัน จะเท่ามันคนนี้หามีไม่
กลากเกลื้อนขี้เรื้อนพรรนัย หยูกยาหาใส่ก็หายคัน
อีชาติชั่วเป็นตัวเท่าตัวหนอน ไชชอนดิบเดี้ยนจนตัวสั่น
ถึงจะหายาให้สิ้นถิ่นสุพรรณ วันเดียวก็จะสิ้นตารายา
มึงตายเสียเถิดวันทองเอ๋ย อย่าอยู่เลยชักดาบออกเงื้อง่า
กระทืบโผงผางกลางนาวา จิกหัวเอามาฆ่าให้ตาย ฯ
ขุนช้างได้นางวันทอง
วันทองถีบผำงเข้ำกลำงอก พลัดตกจำกเตียงเสียงดังผุง
ขุนช้ำงผุดกลับขึ้นทับพุง สำยมุ้งขำดสิ้นดิ้นแทบตำย
มุ้งพันวันทองดังไข่พอก กูหำยใจไม่ออกไอ้ฉิบหำย
ขุนช้ำงไขว่คว้ำในตำลำย มุ้งพันวุ่นวำยอยู่สิ้นที
..........
..........วันทองหมองศรีมีแต่ทุกข์ ข้ำงขุนช้ำงเปนนสุขสำรำญรื่น
รักนำงพ่ำงเพียงจะกล้ำกลืน หญิงอื่นหมื่นแสนพี่ไม่รัก
เงินทองไม่น้อยร้อยกระบุง พี่กนมุ่งจะให้เจ้ำเปนนบุญหนัก
ไปไหนกนมิให้เจ้ำเหนื่อยพัก ขี่คอผัวรักต่ำงช้ำงพลำย
ลาวทองเกิดลางร้าย
หนูกกจิ้งจกกระเจิงทัก แมงมุมทุ่มทรวงอกหาหยุดไม่
วิปริตผิดนักตระนักใจ ดังจะบอกเหตุให้ประจักษ์ตา
หนูร้อง
ร้องกุก ๆ จะมีลาภ ร้องสิ ๆ จะตายจากกัน ร้องขิก ๆ จะมีพี่น้องมา
หา
ร้องคุก ๆจะตีด่ากัน ร้องขีด ๆ จะมีลาภ
หนูกกคืออะไร
ตุ๊กแกร้อง
ร้องห้าครั้งจะมีเรื่องร้อน ทาให้เสียทรัพย์
ร้องหกครั้ง จะต้องพลัดพรากจากที่อยู่เพราะหนี้
และต้องเสียทรัพย์สินจนหมดตัว
ร้องเจ็ดครั้ง ดีมีทรัพย์ใช้ไม่ขาดมือ ข้าทาสก็จงรักภักดี
ร้องแปดครั้ง มีทรัพย์มากประกอบกิจพาณิชย์ร่ารวย
ร้องเก้าครั้ง ค้าขายคล่อง มีคนอุปถัมภ์ค้าจู
สะท้อนความเชื่อของคนไทยสมัยนั้น และแสดงให้
เห็นถึงลักษณะนิสัยของคนที่ช่างสังเกต ความผูกพัน
กับธรรมชาติ การอบรมสั่งสอนของคนสมัยก่อนที่จะ
ใช้อุบายในสอนการปฏิบัติตน
เอาเหล็กยอดพระเจดีย์มหาธาตุ ยอดปราสาททวารามาประสม
เหล็กขนันผีพรายตายทั้งกลม เหล็กตรึงโลงตรึงปั้นลมสลักเพชร
หอกสัมฤทธิ์กริชทองแดงพระแสงหัก เหล็กปฏักสลักประตูตะปูเห็ด
พร้อมเหล็กเบญจพรรณกัลเม็ด เหล็กบ้านพร้อมเสร็จทุกสิ่งแท้
เอาเหล็กไหลหล่อบ่อพระแสง เหล็กกาแพงน้าพี้ทั้งเหล็กแร่
ทองคาสัมฤทธิ์นากอแจ เงินที่แท้ชาติเหล็กทองแดงดง
เอามาสุมคุมควบเข้าเป็นแท่ง เผาให้แดงตีแผ่แช่ยาผง
ไว้สามวันซัดเหล็กนั้นเล็กลง ยังคงแต่พองามตามตารา
ซัดเหล็กครบเสร็จถึงเจ็ดครั้ง พอกระทั่งฤกษ์เข้าเสาร์สิบห้า
ก็ตัดไม้ปลูกศาลขึ้นเพียงตา แล้วจัดหาสารพัดเครื่องบัตรพลี”
ดีดาบฟ้ าฟื้น
ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้ำง
วันทองหมองแม้นเหมือนแหวนเพชร แตกเมนดกระจำยสิ้นเปนนสองสำม
จะผูกเรือนกนไม่รับกับเรือนงำม แม่จึงห้ำมหวงเจ้ำเพรำะเจนบใจ
เจ้าลืมนอนซ่อนพุ่มกระทุ่มต่า เด็ดใบบอนช้อนน้าที่ไร่ฝ้ าย
พี่เคี้ยวหมากเจ้าอยากพี่ยัง
คาย
แขนซ้ายคอดแล้วเพราะหนุน
นอน
เจ้ามาได้ผัวดีมีทรัพย์มาก
มาลืมเรือนเพื่อนยากแต่เก่า
ก่อน
หลงเชิงขุนช้างช่างชะอ้อน กอดท่อนซุงสักสาคัญคน"
"นี่ลาวทองจากห้องไป
แล้วฤๅ
จึงดึงดื้อเดือดมาเวลาค่า
ไม่ตามใจขัดใจจึงเพ้อพา นี่อดน้าแล้วสิเลี้ยวมากินตม"
ขุนแผนบริภาษนางวันทอง
กระนี้แลสมชื่อว่ำวันทอง เจ้ำแปดน้ำทำนองเนื้อกษัตริย์
จะพูดออกกลัวดอกจำปำพลัด ด้วยคำตัดวันนั้นเปนนมั่นคง
ฝ่ำยเจ้ำสิเจ้ำประมำทใจ กลับสัตย์ตัดได้โดยประสงค์
เรำคิดถึงควำมหลังเรำยังตรง พำซื่อรื้อหลงมำเรือนนำง
สำคัญจิตว่ำคิดอยู่บ้ำงเล่ำ ไม่ทันรู้ว่ำเจ้ำจะสิ้นอย่ำง
ตัดปลียังมีอำลัยยำง เจ้ำนี้จำงจืดแล้วกนลืมไป
เมื่อแรกเชื่อว่ำเนื้อทับทิมแท้ มำแปรเปนนพลอยหุงไปเสียได้
กำลวงนึกว่ำหงส์ให้ปลงใจ ด้วยมิได้ดูหงอนแต่ก่อนมำ
นึกว่ำหงส์จึงหลงด้วยลำยย้อม ช่ำงแปลงปลอมท่วงทีดีหนักหนำ
ดังรักถิ่นมุจลินท์ไม่คลำดคลำ ครั้นลับตำฝูงหงส์กนลงโคลน
สมมมมอมเคล้ำแต่เน่ำชั่ว เจ้ำถอนหัวเล่นได้ดั่งเล่นโขน
ครั้นรักรำกนให้ทำกลองตะโพน ครั้นรักโลนแล่นโลนให้คนดู
๑.ขำทั้งสองข้ำงต้องตีตรวน คือเอำเหลนกมำตีขดครอบข้อเท้ำทั้งสองข้ำง
แล้วเอำโซ่ล่ำมติดกันเอำไว้เสมือนดังนักโทษในปัจจุบันนี้
๒.มือทั้งสองข้ำงต้องใส่คำ คือเอำไม้ไผ่มำเจำะรู ๒ รู แล้วเอำมือสอด
เขำไปตรงรูทั้งสองนั้น มีสลักตอกเข้ำตรงกลำงระหว่ำงรูเพื่อกัน มิให้เอำมือออกมำ
ได้อีก
๓.คอต้องใส่พวงคอ คือเอำเหลนกมำขดรอบคอแล้วเอำโซ่ล่ำมไว้เหมือน
ล่ำมสุนัข
๔.นำขื่อมำใส่คอ คือเอำไม้ยำว มำขนำบเข้ำที่คอทั้งสองข้ำง แล้วเอำ
เชือกมัดไว้เหมือนขั้นกระได จะก้ม เงย หรือนอนได้ยำกยิ่ง
๕.นำโซ่มำล่ำมกับพวงคอและตรวน คือเอำมำล่ำมไว้ผูกกับเสำหรือ
เหลนกลูกกรงอีกทีหนึ่ง
จาครบห้า
ความเชื่อเรื่องไสยเวชการเรียนวิชาความรู้
๑ คงกระพัน
๒. ชาตรี
๓.แคล้วคลาด
๔.มหาอุด
๕.แต่งตน
เจ้าพลายแก้วก็เสกน้ามันให้ ทาไพร่ทานายสิ้นทั้งสาม
แต่งตนขึ้นมาสง่างาม ตามยามเลิศล้วนประสิทธิ์ดี
พระไวยทำร้ำยขุนช้ำงนำงพิมครวญ
โอ้พ่อร่มโพธิ์เตี้ยของเมียแก้ว พ่อตำยแล้วเมียเหนนจะเปนนผี
จะหำน้ำใจในบุรี เหนนสิ้นดีอยู่เพียงพ่อโพธิ์ทอง
อยู่มำเปนนสิบห้ำสิบหกปี คำน้อยหนึ่งไม่มีให้เมียหมอง
เมื่อคลอดลูกหนุนหลังนั่งประคอง เหนนเมียร้องพ่อกนร่ำพิไรวอน
เมื่อครำวเมียจับไข้ไม่กินข้ำว พ่อนั่งเฝ้ำเคียงคอยตะบอยป้อน (๘๑๑)
เหนนเมียไม่หลับใหลกนไม่นอน ครั้นหน้ำร้อนพ่อกนพัดกระพือลม
หน้ำหนำวหนำวเล่นตลอดอก พ่อกอดกกให้นอนซ่อนผ้ำห่ม
ครั้นหน้ำฝนฝนฝอยลงพรอยพรม ให้อยู่ร่มปิดรอบหน้ำต่ำงเรือน
ชำยใดในพื้นปฐพี กำรรักเมียนี้แล้วไม่มีเสมอเหมือน
รูปชั่วใจช่วงดังดวงเดือน นี่กรรมเตือนให้ตำมเมียมำตำย
สมเดนจพระพันวษำชำระควำมเรื่องนำงวันทอง แต่นำงวันทองตอบเปนนกลำง
ครำนั้นวันทองฟังรับสั่ง ให้ละล้ำละลังเปนนหนักหนำ
ครั้นจะทูลกลัวพระรำชอำชญำ ขุนช้ำงแลดูตำยักคิ้วลน
พระหมื่นไวยใช้ใบ้ให้แม่วำ บุ้ยปำกตรงบิดำเปนนหลำยหน
วันทองหมองจิตคิดเวียนวน เปนนจนใจนิ่งอยู่ไม่ทูลฯ
ครำนั้นพระองค์ทรงธรนินทร์ หำได้ยินวันทองทูลขึ้นไม่
พระตรัสควำมถำมซักไปในทันใด หรือไม่รักใคร่ให้ว่ำมำ
จะรักชู้ชังผัวกลัวอำย จะอยู่ด้วยถูกชำยกนไม่ว่ำ
ตำมใจกูจะให้ดั่งวำจำ แต่นี้เบื้องหน้ำขำดเดนดไป
นางวันทองรับพระราชโองการ ให้บันดาลบังจิตหาคิดไม่
กุศลดลมัวให้ชั่วใจ ด้วยสิ้นในอายุที่เกิดมา
คะนึงตะลึงตะลานอก ดังตัวตกพระสุเมรภูผา
อุทัจอัดอั้นตันอุรา เกรงผิดพายหน้าก็สุดคิด
ว่าจะรักขุนช้างกระไรได้ ที่จริงใจมิได้รักแต่สักนิด
พ่อห่วงลูกดังดวงชีวิต แม้นทูลผิดจะพิโรธไม่โปรดปราน
จาเลยจะทูลเป็นกลางไว้ ตามพระทัยท้าวจะแยกให้แตกฉาน
แล้วเท่านั้นมิทันนาน นางก้มกราบแล้วทูลไปฉับพลัน
“ความรักขุนแผนก็แสนรัก ด้วยร่วมรักมานักไม่เดียดฉันท์
สู้ลาบากบุกป่ ามาด้วยกัน สารพันอดออกถนอมใจ
ขุนช้างแต่อยู่ด้วยกันมา คาหนักหาได้ว่าให้เคืองไม่
เงินทองกองไว้ไม่ให้ใคร ข้าไทใช้สอยเหมือนของตัว
จมื่นไวยเล่าก็เลือดในอก ก็หยิบยกรักใคร่เท่ากันกับผัว”
ทูลพรางตัวนางระเริ่มรัว ความกลัวพระอาญาเป็นพ้นไป
สมเด็จพระพันวษาให้ประหารวันทอง
ครำนั้นพระองค์ผู้ทรงภพ ฟังจบแค้นคั่งดั่งเพลิงไหม้
จะว่ำรักข้ำงไหนไม่ว่ำได้ น้ำใจจะประดังเข้ำทั้งสอง
ออกนั่นเข้ำนี่มีสำรอง ยิ่งกว่ำท้องทะเลอันล้ำลึก
จอกแหนแพสำเภำใหญ่ จะทอดถมเท่ำไหร่ไม่รู้สึก
เหมือนมหำสมุทรสุดซึ้งซึก น้ำลึกเหลือจะหยั่งกระทั้งดิน
อิฐผำหำหำบมำทุ่มถม จะทอดถมเท่ำไหร่ไม่รู้สึก
อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนิลเกิดขึ้นในอำจม
รูปงำมนำมเพรำะน้อยไปหรือ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่ำเส้นผม
แต่ใจสัตว์มันยังมีที่นิยม สมำคมกนแต่ถึงฤดูมัน
มึงนี่ถ่อยยิ่งกว่ำถ่อยอีท้ำยเมือง จะเอำเรื่องไม่ได้สักสิ่งสรรพ์
ละโมบมำกตัณหำตำเปนนมัน สักร้อยพันให้มึงไม่ถึงใจ
ว่ำหญิงชั่วผัวยังครำวละคนเดียว หำตำมตอมกันเกรียวเหมือนมึงไม่
หนักแผ่นดินกูจะอยู่ใย อ้ำยไวยมึงอย่ำนักว่ำมำรดำ
............... ...............
หญิงกำลกิณีอีแพศยำ มันไม่น่ำเชยชิดพิสมัย
ที่รูปรวยสวยมำมีถมไป มึงตัดใจเสียเถิดอีคนนี้
เร่งเรนวหำยพระยำยมรำช ไปฟันฟำดเสียให้มันเปนนผี
อกเอำขวำนผ่ำอย่ำปรำณี อย่ำให้มีโลหิตติดดินกู
เอำใบตองรองไว้ให้หมำกิน ตกดินจะอัปรีย์กำลีอยู่
ฟันให้หญิงชำยทั้งหลำยดู สั่งเสรนจเสดนจสู่ปรำสำทชัย”
ครำนั้นขุนแผนแสนสะท้ำน ฟังลูกคิดอ่ำนกนเหนนได้
แต่ครั้นจับยำมดูรู้แจ้งใจ จึงว่ำกับพระไวยพ่อพลำยงำม
อัฐกำลพำลขัดอยู่หนักหนำ พ่อว่ำประหนึ่งจะชิงห้ำม
เจ้ำจะไปทูลขอดูกนตำม ในยำมว่ำองค์พระทรงชัย
เจ้ำไปทูลขอโทษคงโปรดแน่ แต่แม่เจ้ำหำพ้นจำกตำยไม่
ดูหน้ำหน้ำกนนวลจวนบรรลัย จะใกล้ในเวลำนี้เข้ำสี่โมง
ขีดชำตำลงดูกับแผ่นดิน กนขำดสิ้นเครำะห์ร้ำยเหนนตำยโหง
เสำร์ทับลัคนำกำจับโลง ยำมลิงล้วงโพรงจระเข้กิน
ใครต้องยำมนี้มิได้รอด พระไวยเหนนตลอดอยู่เสรนจสิ้น
สถำน 1 คือ ให้ต่อยกระบำนศีศะ เลิกออก แล้ว เอำคีมคีบก้อนเหลนกแดงใหญ่ใส่ลงไปใน
มันสะหมอง ศีศะพลุ่งฟู่ขึ้นดั่งม่อ เคี่ยวน้ำส้มพะอูม
สถำน 2 คือ ให้ตัดแต่หนังจำระ (จำก) เบื้องหน้ำถึงไพรปำกเบื้องบนทั้งสองข้ำงเปนน
กำหนด ถึงหมวกหู (ใบหู) ทั้งสองข้ำงเปนนกำหนด ถึงเกลียวคอชำยผมเบื้องหลังเปนน
กำหนด (หนังบริเวณคอถึงท้ำยทอย) แล้วให้มุ่นกระหมวดผมเข้ำทั้งสิ้น (ม้วนเข้ำหำกัน)
เอำท่อนไม้สอดเข้ำข้ำงละคน โยกคลอนสั่นเพิกหนังทั้งผมนั้นออกเสียแล้วเอำกรวดทรำย
หยำบขัดกระบำนศีศะชำระ ให้ขำวเหมือนพรรณศรีสังข์
สถำน 3 คือ ให้เอำขอเกี่ยวปำกให้อ้ำไว้แล้ให้ตำมประทีบ (ดวงไฟ) ไว้ในปำก ไนยหนึ่ง
(นัยหนึ่ง) เอำปำกสิวอันคมนั้นแสะแหวะผ่ำปำกจนหมวกหู (ใบหู) ทั้งสองข้ำง แล้วเอำขอ
เกี่ยวให้อ้ำปำกไว้ให้โลหิตไหลออกเตนมปำก
สถำน 4 คือ เอำผ้ำชุบน้ำมันพันให้ทั่วร่ำงกำยแล้วเอำเพลิงจุด
สถำน 5 คือ เอำผ้ำชุบน้ำมันพันนิ้วทั้งสิบนิ้วแล้วเอำเพลิงจุด
สถำน 6 คือ เชือดเนื้อให้เปนนแรงเปนนริ้วอย่ำให้ขำดจำกกัน ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงข้อเท้ำ
แล้วเอำเชือกผูกจำ ให้เดินเหยียบริ้วเนื้อริ้วหนังแห่งตน ให้ฉุดคร่ำตีจำให้เดินไป
กว่ำจะตำย
สถำน 7 คือ เชือดเนื้อหนังเปนนแร่งเปนนริ้ว ตั้งแต่ใต้คอลงมำถึงเอวและให้เชือดตั้งแต่เอว
ให้เเปนน ริ้วลงมำถึงข้อเท้ำกระทำหนังเบื้องบนให้คลุมลงมำเหมือนนุ่งผ้ำ
สถำน 8 คือ ให้เอำห่วงเหลนกสวมข้อศอกทั้งสองข้ำง ข้อเข่ำทั้งสองข้ำงให้มั่นแล้วเอำ
หลักสอดในวงเหลนกแย่งขึงตรึงลงไว้กับแผ่น ดินอย่ำให้ไหวตัวได้ แล้วเอำเพลิงรน
(ลน)ให้รอบตัวจนกว่ำจะตำย
สถำน 9 คือ ให้เอำเบนดใหญ่ที่มีคมสองข้ำงเกี่ยวทั่วร่ำงเพิก (เปิด) หนังเนื้อและเอนน
น้อยใหญ่ให้หลุดขำดออกมำจนกว่ำจะตำย
สถำน10 คือ ให้เอำมีดที่คมเชือดเนื้อให้ตกออกจำกกำยแต่ทีละตำลึง(นำเนื้อมำชั่งให้
ได้น้ำหนักหนึ่งตำลึง:มำตรำวัดสมัยโบรำณ) จนกว่ำจะสิ้นมังสำ (เนื้อ)
สถำน 11 คือ ให้แล่สับทั่วร่ำงแล้ว เอำแปรงหวีชุบน้ำแสบกรีด! รูดขูดเสำะหนังและ
เนื้อแลเอนนน้อยใหญ่ให้ลอกออกให้สิ้นให้อยู่แต่ร่ำงกระดูก
สถำน 12 คือ ให้นอนลงโดยข้ำง หนึ่งแล้วให้เอำหลำวเหลนกตอกลงไปโดยช่องหูให้
แน่นกับแผ่นดินแล้วจับขำทั้ง สองข้ำงหมุนเวียนไปดังบุคคลทำบังเวียน (เวียนเทียน)
สถำน 13 คือ ทำมิให้หนังพังหนังขำด แล้วเอำลูกสีลำ (ลูกหิน) บดทุกกระดูกให้แหลก
ย่อย แล้วรวบผมเข้ำทั้งสิ้น ยกขึ้นหย่อนลงกระทำให้เนื้อเปนนกองเปนนลอม แล้วพับห่อ
เนื้อหนังกับทั้งกระดูกนั้นทอดวำงไว้ดั่งตั่งอันทำด้วยฟำงซึ่งเอำ ไว้เชนดเท้ำ
สถำน 14 คือ ให้เคี่ยวน้ำมันให้เดือดพลุ่งพล่ำน แล้วลำดสำดลงมำแต่ศีศะ (ศีรษะ)
จนกว่ำจะตำย
สถำน 15 คือ ให้กักขังสุนัขร้ำยทั้งหลำยไว้อดอำหำรหลำยวันให้เตนมอยำกแล้วปล่อย
ให้กัดทึ้งเนื้อหนังกินให้เหลือแต่ร่ำงกระดูกเปล่ำ
สถำน 16 คือ ให้เอำขวำนผ่ำอกทั้งเปนนแหกออกดั่งโครงเนื้อ
สถำน 17 คือ ให้แทงด้วยหอกทีละน้อย จนกว่ำจะตำย
สถำน 18 คือ ให้ขุดหลุมฝังเพียงเอว แล้วเอำฟำงปกลงคลุมร่ำงก่อนคลอกด้วยเพลิงพอ
หนังไหม้แล้วไถด้วยไถเหลนก ให้เปนนท่อนน้อยท่อนใหญ่เปนนริ้วน้อยริ้วใหญ่
สถำน 19 คือ ให้เชือดเนื้อล่ำออกทอดด้วยน้ำมัน เหมือนทอดขนมให้ กินเนื้อตัวเอง
จนกว่ำจะตำย
สถำน 20 คือ ให้ตีด้วยตะบองสั้นตะบองยำวจนกว่ำจะตำย
สถำน 21 คือ ตีด้วยหวำยที่มีหนำมจนกว่ำจะตำย
๖. ภาษาเป็นเครื่องมือสะท้อนภาพวัฒนธรรม
ในอดีต
เช่น การใช้ การใช้คาว่า “ ทุ่ม โมง”
ไกลปืนเที่ยง
จุดไต้ตาตอ
อาภัพเหมือนปูน
พร้าขัดหลัง
เถียงคาไม่ตกฟาก
เนื้อไม่กินหนังไม่ได้รองนั่งเอากระดูกแขวนคอ
ผลดีของการใช้
ภาษาไทยให้
ถูกต้องตาม
วัฒนธรรม
๑.เป็นการรักษาวัฒนธรรมทาง
ภาษาของชาติให้ดารงอยู่
๓. ทาให้การสื่อสารมี
ประสิทธิภาพ
๒. แสดงถึงความมีวัฒนธรรม
ของคนในชาติ
๔. ทาให้บุคคลผู้ใช้ภาษาได้รับ
การยกย่องว่า มีวัฒนธรรมและ
ได้รับผลสาเร็จในการสื่อสาร
การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตาม
วัฒนธรรม๑. ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามแบบแผนของภาษาไทย
๒. ใช้ภาษาสุภาพ ไม่ใช้คาหยาบคายหรือคาผวนที่ทาให้ความหมาย
เป็นไปในทางหยาบ
๓. ใช้ภาษาให้ถูกต้อง ชัดเจน ในการพูดและการอ่านออกเสียง เพื่อการ
สื่อสารทาความเข้าใจกันได้ถูกต้อง เช่น การพูดอักขระ ร คาควบกล้าให้
ชัดเจน ไม่พูดว่า เรียน เป็นเลียน
๔. ใช้ภาษาเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ก่อให้เกิดความร่วมมือ ร่วม
ใจกัน
๕. ใช้ภาษาไทยถูกต้องตามกาลเทศะและเหมาะกับฐานะของบุคคล
๖. ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสานวนภาษา
๗. ไม่นาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้หากไม่จาเป็น การใช้ภาษาไทยให้
ถูกต้องตามวัฒนธรรม จะต้องใช้ภาษาไทยโดยไม่มีภาษาต่างประเทศที่ยังไม่มี
การยอมรับเข้ามาทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
๘.ใช้ภาษาไทยเพื่อสร้างสรรค์วรรณกรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับ
ภาษาไทย
๑.ภำษำไทยเปนนสิ่งที่บรรพชนคนไทยสร้ำงขึ้นกำหนดขึ้นเพื่อใช้
แทนวัตถุ แทนควำมคิด แทนอำรมณ์ควำมรู้สึกทั้งมวลในระบบ
วัฒนธรรมไทย
๒.ภำษำไทยเปนนมรดกที่ตกทอดมำจำกบรรพบุรุษ ถ้อยคำต่ำง ใน
ภำษำไทยถ่ำยทอดสร้ำงสมมำเรื่อยมำทุกช่วงอำยุคน
๓ ภำษำไทยมีกำรพัฒนำเปลี่ยนแปลงมำตลอด เช่น กำรใช้ถ้อยคำที่
เปลี่ยนแปลงไป
ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
ภาษาเป็นสิ่งที่บรรพบุรุษสร้างขึ้นใช้สื่อแทน
ความคิด
ภาษาเปลี่ยนแปลงได้
ตัวเป็น หมายถึง
ผีฟ้ า หมายถึง
น้ากัด หมายถึง
 แรงน่องหมายถึง
ตะแล็ปแก๊ป
 พลตระเวน
อาแดง หมายถึง
เป็นชิ้น หมายถึง
ภาษาเปลี่ยนแปลงมาตลอด
สัตว์
เทวดา
น้าแข็ง
จักรยาน
โทรเลข
ตารวจ
นางสาว
เป็นแฟน
๔ ภำษำไทยมีระดับ มีควำมแตกต่ำงกันในกลุ่มย่อย
๕ ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสาคัญที่สุดในการบันทึกและ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย
๖ ภำษำไทยเปนนเครื่องสะท้อนให้เหนนวัฒนธรรมไทย โดย
กำรอำศัยภำษำไทยเปนนเครื่องมือ
๗ ภาษาไทยสัมพันธ์กับวัฒนธรรมไทยในแง่ที่ว่า การใช้
ภาษาในสังคมไทยนั้นขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม เช่น วัฒนธรรม
ในการใช้ระดับภาษา
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับ
ภาษาไทย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว Terapong Piriyapan
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...Pitchayakarn Nitisahakul
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
โน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิต
โน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิตโน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิต
โน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิตMethiSrikharot1
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4pageสไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 

La actualidad más candente (20)

หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
 
วิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยายวิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยาย
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
โน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิต
โน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิตโน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิต
โน้ตเพลงโหมโรงปฐมดุสิต
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4pageสไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 

Similar a วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2kruthirachetthapat
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)Nok Yaowaluck
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1Yota Bhikkhu
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 

Similar a วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓) (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 

Más de Milky' __

วัฒนธธรรม ตอน ๒ (๕๗)
วัฒนธธรรม ตอน ๒  (๕๗)วัฒนธธรรม ตอน ๒  (๕๗)
วัฒนธธรรม ตอน ๒ (๕๗)Milky' __
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Milky' __
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียMilky' __
 

Más de Milky' __ (7)

วัฒนธธรรม ตอน ๒ (๕๗)
วัฒนธธรรม ตอน ๒  (๕๗)วัฒนธธรรม ตอน ๒  (๕๗)
วัฒนธธรรม ตอน ๒ (๕๗)
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
World civ
World civ World civ
World civ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 

วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)