SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 45
Descargar para leer sin conexión
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อาหารกับการดารงชีวิต
เรื่อง สารอาหารน่ารู้เคียงคู่การบริโภคอย่างฉลาด
รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โดย
นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ครูคศ.1
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวิชา ว 22102 รายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อาหารกับการดารงชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สารอาหารน่ารู้เคียงคู่การบริโภคอย่างฉลาด เวลา 5 ชั่วโมง
********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ
ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
2. ตัวชี้วัดชั้นปี(เป้ าหมายการเรียนรู้)
ว 1.1 ม 2/5 ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่
เหมาะสมกับเพศและวัย
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การบริโภคอาหารจาเป็นต้องให้ได้สารอาหาร ที่ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และได้รับ
ปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย พร้อมทั้งนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ทดสอบแป้ ง น้าตาล โปรตีน ไขมันและวิตามินซีได้(P)
4.2 อธิบายแนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และ
ได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย (K)
4.3 อธิบายวัตถุเจือปนและสารปนเปื้อนในอาหารที่มักพบในชีวิตประจาวัน (K)
4.4. ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกบริโภคอาหารที่จาเป็นต้องให้ได้สารอาหารที่
ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอ(A)
5. สาระการเรียนรู้
5.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ทดสอบแป้ ง น้าตาล โปรตีน ไขมันและวิตามินซี
- แนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และ
ได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
- ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกบริโภคอาหาร
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
6.1 ความสามารถในการสื่อสาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
7.2 มีวินัย
7.3 แสวงหาความรู้
7.4 อยู่อย่างพอเพียง
7.5 รักความเป็นไทย
7.6. มีจิตสาธารณะ
8. ชิ้นงาน/ภาระงาน
8.1 ใบงานที่ 1 รายงานการทดลอง เรื่อง การตรวจสอบสารอาหาร
8.2 ใบงานที่ 2 รายงานการทดลอง เรื่อง การทดสองวิตามินซี
8.3 ใบงานที่ 3 รายงานการทดลอง เรื่อง การบันทึกรายการอาหาร
8.4 ใบงานที่ 4 รายงานการทดลอง เรื่อง สารวจผลิตภัณฑ์อาหาร
8.5 แบบบันทึกหลังการเรียนรู้
9. กิจกรรมการเรียนรู้
(การจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 E)
1.ขั้นสร้างความสนใจ
- นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างอาหารจานโปรดที่ตนเองชื่นชอบพร้อมเหตุผลประกอบ
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง อาหารมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร
2.ขั้นสารวจและค้นหา
- นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทาค้นหาความรู้เพิ่มเติมใน เรื่องอาหารและสารอาหาร
- นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการทดลองเรื่อง ทดสอบสารอาหาร โดยยึดหลักคิด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม (พอประมาณในเวลา การใช้สื่อ/อุปกรณ์การทดลองที่
เหมาะสม,มีเหตุผลในการถูกต้องทาการทดลองตามขั้นตอนและใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง,สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีใน
ตัวในการวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ รู้จักการวางแผน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
เป็นผู้นาใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง) เงื่อนไขความรู้ เรื่อง อาหารและสารอาหาร เงื่อนไข
คุณธรรม ความเพียร,ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, ความประหยัด
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
- นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทาค้นหาความรู้เพิ่มเติมใน เรื่องวิตามินซี
- นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการทดลอง เรื่อง การทดสอบวิตามินซี โดยยึด
หลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม (พอประมาณเวลาการใช้สื่อ/อุปกรณ์การทดลองที่
เหมาะสม,มีเหตุผลในการถูกต้องทาการทดลองตามขั้นตอนและใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง,สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีใน
ตัวในการวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ รู้จักการวางแผน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
เป็นผู้นาใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง) เงื่อนไขความรู้ เรื่อง การทดสอบวิตามินซี เงื่อนไข
คุณธรรม ความเพียร,ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, ความประหยัด
- นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทาค้นหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร
- นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการ เรื่อง บันทึกรายการอาหาร โดยยึดหลักคิด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม (พอประมาณในเวลา การใช้สื่อ/อุปกรณ์การทากิจกรรมที่
เหมาะสม,มีเหตุผลในการถูกต้องทาการบันทึกและนาเสนอในรูปแบบนิทรรศการ,สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวใน
การวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ รู้จักการวางแผน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็น
ผู้นาใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง) เงื่อนไขความรู้ เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร เงื่อนไขคุณธรรม
ความเพียร,ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, ความประหยัด
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
- เมื่อแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปผลจากการทากิจกรรมการทดลอง เรื่อง ทดสอบสารอาหาร,เรื่อง
การทดสอบวิตามินซี และเรื่อง บันทึกรายการอาหาร
4. ขั้นขยายความรู้
- นักเรียนสารวจผลิตภัณฑ์อาหารที่ขายในโรงเรียนหรือร้านค้าที่นักเรียนส่วนใหญ่ชอบซื้อรับประทานและ
ศึกษาหาความรู้ฉลากของผลิตภัณฑ์อาหาร
- นาข้อมูลผลจากการสารวจมาวิเคราะห์ว่ามีการเติมแต่งสารต่างๆชนิดใดบ้างและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
อย่างไรบ้างและนาเสนอแนวทางในการเลือกบริโภคอย่างปลอดภัย (สร้างภูมิคุ้มกัน)
- นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เรื่อง ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกบริโภคอาหารที่
จาเป็นต้องให้ได้สารอาหารที่ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และได้รับปริมาณพลังงานที่
เพียงพอ
10. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
4. ห้องสมุด
5. ห้องปฏิบัติวิทยาศาสตร์
6. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
7. ห้องศูนย์แหล่งเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
11. การวัดและประเมินผล
11.1 วิธีการวัด
11.1.1 ตรวจใบงาน
11.1.2 แบบบันทึกการเรียนรู้
11.1.3 ประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.1.4 ประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.2 เครื่องมือวัด
11.2.1 แบบประเมินใบงาน
11.2.2 แบบประเมินแผนผังความคิด
11.2.3 แบบประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.3.4แบบประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
การวัดผลและประเมินผล
ประเด็นที่ประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล
ความรู้ความเข้าใจเรื่อง
แนวทางการบริโภค
อาหารให้ได้สารอาหาร
ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสม
กับเพศและวัย และได้รับปริมาณ
พลังงานที่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
วัตถุเจือปนและสารปนเปื้อน
ในอาหารที่มักพบใน
ชีวิตประจาวัน
- ตรวจใบงาน
-ตรวจแบบทดสอบ
ใบงาน
แบบทดสอบ
- ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
- ประเมินทักษะ/กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ผ่านการทา
กิจกรรมทดลอง
- ตรวจการรายงานการทดลอง
-แบบประเมินทักษะกระบวนการ
การทดลอง
- ใบงาน
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม - ประเมินการทางานกลุ่ม - แบบประเมินการทางานกลุ่ม
- คุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยม
- สังเกตจากพฤติกรรมการเรียน
และการร่วมกิจกรรมในชั้น
เรียน
- แบบประเมินด้านคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
เอกสารประกอบ
แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้
ประเด็น /หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เนื้อหา กาหนดเนื้อหาได้สอดคล้องกับ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด และ
เหมาะสมกับเวลา วัย
ความสามารถของนักเรียน
และบริบทของท้องถิ่น
-เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้
ตรงตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัดและครบถ้วนตาม
กระบวนการบรรลุตาม
เป้าหมายการศึกษา
-ลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหา
ยาก เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
ง่าย อยากเรียนรู้
-เตรียมเนื้อหาในการเรียนรู้
ให้ครอบคลุมตามมาตรฐาน
และตัวชี้วัด
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่าน
เกณฑ์มาตรฐาน
เวลา กาหนดเวลาได้เหมาะสม กับ
เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้
-เพื่อให้จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่
กาหนด ตรงตาม
โครงสร้างหลักสูตร
-ส่งเสริมให้นักเรียนทา
กิจกรรมอย่างมี
ประสิทธิภาพ
-มีการจัดสรรเวลาเพิ่ม
สาหรับนักเรียนที่ไม่
สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้
ตามขั้นตอน เช่น การสอน
ซ่อมเสริม
วิธีการจัดกิจกรรม ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้
เหมะสมสาหรับนักเรียนเพื่อ
นาสู่เป้ าหมาย และเหมาะสม
กับความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและสภาพนักเรียน
เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
เพื่อให้มีแนวทางเทคนิค
วิธีในการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับนักเรียน
-มีแนวทางการพัฒนา
ปรับปรุงวิธีสอนในครั้ง
ต่อไป
แหล่งเรียนรู้ เลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม
กับกิจกรรม เนื้อหา และความ
สนใจของนักเรียน
-ส่งเสริมการใช้แหล่ง
เรียนรู้ในโรงเรียนและ
นอกโรงเรียน
-เสริมสร้างให้นักเรียน
เข้าใจในบทเรียนได้ง่าย
ขึ้น
-มีความพร้อมในการ
จัดการเรียนรู้ และเป็นไป
ตามแผน
- ประหยัดเวลาและ
ระยะทางในการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
เอกสารประกอบ
แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้
ประเด็น /หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สื่อ/อุปกรณ์ -เลือกสื่อที่เหมาะสมกับ
เป้าหมาย เนื้อหา
กิจกรรมการเรียนรู้ และ
ความสนใจของนักเรียน
-ครูเตรียมสื่อให้เพียงพอ
กับจานวนนักเรียน
-เพื่อกระตุ้นความสนใจของ
นักเรียน
-เสริมสร้างให้นักเรียน
เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น
-เตรียมสื่อ/อุปกรณ์สารอง
-ครูเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ได้
เหมาะสมกับนักเรียน
-ลดภาระการอธิบายของครู
- เพิ่มความรู้ความเข้าใจที่เป็น
รูปธรรมที่ชัดเจน
การประเมินผล -ออกแบบการวัดและ
ประเมินผลได้เหมาะสม
กับตัวชี้วัด กิจกรรม และ
นักเรียน
-เพื่อประเมินนักเรียนตรง
ตามสภาพจริง หรือเป้าหมาย
ที่ต้องการรู้
-ศึกษาและสร้างเครื่องมือ
วัดผลให้ตรงตามตัวชี้วัด
และผ่านการตรวจสอบคุณภาพ
ความรู้ที่ครู
จาเป็นต้องมี
ครูมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอน จิตวิทยาการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. บริบทโรงเรียนและชุมชน
คุณธรรมของครู มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีความอดทน อยู่อย่าพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ผลที่เกิดกับนักเรียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านเรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
-นักเรียนใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมได้
เหมาะสมตามลาดับขั้นตอน
-นักเรียนแบ่งหน้าที่การทางานภายใน
กลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของ
แต่ละคน
-นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์การทดลองที่มี
อยู่อย่างประหยัด และคุ้มค่า
-ปฏิบัติกิจกรรมได้
ครบถ้วน ตามขั้นตอนและ
สาเร็จตามเป้าหมาย
-แก้ปัญหาในการทางานให้
สาเร็จตามเป้าหมาย
นักเรียนสามารถเห็นถึง
ความสาคัญของการอนุรักษ์
ทรัพยากรดินบริโภคอาหาร
- นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจในแนวทางการ
บริโภคอาหารให้ได้
สารอาหารครบถ้วนใน
สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ
และวัย และได้รับปริมาณ
พลังงานที่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
-รู้จักการวางแผน การทา
งานอย่างเป็นระบบให้
ประสบความสาเร็จ
-ปรับตัวในการทางานกับ
เพื่อนพร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลงในสังคม
- นักเรียนรู้จักปฏิบัติตน
ในการบริโภคอาหารให้
ได้สารอาหารครบถ้วนใน
สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ
และวัย และได้รับปริมาณ
พลังงานที่เพียงพอกับ
ความต้องการของร่างกาย
ความรู้ นักเรียนมีความรู้ เรื่อง แนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสม
กับเพศและวัยและได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
คุณธรรม นักเรียน
- มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ ความมีระเบียบวินัย
- มีมุ่งมั่นในการทางาน
- มีความสามัคคี
- ความเสียสละเพื่อส่วนรวม - พอเพียงประหยัดอดออม
- จิตวิทยาศาสตร์
- มีจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก การรักษ์สิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ด้านนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
ด้าน/องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้
มีความรู้ในการเลือกใช้
วัสดุ อุปกรณ์การ
ทดลองให้คุ้มค่าและ
ประหยัด
มีความรู้ในการ
วางแผนงานและการ
ทางานร่วมกันเป็น
กลุ่ม
มีความรู้ในการ
รักษาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรดิน
- นักเรียนรู้จัก
ปฏิบัติตนใน
การบริโภค
อาหารให้ได้
สารอาหาร
ครบถ้วนใน
สัดส่วนที่
เหมาะสมกับเพศ
และวัย และไม่
มีวัตถุเจือปน
ทักษะ
-มีทักษะในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์อย่างประหยัด
และคุ้มค่า
-การเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ได้อย่าง
เหมาะสม
-มีทักษะในการ
ทางานร่วมกับผู้อื่น
-มีทักษะในการ
นาเสนอและ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีทักษะในการ
รักษาสิ่งแวดล้อม
ใกล้ตัว
- มีทักษะ การ
ปฏิบัติ ทดสอบ
สารอาหารและ
สิ่งเจือปนใน
อาหาร
ค่านิยม
-มีความตระหนักใน
การนาวัสดุอุปกรณ์มา
ใช้ในการปฏิบัติงานให้
คุ้มค่า
-ตระหนักถึงความ
รับผิดชอบต่อหน้าที่
การทางานในกลุ่ม -
ยอมรับความคิดเห็น
ซึ่งกันและกัน
ตระหนักถึง
ความสาคัญของ
ทรัพยากรดิน
- เกิดค่านิยม
ในการเลือก
บริโภคอาหาร
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ภาคผนวก
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ใบงาน เรื่อง การทดสอบสารอาหาร
สมาชิกในกลุ่ม
1. ……………………………………………..5…………………………………………………….
2……………………………………………….6……………………………………………………
3……………………………………………….7……………………………………………………
4……………………………………………….10………………………………………………….
จุดประสงค์................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
สมมติฐาน................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น..............................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตัวแปรตาม...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม.....................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
อุปกรณ์
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
วิธีทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ตารางบันทึกผลการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
การประยุกต์ใช้นาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ใบงาน เรื่อง การทดสอบวิตามินซี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ……………………………………………..5…………………………………………………….
2……………………………………………….6……………………………………………………
3……………………………………………….7……………………………………………………
4……………………………………………….10………………………………………………….
จุดประสงค์................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
สมมติฐาน................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น..............................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ตัวแปรตาม...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม.....................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
อุปกรณ์
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
วิธีทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ตารางบันทึกผลการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
การประยุกต์ใช้นาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ใบงาน เรื่อง บันทึกรายการอาหาร
จุดประสงค์................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
บันทึกผล
อภิปรายผล
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผล
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ
ทักษะการปฏิบัติการทดลอง
1. องค์ประกอบที่ 5 การสรุปผลการทดลอง
ระดับคุณภาพ คะแนน
สรุปผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 4
สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ชัดเจนและครอบคลุมแต่ยังขาดความกระชับ 3
สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องบางส่วน ยังขาดความกระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 2
สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องน้อย ไม่ความกระชับ ไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุม 1
2. องค์ประกอบที่ 6 การดูแลและเก็บอุปกรณ์เครื่องมือ
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ 4
ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและแต่ยังเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการในบาง
รายการ
3
ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 2
ไม่ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 1
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
25 - 30 คะแนน = ดีมาก (4)
19 - 24 คะแนน = ดี (3)
13- 18 คะแนน = พอใช้ (2)
7 -12 คะแนน = ปรับปรุง (1)
1 - 6 คะแนน = ต้องปรับปรุง (0)
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ใบงาน เรื่อง สารวจผลิตภัณฑ์อาหาร
จุดประสงค์................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
บันทึก ผล
อภิปรายผล
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผล
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
อาหาร (food) คือ สิ่งที่รับประทานได้ ไม่เป็นพิษ และได้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกาย ช่วยให้
ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง มีความต้านทานโรค เช่น ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ไข่ดาว ขนมปัง
หมูทอดกระเทียม
สารอาหาร (nutrient) คือ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบของอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ได้แก่
1. สารอาหารที่ให้พลังงาน ได้แก่ โปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต
2. สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน แร่ธาตุ น้า
คาร์โบไฮเดรต เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
คาร์โบไฮเดรตที่มีในอาหารจาแนกตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมีได้เป็น 2 พวกดังนี้
1. น้าตาล ได้แก่คาร์โบไฮเดรตที่มีรสหวานและละลายน้าได้ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
1.1 มอโนแซ็กคาร์ไรด์ (monosaccharide)หรือน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็น
คาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กที่สุดซึ่งร่างกายไม่สามารถย่อยได้อีก ตัวอย่างของน้าตาลชนิดนี้เช่น กลูโคส
(glucose) ฟรักโทส (fructose) กาแลกโทส (galactose)
1.2 ไดแซ็กคาร์ไรด์ (disaccharide)หรือน้าตาลโมเลกุลคู่ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่แตกตัว
ให้มอโนแซ็กคาร์ไรด์จานวน 2 โมเลกุล ตัวอย่างน้าตาลชนิดนี้เช่นซูโครส (sucrose) หรือน้าตาลทราย
ประกอบด้วย กลูโคสและฟรักโทส แลกโทส(lactose) ประกอบด้วยกลูโคสและ
กาแลกโทส มอลโทส (maltose) ประกอบด้วยกลูโคส 2 โมเลกุล
บัตรเนื้อหาที่ 1
เรื่อง สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
2. พวกที่ไม่ใช่น้าตาล เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเชิงซ้อน เรียกว่า พอลิแซ็กคาร์ไรด์
(polysaccharide) หรือน้าตาลโมเลกุลใหญ่ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีรสหวาน เกิดจากโมเลกุลของมอ
โนแซ็กคาร์ไรด์จานวนมากมาเกาะกัน เมื่อแตกตัวจะให้มอโนแซ็กคาร์ไรด์จานวนหลายโมเลกุล ตัวอย่างเช่น
แป้ ง เซลลูโลส ไกลโคเจน
รูปที่1 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th
คาร์โบไฮเดรตจะอยู่ในรูปของแป้ งและน้าตาล ซึ่งพบมาในข้าว ขนมปัง ผัก และผลไม้ นม และ
ผลิตภัณฑ์จากนม ส่วนเครื่องดื่มประเภทน้าหวาน น้าอัดลม มีแต่พลังงานจากน้าตาลไม่มีสารอาหาร
ประเภทวิตามิน โปรตีน และไขมัน จึงไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทั้งนี้บุคคลที่ต้องการพลังงาน 2,100 กิโล
แคลอรี ต่อ 1 วัน ควรได้รับคาร์โบไฮเดรตประมาณ 300 กรัม ต่อ 1 วัน สาหรับคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายใช้ไม่
หมด ร่างกายจะเปลี่ยนสภาพให้เป็นไกลโคเจนเก็บไว้ที่ตับ และเปลี่ยนเป็นไขมันสะสมไว้ใต้ผิวหนังเป็นชั้น
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรตที่สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้นั้นจะต้องมีโครงสร้างของโมเลกุล
โดยเฉพาะ ซึ่งคาร์โบไฮเดรตที่มีโครงสร้างดังกล่าวส่วนใหญ่ ได้แก่ มอโนแซ็กคาร์ไรด์ บางชนิด
ดังนั้นหากน้าตาลทรายที่จาหน่ายทั่วไปในท้องตลาดซึ่งส่วนใหญ่เป็นซูโครสมาทดสอบกับ
สารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าในการทดสอบเมื่ออุ่นสารละลายนานเกินไป น้าตาล
ทรายบางส่วนอาจเปลี่ยนไปเป็นโมโนแซ็กคาร์ไรด์และเกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ ทาให้เกิด
ตะกอนสีส้มแดงเล็กน้อยหรือสารละลายมีสีเขียวอมเหลืองได้
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
บัตรเนื้อหาที่ 2
เรื่อง สารอาหารประเภทโปรตีน
โปรตีน เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีโมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่ากรดอะมิโน
จานวนมาก โปรตีนธรรมชาติมีกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบอยู่ประมาณ 22 ชนิดแต่ละชนิดมีโครงสร้าง
ต่างกัน ความแตกต่างในการเรียงลาดับและสัดส่วนที่รวมตัวกันของกรดอะมิโน ต่างชนิดกัน ทาให้เกิด
เป็นโปรตีนชนิดต่างๆ มากมาย ซึ่งแต่ละชนิดมีคุณค่าทางอาหารแตกต่างกัน โปรตีนชนิดใดจะมีคุณค่าทาง
อาหารมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับว่าโปรตีนชนิดนั้นย่อยสลายได้ง่ายและมีกรดอะมิโนที่จาเป็นครบถ้วนหรือไม่
กรดอะมิโนที่จาเป็น คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นเองได้แต่ต้องได้จาก
อาหารที่กินเข้าไปเท่านั้น กรดอะมิโนที่พบในโปรตีนธรรมชาติประมาณ 22 ชนิดนี้เป็นกรด อะมิโนที่
จาเป็น 8 ชนิด ที่เหลือเป็นกรดอะมิโนที่ไม่จาเป็น ซึ่งนอกจากจะได้จากอาหารแล้วร่างกายยังสามารถ
สังเคราะห์ขึ้นเองได้ด้วย
โปรตีนเป็นสารอาหารหลักที่สาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อร่างกายในการสร้างเซลล์เนื้อเยื่อ
ต่างๆ และเป็ นส่วนประกอบสาคัญของเอนไซม์ ฮอร์โมน เฮโมโกลบิน และแอนติบอดีหรือ
ภูมิคุ้มกัน ร่างกายของคนเรามีโปรตีนอยู่ประมาณร้อยละ 20 ของน้าหนักตัว โปรตีนนอกจากจะจาเป็น
ต่อการเจริญเติบโตของร่างกายแล้ว ยังให้พลังงานแก่ร่างกายอีกด้วย โดยมาเผาผลาญให้เกิดพลังงาน
ทดแทน แต่ในกรณีที่ร่างกายได้รับคาร์โบไฮเดรตและไขมันอย่างเพียงพอแล้วร่างกายจะสงวนโปรตีนไว้ใช้
เพื่อเสริมสร้างการเจริญเติบโตและหน้าที่สาคัญอื่นๆ
ในวันหนึ่งๆ ร่างกายคนเราควรจะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนในปริมาณ1 กรัมต่อน้าหนัก
ร่างกาย 1 กิโลกรัม แต่ขึ้นอยู่กับวัย เพศ และสภาพของร่างกายด้วยในวันหนึ่งๆร่างกาย แต่ละวัยมีความ
ต้องการสารอาหารประเภทโปรตีนมากน้อยต่างกันอย่างไรนักเรียนสามารถศึกษาได้จากตารางต่อไปนี้
อาหารที่มีกรดอะมิโนชนิดจาเป็นครบถ้วน และมีคุณค่า
โปรตีนสูง ได้แก่ ถั่วเหลือง ปลาทู เนื้อ ไข่ไก่ทั้งฟอง
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
ตาราง 1 แสดงปริมาณโปรตีนที่ร่างกายของคนในวัยต่างๆ ต้องการต่อวัน
อายุ น้าหนัก (กิโลกรัม ) ปริมาณโปรตีน (กรัม / วัน )
ทารก 3 - 5 เดือน
6 - 12 เดือน
เด็ก 1 - 3 ปี
4 - 6 ปี
7 - 9 ปี
ชาย 10 - 12 ปี
13 - 15 ปี
16 - 19 ปี
หญิง 10 - 12 ปี
13 - 15 ปี
16 - 19 ปี
ชาย 20 +
ปี
หญิง 20+
ปี
6
7 - 8
12
16
22
29
42
54
31
44
48
58
50
13
14
17
21
26
34
50
57
37
49
45
51
44
รูปที่ 2 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีน
ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th
แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีน ได้แก่ เนื้อ นม ไข่ และพืชจาพวกถั่ว รวมทั้ง
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเนื้อ นม ไข่ และถั่ว นอกจากนี้เรายังพบโปรตีนในพืชชนิดอื่นๆอีก เช่น ข้าว
เจ้า ข้าวเหนียว ข้าวสาลี ข้าวโพดเหลือง เป็นต้น แต่พบในปริมาณน้อย
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
บัตรเนื้อหาที่ 3
เรื่อง สารอาหารประเภทไขมัน
ไขมัน เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายสูงกว่าคาร์โบไฮเดรตและโปรตีน นอกจากนั้นยัง
ช่วยในการดูดซึมวิตามินบางชนิด ในร่างกายจะพบไขมันในบริเวณใต้ผิวหนังและรอบอวัยวะภายในต่างๆ
ไขมันประกอบด้วย กลีเซอรอล และ กรดไขมัน ซึ่งมีธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็น
องค์ประกอบ ไขมัน แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้
1. ไขมันอิ่มตัว หากร่างกายมีไขมันชนิดนี้มากเกินไป จะทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอด
เลือดหัวใจตีบตัน ไขมันอิ่มตัวพบมากในเนื้อสัตว์ที่มีสีแดง มันสัตว์ หนังสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง กุ้ง ปู
หอยต่าง ๆ นมและผลิตภัณฑ์จากนม
2. ไขมันไม่อิ่มตัว เป็นไขมันที่ช่วยลดการดูดซึมไขมันอิ่มตัวได้ และยังช่วยป้ องกันโรคหลอดเลือด
หัวใจตีบตัน พบมากในถั่ว เต้าหู้ เห็ด และน้ามันพืช
เนื่องจากความต้องการพลังงานของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน ผู้ที่ต้องการพลังงานวันละ 2,100
กิโลแคลอรี ควรได้รับไขมันรวมได้ไม่เกิน 65 กรัม ไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 20 กรัม และ คอเลสเตอรอลไม่เกิน
300 มิลลิกรัม หากร่างกายใช้ไขมันในอาหารที่รับประทานเข้าไปไม่หมด ร่างกายจะเก็บสะสมไว้ในรูป
ไขมัน ซึ่งจะเห็นเป็นชั้นไขมันใต้ผิวหนัง การกินอาหารที่มีไขมันมากเกินไป จะทาให้เกิดโรคอ้วนได้ และยัง
เสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่นๆ อีกหลายโรค เช่น โรคหัวใจ และโรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น
รูปที่ 3 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทไขมัน
ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
บัตรเนื้อหาที่ 4
เรื่อง สารอาหารประเภทวิตามิน
วิตามิน เป็นสารอินทรีย์ที่มีความสาคัญต่อการทางานของระบบต่าง ๆ ร่างกายต้องการวิตามินใน
ปริมาณไม่มากนัก แต่เมื่อขาดวิตามินจะส่งผลให้เกิดภาวะผิดปกติเนื่องจากความบกพร่องของกระบวนการ
เคมีภายในร่างกาย
อาหารที่เรารับประทานมีวิตามินหลายชนิด วิตามินแต่ละชนิดมีสมบัติและความสาคัญต่อร่างกาย
แตกต่างกัน
ตารางแสดงประเภทของวิตามิน
วิตามิน แหล่งอาหาร
ปริมาณที่
ต้องการใน
1 วัน
(อายุ12-15 ปี)
ประโยชน์
อาการเมื่อ
ขาดวิตามิน
A ผักที่มีสีเหลือง เช่น
ฟักทอง มะเขือเทศ
ตับ ไข่แดง นม เนย
0.75 mg รักษาสุขภาพของ
ผิวหนัง บารุง
สายตา ช่วยให้
ต่อมน้าตาทางาน
เป็นปกติ
นัยน์ตาแห้ง ตา
อักเสบ ผิวหนัง
แห้ง
D นม น้ามันตับปลา
ไข่ ผิวหนัง ร่างกาย
สร้างเองได้เมื่อได้รับ
แสงแดด
ขึ้นอยู่กับปริมาณ
แสงแดดที่ได้รับ
ช่วยให้กระดูก
และฟันมีสุขภาพ
ดี
เป็นโรค
กระดูกอ่อน
E ตับ พืชใบเขียว
ไขมันจากพืช เช่น
ข้าวโพด ถั่วลิสง
10 mg ไม่เป็นหมัน
เซลล์เม็ดเลือด
แดงแข็งแรง
เป็นหมัน
(พบในสัตว์
เช่น หมู)
วิตามินเป็นสิ่งที่ร่างกายต้องการ
ในปริมาณที่จากัด ถ้าได้รับมากหรือ
น้อยเกินไปจะทาให้เกิดโรคได้นะ
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
รูปที่ 4 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทวิตามิน
ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th
วิตามิน แหล่งอาหาร
ปริมาณที่
ต้องการใน
1 วัน
(อายุ12-15
ปี)
ประโยชน์
อาการเมื่อขาด
วิตามิน
B –
Complex
(บีรวม)
B1, B2
B6, B12
กรดโฟลิก
ไข่ นม ตับ ยีสต์
ข้าวซ้อมมือ
ถั่วเหลือง ปลา
เนื้อสัตว์ เมล็ด
ธัญพืช ผัก
และผลไม้
25 mg - บารุงสมอง
- ช่วยการทางาน
ระบบหายใจ
- การทางานของหัวใจ
- การเจริญเติบโตใน
เด็กเป็นไปอย่างปกติ
โรคเกี่ยวกับสมอง
ประสาทโรคหัวใจ
ผิวหนังแห้ง
ปากนกกระจอก
ประสาทเสื่อม
การเจริญเติบโต
หยุดชะงัก
โลหิตจาง
C ผลไม้สกุลส้ม
หอมหัวใหญ่
มะเขือเทศ
กะหล่าปลี
มะละกอ
30 mg - รักษาสุขภาพของ
ผิวหนัง
- ช่วยให้หลอดเลือด
แข็งแรง
- ช่วยให้ร่างกาย
ต้านทานโรคได้ดี
มีเลือดออกตาม
ไรฟัน หลอดเลือด
ฝอยเปราะ
เป็นหวัดได้ง่าย
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
บัตรเนื้อหาที่ 5
เรื่อง สารอาหารประเภทแร่ธาตุและน้า
แร่ธาตุ เป็นสารอนินทรีย์ที่มีความจาเป็นต่อร่างกาย เนื่องจากเป็นส่วนประกอบของสารหลาย
ชนิดที่มีความสาคัญต่อการทาหน้าที่ของเซลล์และอวัยวะต่างๆ ตลอดจนเป็นส่วนประกอบหลักในอวัยวะ
เช่น กระดูกและฟัน และเป็นสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ไม่ให้พลังงาน ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย แต่
ขาดไม่ได้
ตารางแสดงประเภทของเกลือแร่
แร่ธาตุ แหล่งอาหาร
ปริมาณที่
ต้องการใน
1 วัน
(อายุ12-15 ปี)
ประโยชน์
แคลเซียม นม ไข่ เนย ผักใบเขียว 1,200 mg ช่วยให้ฟันและกระดูกแข็งแรง
ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
ควบคุมการทางานของหัวใจ
กล้ามเนื้อ และระบบประสาท
ฟอสฟอรัส เนื้อสัตว์ ไข่ นม พืชผัก
ต่าง ๆ
1,200 mg ทางานร่วมกับแคลเซียมเป็น
ส่วนประกอบของกระดูกและฟัน
ช่วยสร้างเซลล์สมอง
ไอโอดีน อาหารทะเล เกลือทะเล 0.15 mg ช่วยในการเจริญเติบโต ป้ องกัน
โรคคอพอก
เหล็ก ตับ เนื้อสัตว์ ไข่แดง 12 mg เป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน
ในเซลล์เม็ดเลือดแดง
แมกนีเซียม ผักสีเขียว 250 mg ช่วยการทางานของระบบประสาท
โซเดียม เนื้อวัว นม ปลา
เกลือแกง
1,500 mg ช่วยในการทางานของระบบ
ประสาท รักษาปริมาณน้าในเลือด
และเซลล์ให้คงที่
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
น้า เป็นสารอาหารที่จาเป็นต่อสิ่งมีชีวิตในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นองค์ประกอบร้อยละ 50-70
ของน้าหนักตัว โดยทั่วไปเพศชายมีน้าในร่างกายมากกว่าเพศหญิง
ปัญหาชวนคิด
สมมติว่านักเรียนอยู่ในเรือนักท่องเที่ยว และเรือกาลังจะล่ม ผู้คนกาลังลงเรือ ช่วยชีวิต ซึ่งมี
พื้นที่จากัดสาหรับการนาของไปได้ 1 อย่าง ดังต่อไปนี้
ผลไม้ 1 ถุง ไก่ย่าง 1 ตัว ข้าว 1 ถ้วย และ น้า 1 ขวด
นักเรียนคิดว่าคนส่วนใหญ่จะเลือกหยิบสิ่งใด เพราะอะไร
คาตอบ.................................................................................................................................
น้า
เป็นสารอาหารที่สาคัญมาก
ต่อการดารงชีวิต
เป็นตัวทาละลายและลาเลียง
อาหารที่ย่อยแล้ว
ช่วยควบคุมอุณหภูมิ
ของร่างกาย
ในภาวะปกติควรดื่มน้าให้ได้
วันละ 2 ลิตร
ช่วยกาจัดของเสียออกทาง
เหงื่อและปัสสาวะ
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
บัตรกิจกรรมที่ 1
เรื่อง อาหารประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนการทดสอบสารอาหารให้เข้าใจก่อนทาการทดลอง
2. ให้นักเรียนตอบคาถามและบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน
3. ใช้เวลาในการทากิจกรรม 50 นาที คะแนน 15 คะแนน
ปัญหา……………………………………………………………………
…………………............
สมมติฐาน…………………………………………………………………
……………….............
ตัวแปรต้น.............................................................................................................................
ตัวแปรตาม...........................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม......................................................................................................................
จุดประสงค์
1. ทดสอบก๊าซและของเหลวที่ได้จากการเผาอาหารได้
2. บอกชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสารอาหารได้
วัสดุอุปกรณ์
1. ใบผักบุ้งสด
2. แป้ งมัน
3. ไข่ขาวสุก
4. น้าตาลทราย
5. ตะเกียงแอลกอฮอล์
6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 4 หลอด
7. หลอดทดลองขนาดเล็ก 4 หลอด
8. จุกยางปิดปากหลอดทดลองที่มีหลอดนาก๊าซเสียบอยู่
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
9. สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)/2)
10. จุนสีสะตุ
11. แท่งแก้ว
12. บีกเกอร์
13. ช้อนเบอร์ 2
14. ขาตั้ง
15. ที่จับหลอดทดลอง
วิธีดาเนินการทดลอง
1. ใส่ผักบุ้งสด 1 ช้อน เบอร์ 2 ลงในหลอดทดลองขนาดใหญ่
2. ปิดปากหลอดทดลองด้วยจุกยางที่มีหลอดนาก๊าซเสียบอยู่ ให้ปลายหลอดนาก๊าซอีกข้างหนึ่งจุ่ม
ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก ซึ่งมีสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)/2) ประมาณ 2 ลูกบาศก์
เซนติเมตรบรรจุอยู่
3. เผาใบผักบุ้งสดลงในหลอดประมาณ 2 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในหลอดทดลอง
4. ใช้แท่งแก้วแตะหยดของเหลวที่ติดค้างอยู่ในหลอดทดลอง แล้วนามาแตะกับจุนสีสะตุ สังเกตการ
เปลี่ยนแปลง บันทึกผล
5. ทาการทดลองซ้า ข้อ 1-4 แต่เปลี่ยนใบผักบุ้งสดเป็นแป้ งมัน ไข่ขาวสุกบด น้าตาลทราย
ตามลาดับ สังเกต และบันทึกผล
ตารางบันทึกผลการทดลอง
อาหาร
ลักษณะของอาหาร การเปลี่ยนแปลงของ
ก่อนเผา หลังเผา
สารละลาย
(Ca(OH)/2)
จุนสีสะตุ
ใบผักบุ้งสด
แป้ งมัน
ไข่ขาวสุกบด
น้าตาลทราย
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
คาถามหลังการทดลอง
1. สารที่เกิดขึ้นจากการเผาอาหารมีกี่สถานะ อะไรบ้าง
ตอบ..................................................................................................................
2. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารทั้ง 4 ชนิด ในการทดลองนี้คือ
ตอบ..................................................................................................................
3. สารที่ใช้ในการทดสอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คือ
ตอบ..................................................................................................................
4. ถ้านาถั่วลิสงบดมาเผาในหลอดทดลอง สารที่เกิดขึ้นหลังจากการเผาจะเป็นสารชนิดใด
เพราะเหตุใด
ตอบ..................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
.......................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
...........................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
แนวคาตอบบัตรกิจกรรมที่ 1
เรื่องอาหารประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง
ปัญหา อาหารแต่ละชนิดประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง
สมมติฐาน อาหารประกอบด้วยธาตุองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ธาตุ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
ตัวแปรต้น ชนิดของอาหาร
ตัวแปรตาม ธาตุองค์ประกอบที่พบ
ตัวแปรควบคุม เวลาที่ใช้ในการเผาสารอาหารแต่ละชนิด ปริมาณสารอาหาร
ตารางบันทึกผลการทดลอง
อาหาร
ลักษณะของอาหาร การเปลี่ยนแปลงของ
ก่อนเผา หลังเผา
สารละลาย
(Ca(OH)/2)
จุนสีสะตุ
ใบผักบุ้งสด
ชิ้นเล็กๆ สีเขียว เป็นสีดา
มีของเหลวไม่มีสี
มีก๊าซ
สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด
แป้ งมัน
ผงละเอียดสี
ขาว
ก้อนสีดา
มีของเหลวไม่มีสี
มีก๊าซ
สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด
ไข่ขาวสุกบด
สีขาวนิ่ม สีน้าตาลดา
มีของเหลวไม่มีสี
มีก๊าซ
สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด
น้าตาลทราย
ผลึกสีขาวเล็กๆ สีน้าตาลดา เหนียว
มีของเหลวไม่มีสี
มีก๊าซ
สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
คาถามหลังการทดลอง
1. สารที่เกิดขึ้นจากการเผาอาหารมีกี่สถานะ อะไรบ้าง
ตอบ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
2. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารทั้ง 4 ชนิด ในการทดลองนี้คือ
ตอบ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
3. สารที่ใช้ในการทดสอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คือ
ตอบ สารลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)/2) หรือน้าปูนใส
4. ถ้านาถั่วลิสงบดมาเผาในหลอดทดลอง สารที่เกิดขึ้นหลังจากการเผาจะเป็นสารชนิดใด
เพราะเหตุใด
ตอบ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน เพราะถั่วลิสงจัดเป็นสารอาหารประเภทโปรตีน
สรุปผลการทดลอง
1. สิ่งที่เหลืออยู่ในหลอดทดลองเมื่อเผาอาหารแล้วมีสีดาเหมือนกันคือ คาร์บอน
2. เมื่อนาอาหารมาเผาจะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และน้า
3. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทาปฏิกิริยากับน้าปูนใสจะขุ่น ส่วนน้าจะเปลี่ยนสีของ
จุนสีสะตุ
4. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสารอาหารคือคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1
บัตรกิจกรรมที่ 2
เรื่อง การทดสอบสารอาหารบางประเภทในอาหาร
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนการทดสอบสารอาหารให้เข้าใจก่อนทาการทดลอง
2. ให้นักเรียนตอบคาถามและบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน
3. ใช้เวลาในการทากิจกรรม 50 นาที คะแนน 15 คะแนน
จุดประสงค์
1. จาแนกประเภทของสารอาหารตามสมบัติบางประการได้
2. สรุปสมบัติของสารอาหารบางประเภทได้
3. บอกแหล่งที่มาของสารอาหารบางประเภทได้
ปัญหา……………………………………………………………………
…………………............
สมมติฐาน…………………………………………………………………
……………….............
ตัวแปรต้น.............................................................................................................................
ตัวแปรตาม...........................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม......................................................................................................................
วัสดุอุปกรณ์
1. อาหารที่ต้องการทดสอบ 3 ชนิด
2. สารละลายไอโอดีน
3. สารละลายเบเนดิกต์
4. สารละลายไบยูเร็ต
5. น้ากลั่น
6. หลอดทดลองขนาดกลาง 4 หลอด ต่ออาหาร 1 ชนิด
7. ชั้นวางหลอดทดลอง
อยากทราบไหมคะว่าอาหาร แต่
ละชนิดมีวิธีการทดสอบอย่างไร
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบินแบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบินChanabodee Ampalin
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 

La actualidad más candente (20)

แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบินแบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 

Similar a 6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง

แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 

Similar a 6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง (20)

แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 

Más de Wareerut Hunter

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 Wareerut Hunter
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยWareerut Hunter
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^Wareerut Hunter
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 

Más de Wareerut Hunter (18)

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทย
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 

6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อาหารกับการดารงชีวิต เรื่อง สารอาหารน่ารู้เคียงคู่การบริโภคอย่างฉลาด รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา ว 22102 รายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อาหารกับการดารงชีวิต แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สารอาหารน่ารู้เคียงคู่การบริโภคอย่างฉลาด เวลา 5 ชั่วโมง ******************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต 2. ตัวชี้วัดชั้นปี(เป้ าหมายการเรียนรู้) ว 1.1 ม 2/5 ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่ เหมาะสมกับเพศและวัย 3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การบริโภคอาหารจาเป็นต้องให้ได้สารอาหาร ที่ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และได้รับ ปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย พร้อมทั้งนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 ทดสอบแป้ ง น้าตาล โปรตีน ไขมันและวิตามินซีได้(P) 4.2 อธิบายแนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และ ได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย (K) 4.3 อธิบายวัตถุเจือปนและสารปนเปื้อนในอาหารที่มักพบในชีวิตประจาวัน (K) 4.4. ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกบริโภคอาหารที่จาเป็นต้องให้ได้สารอาหารที่ ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอ(A) 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ทดสอบแป้ ง น้าตาล โปรตีน ไขมันและวิตามินซี - แนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และ ได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย - ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกบริโภคอาหาร
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 7.2 มีวินัย 7.3 แสวงหาความรู้ 7.4 อยู่อย่างพอเพียง 7.5 รักความเป็นไทย 7.6. มีจิตสาธารณะ 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 8.1 ใบงานที่ 1 รายงานการทดลอง เรื่อง การตรวจสอบสารอาหาร 8.2 ใบงานที่ 2 รายงานการทดลอง เรื่อง การทดสองวิตามินซี 8.3 ใบงานที่ 3 รายงานการทดลอง เรื่อง การบันทึกรายการอาหาร 8.4 ใบงานที่ 4 รายงานการทดลอง เรื่อง สารวจผลิตภัณฑ์อาหาร 8.5 แบบบันทึกหลังการเรียนรู้ 9. กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 E) 1.ขั้นสร้างความสนใจ - นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างอาหารจานโปรดที่ตนเองชื่นชอบพร้อมเหตุผลประกอบ - นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง อาหารมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร 2.ขั้นสารวจและค้นหา - นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทาค้นหาความรู้เพิ่มเติมใน เรื่องอาหารและสารอาหาร - นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการทดลองเรื่อง ทดสอบสารอาหาร โดยยึดหลักคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม (พอประมาณในเวลา การใช้สื่อ/อุปกรณ์การทดลองที่ เหมาะสม,มีเหตุผลในการถูกต้องทาการทดลองตามขั้นตอนและใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง,สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีใน ตัวในการวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ รู้จักการวางแผน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นผู้นาใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง) เงื่อนไขความรู้ เรื่อง อาหารและสารอาหาร เงื่อนไข คุณธรรม ความเพียร,ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, ความประหยัด
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 - นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทาค้นหาความรู้เพิ่มเติมใน เรื่องวิตามินซี - นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการทดลอง เรื่อง การทดสอบวิตามินซี โดยยึด หลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม (พอประมาณเวลาการใช้สื่อ/อุปกรณ์การทดลองที่ เหมาะสม,มีเหตุผลในการถูกต้องทาการทดลองตามขั้นตอนและใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง,สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีใน ตัวในการวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ รู้จักการวางแผน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นผู้นาใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง) เงื่อนไขความรู้ เรื่อง การทดสอบวิตามินซี เงื่อนไข คุณธรรม ความเพียร,ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, ความประหยัด - นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทาค้นหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร - นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการ เรื่อง บันทึกรายการอาหาร โดยยึดหลักคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม (พอประมาณในเวลา การใช้สื่อ/อุปกรณ์การทากิจกรรมที่ เหมาะสม,มีเหตุผลในการถูกต้องทาการบันทึกและนาเสนอในรูปแบบนิทรรศการ,สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวใน การวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ รู้จักการวางแผน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็น ผู้นาใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง) เงื่อนไขความรู้ เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร เงื่อนไขคุณธรรม ความเพียร,ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, ความประหยัด 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป - เมื่อแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปผลจากการทากิจกรรมการทดลอง เรื่อง ทดสอบสารอาหาร,เรื่อง การทดสอบวิตามินซี และเรื่อง บันทึกรายการอาหาร 4. ขั้นขยายความรู้ - นักเรียนสารวจผลิตภัณฑ์อาหารที่ขายในโรงเรียนหรือร้านค้าที่นักเรียนส่วนใหญ่ชอบซื้อรับประทานและ ศึกษาหาความรู้ฉลากของผลิตภัณฑ์อาหาร - นาข้อมูลผลจากการสารวจมาวิเคราะห์ว่ามีการเติมแต่งสารต่างๆชนิดใดบ้างและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อย่างไรบ้างและนาเสนอแนวทางในการเลือกบริโภคอย่างปลอดภัย (สร้างภูมิคุ้มกัน) - นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เรื่อง ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเลือกบริโภคอาหารที่ จาเป็นต้องให้ได้สารอาหารที่ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และได้รับปริมาณพลังงานที่ เพียงพอ 10. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. ห้องสมุด 5. ห้องปฏิบัติวิทยาศาสตร์ 6. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 7. ห้องศูนย์แหล่งเรียนรู้
  • 5. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 11. การวัดและประเมินผล 11.1 วิธีการวัด 11.1.1 ตรวจใบงาน 11.1.2 แบบบันทึกการเรียนรู้ 11.1.3 ประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.1.4 ประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.2 เครื่องมือวัด 11.2.1 แบบประเมินใบงาน 11.2.2 แบบประเมินแผนผังความคิด 11.2.3 แบบประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.3.4แบบประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 การวัดผลและประเมินผล ประเด็นที่ประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล ความรู้ความเข้าใจเรื่อง แนวทางการบริโภค อาหารให้ได้สารอาหาร ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสม กับเพศและวัย และได้รับปริมาณ พลังงานที่เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย วัตถุเจือปนและสารปนเปื้อน ในอาหารที่มักพบใน ชีวิตประจาวัน - ตรวจใบงาน -ตรวจแบบทดสอบ ใบงาน แบบทดสอบ - ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ - ประเมินทักษะ/กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ผ่านการทา กิจกรรมทดลอง - ตรวจการรายงานการทดลอง -แบบประเมินทักษะกระบวนการ การทดลอง - ใบงาน - ทักษะกระบวนการกลุ่ม - ประเมินการทางานกลุ่ม - แบบประเมินการทางานกลุ่ม - คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม - สังเกตจากพฤติกรรมการเรียน และการร่วมกิจกรรมในชั้น เรียน - แบบประเมินด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์
  • 7. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 เอกสารประกอบ แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ ประเด็น /หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เนื้อหา กาหนดเนื้อหาได้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัด และ เหมาะสมกับเวลา วัย ความสามารถของนักเรียน และบริบทของท้องถิ่น -เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ ตรงตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัดและครบถ้วนตาม กระบวนการบรรลุตาม เป้าหมายการศึกษา -ลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหา ยาก เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ง่าย อยากเรียนรู้ -เตรียมเนื้อหาในการเรียนรู้ ให้ครอบคลุมตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด - นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน เวลา กาหนดเวลาได้เหมาะสม กับ เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ -เพื่อให้จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่ กาหนด ตรงตาม โครงสร้างหลักสูตร -ส่งเสริมให้นักเรียนทา กิจกรรมอย่างมี ประสิทธิภาพ -มีการจัดสรรเวลาเพิ่ม สาหรับนักเรียนที่ไม่ สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ ตามขั้นตอน เช่น การสอน ซ่อมเสริม วิธีการจัดกิจกรรม ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้ เหมะสมสาหรับนักเรียนเพื่อ นาสู่เป้ าหมาย และเหมาะสม กับความแตกต่างระหว่าง บุคคลและสภาพนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อให้มีแนวทางเทคนิค วิธีในการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับนักเรียน -มีแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงวิธีสอนในครั้ง ต่อไป แหล่งเรียนรู้ เลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กับกิจกรรม เนื้อหา และความ สนใจของนักเรียน -ส่งเสริมการใช้แหล่ง เรียนรู้ในโรงเรียนและ นอกโรงเรียน -เสริมสร้างให้นักเรียน เข้าใจในบทเรียนได้ง่าย ขึ้น -มีความพร้อมในการ จัดการเรียนรู้ และเป็นไป ตามแผน - ประหยัดเวลาและ ระยะทางในการเรียนรู้
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 เอกสารประกอบ แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ ประเด็น /หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี สื่อ/อุปกรณ์ -เลือกสื่อที่เหมาะสมกับ เป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ และ ความสนใจของนักเรียน -ครูเตรียมสื่อให้เพียงพอ กับจานวนนักเรียน -เพื่อกระตุ้นความสนใจของ นักเรียน -เสริมสร้างให้นักเรียน เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น -เตรียมสื่อ/อุปกรณ์สารอง -ครูเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ได้ เหมาะสมกับนักเรียน -ลดภาระการอธิบายของครู - เพิ่มความรู้ความเข้าใจที่เป็น รูปธรรมที่ชัดเจน การประเมินผล -ออกแบบการวัดและ ประเมินผลได้เหมาะสม กับตัวชี้วัด กิจกรรม และ นักเรียน -เพื่อประเมินนักเรียนตรง ตามสภาพจริง หรือเป้าหมาย ที่ต้องการรู้ -ศึกษาและสร้างเครื่องมือ วัดผลให้ตรงตามตัวชี้วัด และผ่านการตรวจสอบคุณภาพ ความรู้ที่ครู จาเป็นต้องมี ครูมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอน จิตวิทยาการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. บริบทโรงเรียนและชุมชน คุณธรรมของครู มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีความอดทน อยู่อย่าพอเพียง
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ผลที่เกิดกับนักเรียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านเรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้ หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -นักเรียนใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมได้ เหมาะสมตามลาดับขั้นตอน -นักเรียนแบ่งหน้าที่การทางานภายใน กลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของ แต่ละคน -นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์การทดลองที่มี อยู่อย่างประหยัด และคุ้มค่า -ปฏิบัติกิจกรรมได้ ครบถ้วน ตามขั้นตอนและ สาเร็จตามเป้าหมาย -แก้ปัญหาในการทางานให้ สาเร็จตามเป้าหมาย นักเรียนสามารถเห็นถึง ความสาคัญของการอนุรักษ์ ทรัพยากรดินบริโภคอาหาร - นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการ บริโภคอาหารให้ได้ สารอาหารครบถ้วนใน สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ และวัย และได้รับปริมาณ พลังงานที่เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย -รู้จักการวางแผน การทา งานอย่างเป็นระบบให้ ประสบความสาเร็จ -ปรับตัวในการทางานกับ เพื่อนพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงในสังคม - นักเรียนรู้จักปฏิบัติตน ในการบริโภคอาหารให้ ได้สารอาหารครบถ้วนใน สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ และวัย และได้รับปริมาณ พลังงานที่เพียงพอกับ ความต้องการของร่างกาย ความรู้ นักเรียนมีความรู้ เรื่อง แนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสม กับเพศและวัยและได้รับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย คุณธรรม นักเรียน - มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ ความมีระเบียบวินัย - มีมุ่งมั่นในการทางาน - มีความสามัคคี - ความเสียสละเพื่อส่วนรวม - พอเพียงประหยัดอดออม - จิตวิทยาศาสตร์ - มีจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก การรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ด้านนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ด้าน/องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ มีความรู้ในการเลือกใช้ วัสดุ อุปกรณ์การ ทดลองให้คุ้มค่าและ ประหยัด มีความรู้ในการ วางแผนงานและการ ทางานร่วมกันเป็น กลุ่ม มีความรู้ในการ รักษาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรดิน - นักเรียนรู้จัก ปฏิบัติตนใน การบริโภค อาหารให้ได้ สารอาหาร ครบถ้วนใน สัดส่วนที่ เหมาะสมกับเพศ และวัย และไม่ มีวัตถุเจือปน ทักษะ -มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างประหยัด และคุ้มค่า -การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่าง เหมาะสม -มีทักษะในการ ทางานร่วมกับผู้อื่น -มีทักษะในการ นาเสนอและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีทักษะในการ รักษาสิ่งแวดล้อม ใกล้ตัว - มีทักษะ การ ปฏิบัติ ทดสอบ สารอาหารและ สิ่งเจือปนใน อาหาร ค่านิยม -มีความตระหนักใน การนาวัสดุอุปกรณ์มา ใช้ในการปฏิบัติงานให้ คุ้มค่า -ตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ การทางานในกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน ตระหนักถึง ความสาคัญของ ทรัพยากรดิน - เกิดค่านิยม ในการเลือก บริโภคอาหาร
  • 12. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ใบงาน เรื่อง การทดสอบสารอาหาร สมาชิกในกลุ่ม 1. ……………………………………………..5……………………………………………………. 2……………………………………………….6…………………………………………………… 3……………………………………………….7…………………………………………………… 4……………………………………………….10…………………………………………………. จุดประสงค์................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ สมมติฐาน................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ตัวแปรตาม........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ตัวแปรควบคุม..................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... อุปกรณ์ ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… วิธีทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ตารางบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… การประยุกต์ใช้นาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
  • 14. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ใบงาน เรื่อง การทดสอบวิตามินซี สมาชิกในกลุ่ม 1. ……………………………………………..5……………………………………………………. 2……………………………………………….6…………………………………………………… 3……………………………………………….7…………………………………………………… 4……………………………………………….10…………………………………………………. จุดประสงค์................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ สมมติฐาน................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ตัวแปรตาม........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ตัวแปรควบคุม..................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... อุปกรณ์ ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… วิธีทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ตารางบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… การประยุกต์ใช้นาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทากิจกรรม ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………
  • 16. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ใบงาน เรื่อง บันทึกรายการอาหาร จุดประสงค์................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ บันทึกผล อภิปรายผล ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผล ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………
  • 17. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ทักษะการปฏิบัติการทดลอง 1. องค์ประกอบที่ 5 การสรุปผลการทดลอง ระดับคุณภาพ คะแนน สรุปผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 4 สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ชัดเจนและครอบคลุมแต่ยังขาดความกระชับ 3 สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องบางส่วน ยังขาดความกระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 2 สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องน้อย ไม่ความกระชับ ไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุม 1 2. องค์ประกอบที่ 6 การดูแลและเก็บอุปกรณ์เครื่องมือ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ 4 ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและแต่ยังเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการในบาง รายการ 3 ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 2 ไม่ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 1 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 25 - 30 คะแนน = ดีมาก (4) 19 - 24 คะแนน = ดี (3) 13- 18 คะแนน = พอใช้ (2) 7 -12 คะแนน = ปรับปรุง (1) 1 - 6 คะแนน = ต้องปรับปรุง (0)
  • 18. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ใบงาน เรื่อง สารวจผลิตภัณฑ์อาหาร จุดประสงค์................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ บันทึก ผล อภิปรายผล ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผล ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 อาหาร (food) คือ สิ่งที่รับประทานได้ ไม่เป็นพิษ และได้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกาย ช่วยให้ ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง มีความต้านทานโรค เช่น ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ไข่ดาว ขนมปัง หมูทอดกระเทียม สารอาหาร (nutrient) คือ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบของอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. สารอาหารที่ให้พลังงาน ได้แก่ โปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต 2. สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน แร่ธาตุ น้า คาร์โบไฮเดรต เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ คาร์โบไฮเดรตที่มีในอาหารจาแนกตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมีได้เป็น 2 พวกดังนี้ 1. น้าตาล ได้แก่คาร์โบไฮเดรตที่มีรสหวานและละลายน้าได้ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1.1 มอโนแซ็กคาร์ไรด์ (monosaccharide)หรือน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็น คาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กที่สุดซึ่งร่างกายไม่สามารถย่อยได้อีก ตัวอย่างของน้าตาลชนิดนี้เช่น กลูโคส (glucose) ฟรักโทส (fructose) กาแลกโทส (galactose) 1.2 ไดแซ็กคาร์ไรด์ (disaccharide)หรือน้าตาลโมเลกุลคู่ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่แตกตัว ให้มอโนแซ็กคาร์ไรด์จานวน 2 โมเลกุล ตัวอย่างน้าตาลชนิดนี้เช่นซูโครส (sucrose) หรือน้าตาลทราย ประกอบด้วย กลูโคสและฟรักโทส แลกโทส(lactose) ประกอบด้วยกลูโคสและ กาแลกโทส มอลโทส (maltose) ประกอบด้วยกลูโคส 2 โมเลกุล บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
  • 20. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 2. พวกที่ไม่ใช่น้าตาล เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเชิงซ้อน เรียกว่า พอลิแซ็กคาร์ไรด์ (polysaccharide) หรือน้าตาลโมเลกุลใหญ่ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีรสหวาน เกิดจากโมเลกุลของมอ โนแซ็กคาร์ไรด์จานวนมากมาเกาะกัน เมื่อแตกตัวจะให้มอโนแซ็กคาร์ไรด์จานวนหลายโมเลกุล ตัวอย่างเช่น แป้ ง เซลลูโลส ไกลโคเจน รูปที่1 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th คาร์โบไฮเดรตจะอยู่ในรูปของแป้ งและน้าตาล ซึ่งพบมาในข้าว ขนมปัง ผัก และผลไม้ นม และ ผลิตภัณฑ์จากนม ส่วนเครื่องดื่มประเภทน้าหวาน น้าอัดลม มีแต่พลังงานจากน้าตาลไม่มีสารอาหาร ประเภทวิตามิน โปรตีน และไขมัน จึงไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทั้งนี้บุคคลที่ต้องการพลังงาน 2,100 กิโล แคลอรี ต่อ 1 วัน ควรได้รับคาร์โบไฮเดรตประมาณ 300 กรัม ต่อ 1 วัน สาหรับคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายใช้ไม่ หมด ร่างกายจะเปลี่ยนสภาพให้เป็นไกลโคเจนเก็บไว้ที่ตับ และเปลี่ยนเป็นไขมันสะสมไว้ใต้ผิวหนังเป็นชั้น ไขมัน คาร์โบไฮเดรตที่สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้นั้นจะต้องมีโครงสร้างของโมเลกุล โดยเฉพาะ ซึ่งคาร์โบไฮเดรตที่มีโครงสร้างดังกล่าวส่วนใหญ่ ได้แก่ มอโนแซ็กคาร์ไรด์ บางชนิด ดังนั้นหากน้าตาลทรายที่จาหน่ายทั่วไปในท้องตลาดซึ่งส่วนใหญ่เป็นซูโครสมาทดสอบกับ สารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าในการทดสอบเมื่ออุ่นสารละลายนานเกินไป น้าตาล ทรายบางส่วนอาจเปลี่ยนไปเป็นโมโนแซ็กคาร์ไรด์และเกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ ทาให้เกิด ตะกอนสีส้มแดงเล็กน้อยหรือสารละลายมีสีเขียวอมเหลืองได้
  • 21. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง สารอาหารประเภทโปรตีน โปรตีน เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีโมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่ากรดอะมิโน จานวนมาก โปรตีนธรรมชาติมีกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบอยู่ประมาณ 22 ชนิดแต่ละชนิดมีโครงสร้าง ต่างกัน ความแตกต่างในการเรียงลาดับและสัดส่วนที่รวมตัวกันของกรดอะมิโน ต่างชนิดกัน ทาให้เกิด เป็นโปรตีนชนิดต่างๆ มากมาย ซึ่งแต่ละชนิดมีคุณค่าทางอาหารแตกต่างกัน โปรตีนชนิดใดจะมีคุณค่าทาง อาหารมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับว่าโปรตีนชนิดนั้นย่อยสลายได้ง่ายและมีกรดอะมิโนที่จาเป็นครบถ้วนหรือไม่ กรดอะมิโนที่จาเป็น คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นเองได้แต่ต้องได้จาก อาหารที่กินเข้าไปเท่านั้น กรดอะมิโนที่พบในโปรตีนธรรมชาติประมาณ 22 ชนิดนี้เป็นกรด อะมิโนที่ จาเป็น 8 ชนิด ที่เหลือเป็นกรดอะมิโนที่ไม่จาเป็น ซึ่งนอกจากจะได้จากอาหารแล้วร่างกายยังสามารถ สังเคราะห์ขึ้นเองได้ด้วย โปรตีนเป็นสารอาหารหลักที่สาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อร่างกายในการสร้างเซลล์เนื้อเยื่อ ต่างๆ และเป็ นส่วนประกอบสาคัญของเอนไซม์ ฮอร์โมน เฮโมโกลบิน และแอนติบอดีหรือ ภูมิคุ้มกัน ร่างกายของคนเรามีโปรตีนอยู่ประมาณร้อยละ 20 ของน้าหนักตัว โปรตีนนอกจากจะจาเป็น ต่อการเจริญเติบโตของร่างกายแล้ว ยังให้พลังงานแก่ร่างกายอีกด้วย โดยมาเผาผลาญให้เกิดพลังงาน ทดแทน แต่ในกรณีที่ร่างกายได้รับคาร์โบไฮเดรตและไขมันอย่างเพียงพอแล้วร่างกายจะสงวนโปรตีนไว้ใช้ เพื่อเสริมสร้างการเจริญเติบโตและหน้าที่สาคัญอื่นๆ ในวันหนึ่งๆ ร่างกายคนเราควรจะได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนในปริมาณ1 กรัมต่อน้าหนัก ร่างกาย 1 กิโลกรัม แต่ขึ้นอยู่กับวัย เพศ และสภาพของร่างกายด้วยในวันหนึ่งๆร่างกาย แต่ละวัยมีความ ต้องการสารอาหารประเภทโปรตีนมากน้อยต่างกันอย่างไรนักเรียนสามารถศึกษาได้จากตารางต่อไปนี้ อาหารที่มีกรดอะมิโนชนิดจาเป็นครบถ้วน และมีคุณค่า โปรตีนสูง ได้แก่ ถั่วเหลือง ปลาทู เนื้อ ไข่ไก่ทั้งฟอง
  • 22. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 ตาราง 1 แสดงปริมาณโปรตีนที่ร่างกายของคนในวัยต่างๆ ต้องการต่อวัน อายุ น้าหนัก (กิโลกรัม ) ปริมาณโปรตีน (กรัม / วัน ) ทารก 3 - 5 เดือน 6 - 12 เดือน เด็ก 1 - 3 ปี 4 - 6 ปี 7 - 9 ปี ชาย 10 - 12 ปี 13 - 15 ปี 16 - 19 ปี หญิง 10 - 12 ปี 13 - 15 ปี 16 - 19 ปี ชาย 20 + ปี หญิง 20+ ปี 6 7 - 8 12 16 22 29 42 54 31 44 48 58 50 13 14 17 21 26 34 50 57 37 49 45 51 44 รูปที่ 2 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีน ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีน ได้แก่ เนื้อ นม ไข่ และพืชจาพวกถั่ว รวมทั้ง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเนื้อ นม ไข่ และถั่ว นอกจากนี้เรายังพบโปรตีนในพืชชนิดอื่นๆอีก เช่น ข้าว เจ้า ข้าวเหนียว ข้าวสาลี ข้าวโพดเหลือง เป็นต้น แต่พบในปริมาณน้อย
  • 23. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 บัตรเนื้อหาที่ 3 เรื่อง สารอาหารประเภทไขมัน ไขมัน เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายสูงกว่าคาร์โบไฮเดรตและโปรตีน นอกจากนั้นยัง ช่วยในการดูดซึมวิตามินบางชนิด ในร่างกายจะพบไขมันในบริเวณใต้ผิวหนังและรอบอวัยวะภายในต่างๆ ไขมันประกอบด้วย กลีเซอรอล และ กรดไขมัน ซึ่งมีธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็น องค์ประกอบ ไขมัน แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้ 1. ไขมันอิ่มตัว หากร่างกายมีไขมันชนิดนี้มากเกินไป จะทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอด เลือดหัวใจตีบตัน ไขมันอิ่มตัวพบมากในเนื้อสัตว์ที่มีสีแดง มันสัตว์ หนังสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง กุ้ง ปู หอยต่าง ๆ นมและผลิตภัณฑ์จากนม 2. ไขมันไม่อิ่มตัว เป็นไขมันที่ช่วยลดการดูดซึมไขมันอิ่มตัวได้ และยังช่วยป้ องกันโรคหลอดเลือด หัวใจตีบตัน พบมากในถั่ว เต้าหู้ เห็ด และน้ามันพืช เนื่องจากความต้องการพลังงานของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน ผู้ที่ต้องการพลังงานวันละ 2,100 กิโลแคลอรี ควรได้รับไขมันรวมได้ไม่เกิน 65 กรัม ไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 20 กรัม และ คอเลสเตอรอลไม่เกิน 300 มิลลิกรัม หากร่างกายใช้ไขมันในอาหารที่รับประทานเข้าไปไม่หมด ร่างกายจะเก็บสะสมไว้ในรูป ไขมัน ซึ่งจะเห็นเป็นชั้นไขมันใต้ผิวหนัง การกินอาหารที่มีไขมันมากเกินไป จะทาให้เกิดโรคอ้วนได้ และยัง เสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่นๆ อีกหลายโรค เช่น โรคหัวใจ และโรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น รูปที่ 3 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทไขมัน ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th
  • 24. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 บัตรเนื้อหาที่ 4 เรื่อง สารอาหารประเภทวิตามิน วิตามิน เป็นสารอินทรีย์ที่มีความสาคัญต่อการทางานของระบบต่าง ๆ ร่างกายต้องการวิตามินใน ปริมาณไม่มากนัก แต่เมื่อขาดวิตามินจะส่งผลให้เกิดภาวะผิดปกติเนื่องจากความบกพร่องของกระบวนการ เคมีภายในร่างกาย อาหารที่เรารับประทานมีวิตามินหลายชนิด วิตามินแต่ละชนิดมีสมบัติและความสาคัญต่อร่างกาย แตกต่างกัน ตารางแสดงประเภทของวิตามิน วิตามิน แหล่งอาหาร ปริมาณที่ ต้องการใน 1 วัน (อายุ12-15 ปี) ประโยชน์ อาการเมื่อ ขาดวิตามิน A ผักที่มีสีเหลือง เช่น ฟักทอง มะเขือเทศ ตับ ไข่แดง นม เนย 0.75 mg รักษาสุขภาพของ ผิวหนัง บารุง สายตา ช่วยให้ ต่อมน้าตาทางาน เป็นปกติ นัยน์ตาแห้ง ตา อักเสบ ผิวหนัง แห้ง D นม น้ามันตับปลา ไข่ ผิวหนัง ร่างกาย สร้างเองได้เมื่อได้รับ แสงแดด ขึ้นอยู่กับปริมาณ แสงแดดที่ได้รับ ช่วยให้กระดูก และฟันมีสุขภาพ ดี เป็นโรค กระดูกอ่อน E ตับ พืชใบเขียว ไขมันจากพืช เช่น ข้าวโพด ถั่วลิสง 10 mg ไม่เป็นหมัน เซลล์เม็ดเลือด แดงแข็งแรง เป็นหมัน (พบในสัตว์ เช่น หมู) วิตามินเป็นสิ่งที่ร่างกายต้องการ ในปริมาณที่จากัด ถ้าได้รับมากหรือ น้อยเกินไปจะทาให้เกิดโรคได้นะ
  • 25. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 รูปที่ 4 แหล่งอาหารที่ให้สารอาหารประเภทวิตามิน ที่มา : www.bhumibolhospital.rtaf.mi.th วิตามิน แหล่งอาหาร ปริมาณที่ ต้องการใน 1 วัน (อายุ12-15 ปี) ประโยชน์ อาการเมื่อขาด วิตามิน B – Complex (บีรวม) B1, B2 B6, B12 กรดโฟลิก ไข่ นม ตับ ยีสต์ ข้าวซ้อมมือ ถั่วเหลือง ปลา เนื้อสัตว์ เมล็ด ธัญพืช ผัก และผลไม้ 25 mg - บารุงสมอง - ช่วยการทางาน ระบบหายใจ - การทางานของหัวใจ - การเจริญเติบโตใน เด็กเป็นไปอย่างปกติ โรคเกี่ยวกับสมอง ประสาทโรคหัวใจ ผิวหนังแห้ง ปากนกกระจอก ประสาทเสื่อม การเจริญเติบโต หยุดชะงัก โลหิตจาง C ผลไม้สกุลส้ม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ กะหล่าปลี มะละกอ 30 mg - รักษาสุขภาพของ ผิวหนัง - ช่วยให้หลอดเลือด แข็งแรง - ช่วยให้ร่างกาย ต้านทานโรคได้ดี มีเลือดออกตาม ไรฟัน หลอดเลือด ฝอยเปราะ เป็นหวัดได้ง่าย
  • 26. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 บัตรเนื้อหาที่ 5 เรื่อง สารอาหารประเภทแร่ธาตุและน้า แร่ธาตุ เป็นสารอนินทรีย์ที่มีความจาเป็นต่อร่างกาย เนื่องจากเป็นส่วนประกอบของสารหลาย ชนิดที่มีความสาคัญต่อการทาหน้าที่ของเซลล์และอวัยวะต่างๆ ตลอดจนเป็นส่วนประกอบหลักในอวัยวะ เช่น กระดูกและฟัน และเป็นสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ไม่ให้พลังงาน ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย แต่ ขาดไม่ได้ ตารางแสดงประเภทของเกลือแร่ แร่ธาตุ แหล่งอาหาร ปริมาณที่ ต้องการใน 1 วัน (อายุ12-15 ปี) ประโยชน์ แคลเซียม นม ไข่ เนย ผักใบเขียว 1,200 mg ช่วยให้ฟันและกระดูกแข็งแรง ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ควบคุมการทางานของหัวใจ กล้ามเนื้อ และระบบประสาท ฟอสฟอรัส เนื้อสัตว์ ไข่ นม พืชผัก ต่าง ๆ 1,200 mg ทางานร่วมกับแคลเซียมเป็น ส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ช่วยสร้างเซลล์สมอง ไอโอดีน อาหารทะเล เกลือทะเล 0.15 mg ช่วยในการเจริญเติบโต ป้ องกัน โรคคอพอก เหล็ก ตับ เนื้อสัตว์ ไข่แดง 12 mg เป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน ในเซลล์เม็ดเลือดแดง แมกนีเซียม ผักสีเขียว 250 mg ช่วยการทางานของระบบประสาท โซเดียม เนื้อวัว นม ปลา เกลือแกง 1,500 mg ช่วยในการทางานของระบบ ประสาท รักษาปริมาณน้าในเลือด และเซลล์ให้คงที่
  • 27. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 น้า เป็นสารอาหารที่จาเป็นต่อสิ่งมีชีวิตในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นองค์ประกอบร้อยละ 50-70 ของน้าหนักตัว โดยทั่วไปเพศชายมีน้าในร่างกายมากกว่าเพศหญิง ปัญหาชวนคิด สมมติว่านักเรียนอยู่ในเรือนักท่องเที่ยว และเรือกาลังจะล่ม ผู้คนกาลังลงเรือ ช่วยชีวิต ซึ่งมี พื้นที่จากัดสาหรับการนาของไปได้ 1 อย่าง ดังต่อไปนี้ ผลไม้ 1 ถุง ไก่ย่าง 1 ตัว ข้าว 1 ถ้วย และ น้า 1 ขวด นักเรียนคิดว่าคนส่วนใหญ่จะเลือกหยิบสิ่งใด เพราะอะไร คาตอบ................................................................................................................................. น้า เป็นสารอาหารที่สาคัญมาก ต่อการดารงชีวิต เป็นตัวทาละลายและลาเลียง อาหารที่ย่อยแล้ว ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ของร่างกาย ในภาวะปกติควรดื่มน้าให้ได้ วันละ 2 ลิตร ช่วยกาจัดของเสียออกทาง เหงื่อและปัสสาวะ
  • 28. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง อาหารประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนการทดสอบสารอาหารให้เข้าใจก่อนทาการทดลอง 2. ให้นักเรียนตอบคาถามและบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน 3. ใช้เวลาในการทากิจกรรม 50 นาที คะแนน 15 คะแนน ปัญหา…………………………………………………………………… …………………............ สมมติฐาน………………………………………………………………… ………………............. ตัวแปรต้น............................................................................................................................. ตัวแปรตาม........................................................................................................................... ตัวแปรควบคุม...................................................................................................................... จุดประสงค์ 1. ทดสอบก๊าซและของเหลวที่ได้จากการเผาอาหารได้ 2. บอกชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสารอาหารได้ วัสดุอุปกรณ์ 1. ใบผักบุ้งสด 2. แป้ งมัน 3. ไข่ขาวสุก 4. น้าตาลทราย 5. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 4 หลอด 7. หลอดทดลองขนาดเล็ก 4 หลอด 8. จุกยางปิดปากหลอดทดลองที่มีหลอดนาก๊าซเสียบอยู่
  • 29. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 9. สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)/2) 10. จุนสีสะตุ 11. แท่งแก้ว 12. บีกเกอร์ 13. ช้อนเบอร์ 2 14. ขาตั้ง 15. ที่จับหลอดทดลอง วิธีดาเนินการทดลอง 1. ใส่ผักบุ้งสด 1 ช้อน เบอร์ 2 ลงในหลอดทดลองขนาดใหญ่ 2. ปิดปากหลอดทดลองด้วยจุกยางที่มีหลอดนาก๊าซเสียบอยู่ ให้ปลายหลอดนาก๊าซอีกข้างหนึ่งจุ่ม ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก ซึ่งมีสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)/2) ประมาณ 2 ลูกบาศก์ เซนติเมตรบรรจุอยู่ 3. เผาใบผักบุ้งสดลงในหลอดประมาณ 2 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในหลอดทดลอง 4. ใช้แท่งแก้วแตะหยดของเหลวที่ติดค้างอยู่ในหลอดทดลอง แล้วนามาแตะกับจุนสีสะตุ สังเกตการ เปลี่ยนแปลง บันทึกผล 5. ทาการทดลองซ้า ข้อ 1-4 แต่เปลี่ยนใบผักบุ้งสดเป็นแป้ งมัน ไข่ขาวสุกบด น้าตาลทราย ตามลาดับ สังเกต และบันทึกผล ตารางบันทึกผลการทดลอง อาหาร ลักษณะของอาหาร การเปลี่ยนแปลงของ ก่อนเผา หลังเผา สารละลาย (Ca(OH)/2) จุนสีสะตุ ใบผักบุ้งสด แป้ งมัน ไข่ขาวสุกบด น้าตาลทราย
  • 30. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 คาถามหลังการทดลอง 1. สารที่เกิดขึ้นจากการเผาอาหารมีกี่สถานะ อะไรบ้าง ตอบ.................................................................................................................. 2. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารทั้ง 4 ชนิด ในการทดลองนี้คือ ตอบ.................................................................................................................. 3. สารที่ใช้ในการทดสอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คือ ตอบ.................................................................................................................. 4. ถ้านาถั่วลิสงบดมาเผาในหลอดทดลอง สารที่เกิดขึ้นหลังจากการเผาจะเป็นสารชนิดใด เพราะเหตุใด ตอบ.................................................................................................................. สรุปผลการทดลอง ....................................................................................................................... .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. ...........................................................................................................
  • 31. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 แนวคาตอบบัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่องอาหารประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง ปัญหา อาหารแต่ละชนิดประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง สมมติฐาน อาหารประกอบด้วยธาตุองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ธาตุ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ตัวแปรต้น ชนิดของอาหาร ตัวแปรตาม ธาตุองค์ประกอบที่พบ ตัวแปรควบคุม เวลาที่ใช้ในการเผาสารอาหารแต่ละชนิด ปริมาณสารอาหาร ตารางบันทึกผลการทดลอง อาหาร ลักษณะของอาหาร การเปลี่ยนแปลงของ ก่อนเผา หลังเผา สารละลาย (Ca(OH)/2) จุนสีสะตุ ใบผักบุ้งสด ชิ้นเล็กๆ สีเขียว เป็นสีดา มีของเหลวไม่มีสี มีก๊าซ สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด แป้ งมัน ผงละเอียดสี ขาว ก้อนสีดา มีของเหลวไม่มีสี มีก๊าซ สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด ไข่ขาวสุกบด สีขาวนิ่ม สีน้าตาลดา มีของเหลวไม่มีสี มีก๊าซ สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด น้าตาลทราย ผลึกสีขาวเล็กๆ สีน้าตาลดา เหนียว มีของเหลวไม่มีสี มีก๊าซ สารละลายขุ่น เปลี่ยนเป็นสีฟ้ าสด
  • 32. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 คาถามหลังการทดลอง 1. สารที่เกิดขึ้นจากการเผาอาหารมีกี่สถานะ อะไรบ้าง ตอบ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ 2. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารทั้ง 4 ชนิด ในการทดลองนี้คือ ตอบ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน 3. สารที่ใช้ในการทดสอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คือ ตอบ สารลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)/2) หรือน้าปูนใส 4. ถ้านาถั่วลิสงบดมาเผาในหลอดทดลอง สารที่เกิดขึ้นหลังจากการเผาจะเป็นสารชนิดใด เพราะเหตุใด ตอบ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน เพราะถั่วลิสงจัดเป็นสารอาหารประเภทโปรตีน สรุปผลการทดลอง 1. สิ่งที่เหลืออยู่ในหลอดทดลองเมื่อเผาอาหารแล้วมีสีดาเหมือนกันคือ คาร์บอน 2. เมื่อนาอาหารมาเผาจะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และน้า 3. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทาปฏิกิริยากับน้าปูนใสจะขุ่น ส่วนน้าจะเปลี่ยนสีของ จุนสีสะตุ 4. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสารอาหารคือคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
  • 33. แผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ.1 บัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การทดสอบสารอาหารบางประเภทในอาหาร คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนการทดสอบสารอาหารให้เข้าใจก่อนทาการทดลอง 2. ให้นักเรียนตอบคาถามและบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน 3. ใช้เวลาในการทากิจกรรม 50 นาที คะแนน 15 คะแนน จุดประสงค์ 1. จาแนกประเภทของสารอาหารตามสมบัติบางประการได้ 2. สรุปสมบัติของสารอาหารบางประเภทได้ 3. บอกแหล่งที่มาของสารอาหารบางประเภทได้ ปัญหา…………………………………………………………………… …………………............ สมมติฐาน………………………………………………………………… ………………............. ตัวแปรต้น............................................................................................................................. ตัวแปรตาม........................................................................................................................... ตัวแปรควบคุม...................................................................................................................... วัสดุอุปกรณ์ 1. อาหารที่ต้องการทดสอบ 3 ชนิด 2. สารละลายไอโอดีน 3. สารละลายเบเนดิกต์ 4. สารละลายไบยูเร็ต 5. น้ากลั่น 6. หลอดทดลองขนาดกลาง 4 หลอด ต่ออาหาร 1 ชนิด 7. ชั้นวางหลอดทดลอง อยากทราบไหมคะว่าอาหาร แต่ ละชนิดมีวิธีการทดสอบอย่างไร