SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
เสนอ

    อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร

           จัดทาโดย

    1.บุญธิดา อยูชา เลขที่ 3
                 ่
                                    ม.4/5
2.ชนิกานต์ ศักดิ์ภอร่าม เลขที่ 24
                  ู่
สาย Fiber Optic คือเส้นใยแก้วนำแสง กล่ำวคือ สำยนำสัญญำณที่ใช้
แสงเป็นตัวกลำงในกำร
สื่อสำรข้อมูลจำกจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทำจำกแก้วที่มีควำมบริสุทธิ์มำก
เส้นใยแก้วนำแสงที่ดี
ต้องสำมำรถนำสัญญำณแสงจำกจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งโดยมีกำรสูญเสียของ
สัญญำณแสงน้อยที่สุด
กำรส่ง ข้อมูลไปบนไฟเบอร์ออฟติก จะต้องมีอุปกรณ์กำเนิดแสงที่ถูกมอดูเลต โดยทั่วไป
แล้วจะใช้เลเซอร์ไดโอด ทำหน้ำที่ปล่อยพัลส์แสง (light pulse) ไปยังไฟเบอร์ และที่
ด้ำนตรงปลำยทำง ต้องมีอุปกรณ์ตรวนจับแสง (photo detector) ซึ่งเป็นอุปกรณ์
สำรกึ่งตัวนำที่ทำงำนคล้ำยกับโซลำร์เซลด้วยกำรแปลงแสง เป็นกระแสไฟฟ้ำ อุปกรณ์
ส่วนใหญ่ทำงำนกับกำรกำรผสมของสัญญำณที่อำศัยควำมแรงของสัญญำณ (AM) ซึง           ่
จะส่งผลให้มีแบนด์วิดธ์เป็น 5 ถึง 10 GHz เมื่อเปรียบเทียบกับควำมถี่พำหะ (carrier
frequency) แล้ว จะเห็นว่ำน้อยมำก กำรลดทอนของแสงใน glass fiber ขึ้นอยู่
กับควำมยำวคลื่น มีค่ำลดทอนต่ำสุดใน attenuation curve ค่ำดังกล่ำวนี้ถูก
เรียกว่ำ วินโดวส์ ซึ่งควำมถี่บริเวณในวินโดวส์นี้จะใช้สำหรับกำรส่งข้อมูล
ไฟเบอร์ในปัจจุบันนี้ครวบคลุมหลำยวินโดวส์ สำมำรถป้อนสัญญำณที่ควำมยำวคลื่น
ต่ำงกันในวินโดวเดียวกันเข้ำไปในหนึ่งไฟ เบอร์ และที่ด้ำนปลำยทำงสัญญำณแสงจะ
ถูกแยกออกได้ รูปแบบนี้จะเป็นหลำยช่องสัญญำณต่อวินโดว์โดยใช้ไฟเบอร์อันเดียว
ซึ่ง เรียกกันว่ำ wavelength-division multiplexing (WDM)
เทคนิค อีกวิธีหนึ่งคือกำรส่งสัญญำณที่มีควำมยำวคลื่นต่ำงกันในลักษณะสองทิศทำง
โดย ผ่ำนไฟเบอร์อันเดียว วิธีกำรแบบนี้เรียกว่ำ bi-directional
transmission ซึ่งสำมำรถจะลดจำนวนเคเบิลที่ต้องใช้ลง 50 %
ข้อดี ของ fiber optic cables ที่ สร้ำงจำกแก้วซึ่งเป็นฉนวน คือ สนำมพลังงำนที่ถูก
ปล่อยออกมำจะไม่ถูกรบกวนและถูกดูดซับ แก้วเป็นวัสดุที่มีผลต่อกำรลดทอนน้อยมำกและ
เป็นอิสระจำกกำรมอดูเลตทำงควำม ถี่ เมื่อเปรียบเทียบกับเคเบิลชนิดทองแดงแล้วจะมี
ควำมสำมำรถในกำรรับส่งเหมือนกัน แต่ไฟเบอร์ออฟติกมีขนำดเล็กและน้ำหนักเบำกว่ำ
มำก นอกจำกนี้ยังมีรำคำถูก แม้ว่ำจะพิจำรณำรวมถึงต้นทุนในกำรติดตั้ง อุปกรณ์ต่ำง ๆ แล้ว
กำรพัฒนำต่อไปในอนำคตจะสำมำรถลดต้นทุนเครือข่ำยไฟเบอร์ออฟติกได้มำกกว่ำนี้ ไม่ว่ำ
จะเป็นด้ำนกำรผลิต กำรติดตั้ง กำรบำรุงรักษำ และกำรใช้งำนเครือข่ำย จึงทำให้สำยไฟเบอร์
ออฟติกเป็นอีกตัวเลือกที่สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและคุ้มค่ำ
กำรสูญเสียของสัญญำณแสงในสำย Fiber Optic เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดควำม
ผิดพลำดของข้อมูลข่ำวสำร ทำให้กำรเชื่อมต่อสื่อสำรด้วยระยะทำงไม่เป็นไปตำมที่
คำดหวัง รวมทั้งยังขึ้นอยู่กับโปรโตคอลของเครือข่ำย อย่ำงไรก็ดี ปัจจัยหลักคือกำรสูญเสีย
ของสัญญำณแสงในสำย ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกำรทำให้เกิดกำรสูญเสียของกำลังแสงใน
สำย มีหลำยประกำร
-ควำมสูญเสีย Power ของ Fiber Optic นั้นขึ้นอยู่กับควำมยำวคลื่นที่ใช้ ควำมยำว
คลื่นยิ่งมำกเท่ำใด อัตรำกำรสูญเสียของแสงจะน้อยลง สำหรับ Silica Glass นั้น ควำม
ยำวคลื่นสั้นที่สุดจะมีอัตรำกำรสูญเสียมำกที่สุด
อัตรำกำรสูญเสีย Power ที่น้อยที่สุด ได้แก่ ควำมยำวคลื่น 1550 nm
กำรสูญเสียของ Fiber Optic สำมำรถมีสำเหตุหลำยประกำรดังนี้

   -Bending Loss เนื่องจำกกำรโค้งงอของสำยเกินค่ำมำตรฐำน
   ที่ผู้ผลิตกำหนด
   -กำรสูญเสียอันเนื่องมำจำกกำรทำ Splice รวมทั้งกำรเข้ำหัวสำย
   ที่ไม่สมบูรณ์
   -กำรสูญเสียเนื่องจำกรอยแตกหักเกิดขึ้นที่พื้นผิว
   -กำรสูญเสียอันเนื่องจำกมุมแสงไม่เป็นไปตำมคุณลักษณะจำเพำะ
   ของผู้ผลิต (Numeric Aperture Mismatch)
ข้อดี
1. ส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง
2. ไม่มีกำรรบกวนทำงแม่เหล็กไฟฟ้ำ
3. ส่งข้อมูลได้ในปริมำณมำก
ข้อเสีย
1. มีรำคำแพงกว่ำสำยส่งข้อมูลแบบสำยคู่ตีเกลียวและโคแอก
เชียล
2. ต้องใช้ควำมชำนำญในกำรติดตั้ง
3. มีค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตั้งสูงกว่ำ สำยคู่ตีเกลียวและโคแอก
เชียล
1.มีการเปลี่ยนรูปพลังงานอย่างไร
2.ข้อดีของสายไฟเบอร์ออฟติกมีอะไรบ้าง
3.ข้อเสียของสายไฟเบอร์ออฟติกมีอะไรบ้าง
4.การสูญเสียไฟเบอร์ออฟติกต้นเหตุจากอะไร
5.สายไฟเบอร์ออฟติกทาจากอะไร
1.แปลงแสง เป็นกระแสไฟฟ้ำ
2.-ส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง
  -ไม่มีกำรรบกวนทำงแม่เหล็กไฟฟ้ำ
  -ส่งข้อมูลได้ในปริมำณมำก
3.-มีรำคำแพงกว่ำสำยส่งข้อมูลแบบ สำยคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล
  -ต้องใช้ควำมชำนำญในกำรติดตั้ง
   -มีค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตั้งสูงกว่ำ สำยคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล
4.กำรสูญเสียเนื่องจำกรอยแตกหักเกิดขึ้นที่พื้นผิว
-กำรสูญเสียอันเนื่องจำกมุมแสงไม่เป็นไปตำมคุณลักษณะจำเพำะของผู้ผลิต

5.แก้วที่มีควำมบริสุทธิ์มำก (เส้นใยแก้วนำแสง)
http://klsharing.blogspot.com/2011/09/fiber-optic.html


http://www.ofpt.co.th/index.php?option=com_content&view=cat
egory&layout=blog&id=69&Itemid=383


http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Networks%20Tech
nology/network1.htm

Más contenido relacionado

Similar a สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
Pibi Densiriaksorn
 
อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)
อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)
อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)
Katto Bingu
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
Woraya Ampornpisit
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
Ploy's Sutantirat
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
Nitkamon Bamrungchaokasem
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
Kaimin Ngaokrajang
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
watnawong
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Onanong Phetsawat
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
Peerapas Trungtreechut
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
Onanong Phetsawat
 

Similar a สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405 (14)

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
 
Media
MediaMedia
Media
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)
อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)
อินฟราเรด(ฐิติพงศ์ ณัฏฐ์407)
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
สายไฟเบอร์ออฟติก(ปรียานุช วรญา)407
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
 
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
อินฟราเรด (ณิชกมล+กุลนิษฐ์)
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 

สายไฟเบอร์ออฟติก(บุญธิดา+ชนิกานต์)405

  • 1. เสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร จัดทาโดย 1.บุญธิดา อยูชา เลขที่ 3 ่ ม.4/5 2.ชนิกานต์ ศักดิ์ภอร่าม เลขที่ 24 ู่
  • 2. สาย Fiber Optic คือเส้นใยแก้วนำแสง กล่ำวคือ สำยนำสัญญำณที่ใช้ แสงเป็นตัวกลำงในกำร สื่อสำรข้อมูลจำกจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทำจำกแก้วที่มีควำมบริสุทธิ์มำก เส้นใยแก้วนำแสงที่ดี ต้องสำมำรถนำสัญญำณแสงจำกจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งโดยมีกำรสูญเสียของ สัญญำณแสงน้อยที่สุด
  • 3. กำรส่ง ข้อมูลไปบนไฟเบอร์ออฟติก จะต้องมีอุปกรณ์กำเนิดแสงที่ถูกมอดูเลต โดยทั่วไป แล้วจะใช้เลเซอร์ไดโอด ทำหน้ำที่ปล่อยพัลส์แสง (light pulse) ไปยังไฟเบอร์ และที่ ด้ำนตรงปลำยทำง ต้องมีอุปกรณ์ตรวนจับแสง (photo detector) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ สำรกึ่งตัวนำที่ทำงำนคล้ำยกับโซลำร์เซลด้วยกำรแปลงแสง เป็นกระแสไฟฟ้ำ อุปกรณ์ ส่วนใหญ่ทำงำนกับกำรกำรผสมของสัญญำณที่อำศัยควำมแรงของสัญญำณ (AM) ซึง ่ จะส่งผลให้มีแบนด์วิดธ์เป็น 5 ถึง 10 GHz เมื่อเปรียบเทียบกับควำมถี่พำหะ (carrier frequency) แล้ว จะเห็นว่ำน้อยมำก กำรลดทอนของแสงใน glass fiber ขึ้นอยู่ กับควำมยำวคลื่น มีค่ำลดทอนต่ำสุดใน attenuation curve ค่ำดังกล่ำวนี้ถูก เรียกว่ำ วินโดวส์ ซึ่งควำมถี่บริเวณในวินโดวส์นี้จะใช้สำหรับกำรส่งข้อมูล
  • 4. ไฟเบอร์ในปัจจุบันนี้ครวบคลุมหลำยวินโดวส์ สำมำรถป้อนสัญญำณที่ควำมยำวคลื่น ต่ำงกันในวินโดวเดียวกันเข้ำไปในหนึ่งไฟ เบอร์ และที่ด้ำนปลำยทำงสัญญำณแสงจะ ถูกแยกออกได้ รูปแบบนี้จะเป็นหลำยช่องสัญญำณต่อวินโดว์โดยใช้ไฟเบอร์อันเดียว ซึ่ง เรียกกันว่ำ wavelength-division multiplexing (WDM) เทคนิค อีกวิธีหนึ่งคือกำรส่งสัญญำณที่มีควำมยำวคลื่นต่ำงกันในลักษณะสองทิศทำง โดย ผ่ำนไฟเบอร์อันเดียว วิธีกำรแบบนี้เรียกว่ำ bi-directional transmission ซึ่งสำมำรถจะลดจำนวนเคเบิลที่ต้องใช้ลง 50 %
  • 5. ข้อดี ของ fiber optic cables ที่ สร้ำงจำกแก้วซึ่งเป็นฉนวน คือ สนำมพลังงำนที่ถูก ปล่อยออกมำจะไม่ถูกรบกวนและถูกดูดซับ แก้วเป็นวัสดุที่มีผลต่อกำรลดทอนน้อยมำกและ เป็นอิสระจำกกำรมอดูเลตทำงควำม ถี่ เมื่อเปรียบเทียบกับเคเบิลชนิดทองแดงแล้วจะมี ควำมสำมำรถในกำรรับส่งเหมือนกัน แต่ไฟเบอร์ออฟติกมีขนำดเล็กและน้ำหนักเบำกว่ำ มำก นอกจำกนี้ยังมีรำคำถูก แม้ว่ำจะพิจำรณำรวมถึงต้นทุนในกำรติดตั้ง อุปกรณ์ต่ำง ๆ แล้ว กำรพัฒนำต่อไปในอนำคตจะสำมำรถลดต้นทุนเครือข่ำยไฟเบอร์ออฟติกได้มำกกว่ำนี้ ไม่ว่ำ จะเป็นด้ำนกำรผลิต กำรติดตั้ง กำรบำรุงรักษำ และกำรใช้งำนเครือข่ำย จึงทำให้สำยไฟเบอร์ ออฟติกเป็นอีกตัวเลือกที่สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและคุ้มค่ำ
  • 6. กำรสูญเสียของสัญญำณแสงในสำย Fiber Optic เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดควำม ผิดพลำดของข้อมูลข่ำวสำร ทำให้กำรเชื่อมต่อสื่อสำรด้วยระยะทำงไม่เป็นไปตำมที่ คำดหวัง รวมทั้งยังขึ้นอยู่กับโปรโตคอลของเครือข่ำย อย่ำงไรก็ดี ปัจจัยหลักคือกำรสูญเสีย ของสัญญำณแสงในสำย ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกำรทำให้เกิดกำรสูญเสียของกำลังแสงใน สำย มีหลำยประกำร -ควำมสูญเสีย Power ของ Fiber Optic นั้นขึ้นอยู่กับควำมยำวคลื่นที่ใช้ ควำมยำว คลื่นยิ่งมำกเท่ำใด อัตรำกำรสูญเสียของแสงจะน้อยลง สำหรับ Silica Glass นั้น ควำม ยำวคลื่นสั้นที่สุดจะมีอัตรำกำรสูญเสียมำกที่สุด อัตรำกำรสูญเสีย Power ที่น้อยที่สุด ได้แก่ ควำมยำวคลื่น 1550 nm
  • 7. กำรสูญเสียของ Fiber Optic สำมำรถมีสำเหตุหลำยประกำรดังนี้ -Bending Loss เนื่องจำกกำรโค้งงอของสำยเกินค่ำมำตรฐำน ที่ผู้ผลิตกำหนด -กำรสูญเสียอันเนื่องมำจำกกำรทำ Splice รวมทั้งกำรเข้ำหัวสำย ที่ไม่สมบูรณ์ -กำรสูญเสียเนื่องจำกรอยแตกหักเกิดขึ้นที่พื้นผิว -กำรสูญเสียอันเนื่องจำกมุมแสงไม่เป็นไปตำมคุณลักษณะจำเพำะ ของผู้ผลิต (Numeric Aperture Mismatch)
  • 8. ข้อดี 1. ส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง 2. ไม่มีกำรรบกวนทำงแม่เหล็กไฟฟ้ำ 3. ส่งข้อมูลได้ในปริมำณมำก ข้อเสีย 1. มีรำคำแพงกว่ำสำยส่งข้อมูลแบบสำยคู่ตีเกลียวและโคแอก เชียล 2. ต้องใช้ควำมชำนำญในกำรติดตั้ง 3. มีค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตั้งสูงกว่ำ สำยคู่ตีเกลียวและโคแอก เชียล
  • 10. 1.แปลงแสง เป็นกระแสไฟฟ้ำ 2.-ส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง -ไม่มีกำรรบกวนทำงแม่เหล็กไฟฟ้ำ -ส่งข้อมูลได้ในปริมำณมำก 3.-มีรำคำแพงกว่ำสำยส่งข้อมูลแบบ สำยคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล -ต้องใช้ควำมชำนำญในกำรติดตั้ง -มีค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตั้งสูงกว่ำ สำยคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล 4.กำรสูญเสียเนื่องจำกรอยแตกหักเกิดขึ้นที่พื้นผิว -กำรสูญเสียอันเนื่องจำกมุมแสงไม่เป็นไปตำมคุณลักษณะจำเพำะของผู้ผลิต 5.แก้วที่มีควำมบริสุทธิ์มำก (เส้นใยแก้วนำแสง)