SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 60
บทที่ 1
หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี
หน่วยวัด และ การวัด
สิ่งสาคัญของการเรียนวิชาฟิสิกส์ คือ การวัด
การวัด คือ การคานวณค่าปริมาณที่ไม่ทราบค่าว่ามีปริมาณที่กาหนดคงที่
เท่าใด ปริมาณที่กาหนดคงที่นี้เรียกว่า หน่วย (unit)
ฉะนั้นการวัดจึงต้องมีระบบหน่วยวัดที่ถูกต้องเชื่อถือได้และใช้
สะดวก เพื่อให้เป็นสากลทั่วโลกหน่วยวัดจึงต้องใช้ค่าเหมือนกัน
ซึ่งจาเป็นต้องมีคาจากัดความที่ชัดเจนเกี่ยวกับหน่วยวัดและวิธีคานวณ
ปรับเทียบกับระบบวัด ลักษณะนี้เรียกว่า มาตรฐาน (standard) เป็น การ
ปรับเทียบ (calibration) คือ การตรวจสอบระบบวัดให้ตรงกับมาตรฐานเมื่อ
ระบบอยู่ในสภาพที่สอดคล้องกับสภาพที่กาหนดไว้ในมาตรฐาน
การวัด
 ปี ค.ศ. 1960 การประชุม The 11th Conference General des Poised
Measures ได้ยอมรับระบบ System International Unit's ให้เป็นระบบ
หน่วยวัดสากล ระบบนี้เรียกว่าระบบ “SI”
ในการประชุมครั้ง ต่อมาได้มีการปรับแต่งระบบจนปัจจุบันนี้มีหน่วยวัดพื้นฐาน
7 ประเภท คือ วัดมวลเป็นกิโลกรัม(kg)
วัดความยาวเป็นเมตร(m) นับเวลาเป็นวินาที(s) วัดกระแสเป็นแอมแปร์(A)
วัดอุณหภูมิเป็นองศาเคลวิน (K) วัดความเข้มแสงสว่างเป็นแคนเดลา(cd)
และวัดปริมาณสสารเป็นโมล(mol) จากหน่วยวัดพื้นฐานเหล่านี้ทาให้ได้หน่วย
อนุพันธ์อื่น ๆ
หน่วยวัด
หน่วยวัด
o ระบบอังกฤษ
o ระบบสากลระหว่างชาติ (SI)
o ระบบเมทริก (CGS)
ระบบหน่วย เวลา มวล ความยาว ความเร็ว
SI วินาที กิโลกรัม เมตร เมตร/วินาที
CGS วินาที กรัม เซนติเมตร เซนติเมตร/วินาที
อังกฤษ วินาที ปอนด์มวล ฟุต ฟุต/วินาที
หน่วย SI แบ่งเป็น หน่วยฐาน และ หน่วยอนุพัทธ์
หน่วยฐาน เป็นหน่วยของปริมาณฐานซึ่งมี 7 ปริมาณ ดังนี้
หน่วยวัด
ปริมาณฐาน สัญลักษณ์ หน่วยฐาน สัญลักษณ์
ความยาว l, s เมตร m
มวล m กิโลกรัม kg
เวลา t วินาที s
อุณหภูมิทาง
เทอร์โมไดนามิกส์
T เคลวิน K
กระแสไฟฟ้า I แอมแปร์ A
ความเข้มของการ
ส่องสว่าง
I แคนเดลา cd
ปริมาณสสาร n โมล mol
หน่วยอนุพัทธ์ คือ หน่วยที่มีหน่วยฐานหลายหน่วย
มาเกี่ยวเนื่องกัน เช่น
หน่วยวัด
ความเร็ว มีหน่วย m/s
โมเมนตัม มีหน่วย kg.m/s
แรง มีหน่วย kg. m/s2 หรือ นิวตัน, N
หน่วยอนุพันธ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริมาณ การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน
เฮิรตซ์ Hz ความถี่ s−1
เรเดียน rad มุม m·m−1
สเตอเรเดียน sr มุมตัน m2·m−2
นิวตัน N แรง kg m s −2
จูล J พลังงาน N m = kg m2 s−2
วัตต์ W กาลัง J/s = kg m2 s−3
ปาสกาล Pa ความดัน N/m2 = kg m −1 s−2
ลูเมน lm ฟลักซ์ส่องสว่าง cd sr = cd
ลักซ์ lx ความสว่าง cd m−2
คูลอมบ์ C ประจุไฟฟ้า A s
โวลต์ V ความต่างศักย์ J/C = kg m2 A−1 s−3
โอห์ม Ω ความต้านทานไฟฟ้า V/A = kg m2 A−2 s−3
หน่วยอนุพันธ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริมาณ การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน
ฟารัด F ความจุไฟฟ้า Ω−1 s = A2 s4 kg−1 m−2
เวเบอร์ Wb ฟลักซ์แม่เหล็ก kg m2 s−2 A−1
เทสลา T ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก Wb/m2 = kg s−2 A−1
เฮนรี H ความเหนี่ยวนาไฟฟ้า Ω s = kg m2 A−2 s−2
ซีเมนส์ S ความนา Ω−1 = kg−1 m−2 A2 s3
เบกเคอเรล Bq กันมันตภาพของรังสี s−1
เกรย์ Gy ขนาดกาหนดของการดูดกลืนรังสี J/kg = m2 s−2
ซีเวิร์ต Sv ขนาดกาหนดของกัมมันตภาพรังสี J/kg = m2 s−2
องศาเซลเซียส °C อุณหภูมิอุณหพลวัต K − 273.15
คาทัล kat อานาจการเร่งปฏิกิริยา mol/s = s−1·mol
คาอุปสรรคในระบบ SI
ถ้าค่าของหน่วยมูลฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์ มากหรือน้อย
เกินไป การเขียนแบบธรรมดาจะยุ่งยาก เช่น
ความเร็วแสงมีค่าประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวินาที
โดยการเปลี่ยนรูปแบบการเขียนจานวนเป็นการเขียนใน
รูป 10 ยกกาลัง เช่น 108 เพื่อความสะดวกจึงใช้คาอุปสรรค
(prefix) แทนค่า 10 ยกกาลังเหล่านั้น
คาอุปสรรคแทน 10 ยกกาลังเลขบวก
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
exa- 1018 E
peta- 1015 P
tera- 1012 T
giga- 109 G
mega- 106 M
kilo- 103 k
hecto- 102 H
deka- 101 Da
คาอุปสรรคแทน 10 ยกกาลังเลขลบ (ค่าน้อยกว่า 1)
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
deci- 10-1 d
centi- 10-2 c
milli- 10-3 m
micro- 10-6 
nano- 10-9 n
pico- 10-12 p
femto- 10-15 f
atto- 10-18 a
ตัวอย่าง :
300,000,000 เมตรต่อวินาที = 3 x108 เมตรต่อวินาที
60,000,000 g = 60 x106 g
= 60 Mg
= 60,000 x 103 g
= 60,000 kg
10 km = 10 x 103 m
2 ms = 2 x 10-3 s = 0.002 s
1) 1 km = mm
2) 1.5 nm = m
3) 2.7 m3 = mm3
4) 1.45 kN = mN
5) 1.4 MHz = kHz
กิจกรรม จงเปลี่ยนหน่วยเหล่านี้ให้ถูกต้อง
การเปลี่ยนหน่วย
- เปลี่ยนจาก หน่วยที่เล็ก ไปสู่ หน่วยที่ใหญ่กว่า
เช่น
เปลี่ยนจาก mm. ไปเป็น m.
เปลี่ยนจาก inch ไปเป็น m.
นา conversion factor ไป หาร
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 1
ถ้าต้องการเปลี่ยน 2500 m ให้เป็น km
จาก 1 km = 103 m
ดังนั้น
2500 m = 2500/103 km
= 2.5 km
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 2
ถ้าต้องการเปลี่ยน 254 cm ให้เป็น inch
จาก 1 inch = 2.54 cm
ดังนั้น
254 cm = 254/2.54 inch
= 100 inch
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
- เปลี่ยนจาก หน่วยที่ใหญ่ ไปสู่ หน่วยที่เล็กกว่า
เช่น
เปลี่ยนจาก m. ไปเป็น mm.
เปลี่ยนจาก m. ไปเป็น inch
นา conversion factor ไป คูณ
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 3
ถ้าต้องการเปลี่ยน 2.5 km ให้เป็น m
จาก 1 km = 103 m
ดังนั้น
2.5 km = 2.5*103 m
= 2500 m
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 4
ถ้าต้องการเปลี่ยน 100 inch ให้เป็น cm
จาก 1 inch = 2.54 cm
ดังนั้น
100 inch = 100*2.54 cm
= 254 cm
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
การหา conversion factor
ถ้าต้องการเปลี่ยนชั่วโมง , h เป็นวินาที, s
1 h = 60 min 1 min = 60 sและ
1 h = 60*60 = 3600 s
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ถ้าต้องการเปลี่ยน km/h เป็น m/s
จาก 1 km = 103 m 1 h = 3600 sและ
o หน่วยวัด
𝟏
𝐤𝐦
𝐡
=
𝟏𝟎 𝟑
𝐦
𝟑𝟔𝟎𝟎 𝐬
=
𝟓 𝐦
𝟏𝟖 𝐬
การเปลี่ยนหน่วย
ถ้าต้องการเปลี่ยน km/h เป็น m/s ให้เอา 5/18 ไป
ถ้าต้องการเปลี่ยน m/s เป็น km/h ให้เอา 5/18 ไป
คูณ
หาร
o หน่วยวัด
ตัวอย่าง 5 จงเปลี่ยนอัตราเร็ว 36 ไมล์/ชั่วโมงให้เป็น
เมตร/วินาที เมื่อ 1 ไมล์ = 1.6 km
วิธีทา 1 ไมล์ = 1.6 km = 1600 m
1 h = 3600 s
𝟏
𝐦𝐢
𝐡
=
𝟏𝟔𝟎𝟎 𝐦
𝟑𝟔𝟎𝟎 𝐬
=
𝟒
𝟗
𝐦/𝐬
3𝟔
𝐦𝐢
𝐡
= 𝟑𝟔 ×
𝟒
𝟗
𝐦/𝐬
= 𝟏𝟔 𝐦/𝐬 ตอบ
ตัวอย่างที่ 6 ถังบรรจุน้ามันรถยนต์ มีน้ามันในถัง 10 ลิตร
สถานีบริการน้ามันเติมน้ามันด้วยอัตรา 5 ลิตร/นาที ถ้าเติม
น้ามันเป็นเวลา 96 วินาที จะมีน้ามันภายในถังทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา
ปริมาณน้ามันทั้งหมด = มีอยู่เดิม + ที่เติม
มีอยู่เดิม = 10 ลิตร
𝟓
𝐋
𝐦𝐢𝐧
= 𝟓
𝐋
𝟔𝟎 𝐬
= 𝟎. 𝟎𝟖𝟑 𝐋/𝐬
ดังนั้น ถ้าเติมน้ามันเป็นเวลา 96 วินาที
จะได้น้ามัน
= 10 + 8 L
= 18 L ตอบ
𝟗𝟔 𝐬 × 𝟎. 𝟎𝟖𝟑 𝐋
𝐬 = 𝟖 𝐋
ปริมาณน้ามันทั้งหมด = มีอยู่เดิม + ที่เติม
ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริมาณทางฟิสิกส์มีมีกี่ประเภท
เวกเตอร์
ปริมาณต่างๆ ในวิชาฟิสิกส์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์
ปริมาณที่ระบุเพียงขนาดและ
หน่วย ก็ได้ความสมบูรณ์ เช่น
มวล ( kg ) พื้นที่ (m2)
ความถี่ ( Hz ) เวลา (s) อุณหภูมิ
( K ) เป็นต้น
ปริมาณที่ต้องระบุทั้ง ขนาด
และ ทิศทาง จึงได้ความ
สมบูรณ์ เช่น
การกระจัด ความเร็ว
ความเร่ง แรง เป็นต้น
o เวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์ โดยทั่วไปเขียนด้วยลูกศรที่มีความ
ยาวเท่ากับขนาดของเวกเตอร์ และมีทิศเดียวกับเวกเตอร์บน
ลูกศรจะมีอักษรย่อกากับว่าเป็นเวกเตอร์ของปริมาณใด เช่น
มีแรง 𝑭 ขนาด 30 N กระทาต่อวัตถุทิศขวา
𝑭 ขนาด 30 N
o คุณสมบัติของเวกเตอร์
• การเท่ากันของเวกเตอร์
- ถ้า 𝐀 = 𝐁 แสดงว่าเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากัน
และทิศทางเดียวกัน
𝐩
−𝐩
𝐩
𝐩
𝐀 𝐁
- ถ้า 𝐀 = −𝐁 แสดงว่าเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากัน
และทิศทางเดียวกัน
ขนาดของเวกเตอร์
สัญลักษณ์
s , v , F , p
หรือ
o เวกเตอร์
𝒔 , 𝒗 , 𝑭 , 𝒑
การบวกเวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์ทาได้ 2 วิธี คือ การบวก
เวกเตอร์โดย วิธีเขียนรูป และ การบวก
เวกเตอร์โดย วิธีคานวณ
o เวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์โดยวิธีเขียนรูป
ทาได้โดยนาเวกเตอร์ที่จะบวกมาต่อกันให้หัว
ลูกศรเรียงตามกัน โดยผลรวมหรือ เวกเตอร์ลัพธ์ คือ
เวกเตอร์ที่ลากจากหางลูกศรของเวกเตอร์แรกไปยังหัว
ลูกศรของเวกเตอร์สุดท้าย
o เวกเตอร์
4 หน่วย
3 หน่วย
การบวกเวกเตอร์โดยวิธีเขียนรูป
+
o เวกเตอร์
𝐀
𝐁
𝐑 = 𝐀 + 𝐁
𝐀
𝐁
𝟑𝟕°
𝐑
ตัวอย่าง 7
+ + +
A = 3 หน่วย, B = 2 หน่วย, C = 2 หน่วย, D = 1 หน่วย
จากการวัดเวกเตอร์ลัพธ์
มีขนาด 6 หน่วย
𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂 + 𝐃
𝐑
𝐀 𝐁 𝐂 𝐃
คุณสมบัติการบวกของเวกเตอร์
กฎการสลับที่
กฎการเปลี่ยนกลุ่ม
o เวกเตอร์
𝐀 + 𝐁 = 𝑩 + 𝐀 = 𝑹
𝐀 + 𝐁 + 𝐂 = 𝑨 + 𝐁 + 𝐂 = 𝑹
o กฎการสลับที่
+
ถ้ายก 𝐑 ในรูปมาซ้อนจะได้
𝐀 𝐁
𝐀
𝐁
𝐀
𝐁
𝐀
𝐁
𝐀
𝐁 𝐑
o กฎการเปลี่ยนกลุ่ม
𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂
+ +
𝐀 𝐁
𝐂
𝐀 + 𝐁
𝐑
𝐂
𝐀
𝐁 𝐁 + 𝐂
𝐑
𝐂
𝐀
𝐁
𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂 𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂
o การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณ
การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณทาได้ทีละ 2 เวกเตอร์
ถ้า 𝐏 เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด 𝐏
𝐐 เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด 𝐐
𝜽 เป็นมุมระหว่าง 𝐏 และ 𝐐
𝐏
𝐐
𝜽
𝐑
𝐏
𝐐
𝜽 𝜸 𝜶
𝜷
การหาขนาดของ 𝐑 โดยใช้ กฏโคไซน์
การหาทิศของ 𝐑 โดยใช้ กฏไซน์
o การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณ
𝑹 𝟐
= 𝑷 𝟐
+ 𝑸 𝟐
+ 𝟐𝑷𝑸 𝒄𝒐𝒔 𝜽
𝑹 𝟐
= 𝑷 𝟐
+ 𝑸 𝟐
− 𝟐𝑷𝑸 𝒄𝒐𝒔 𝜶
𝐏
𝐬𝐢𝐧 𝛃
=
𝐐
𝐬𝐢𝐧 𝛄
=
𝐑
𝐬𝐢𝐧 𝛂
o การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณ
𝑹 𝟐
= 𝑷 𝟐
+ 𝑸 𝟐
+ 𝟐𝑷𝑸 𝐜𝐨𝐬 𝟗𝟎°
𝜽 = 𝟗𝟎°
𝑹 𝟐
= 𝑷 𝟐
+ 𝑸 𝟐
→ ทฤษฎีบทปิทากอรัส
𝟎𝐏
𝐐
𝜽
ตัวอย่าง 8 จงหาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์
ของ 𝐀 และ 𝐁 ที่กาหนดให้ดังรูป ด้วยวิธีคานวณ
4 หน่วย
2 หน่วย
𝟏𝟐𝟎°
𝐀
𝐁
วิธีทา
≈ 3.46 หน่วย ตอบ
𝟏𝟐𝟎°
𝐀
𝐁
𝛄
𝜷
𝟔𝟎°
𝐑
จาก กฎโคไซน์ จะได้
𝑹 𝟐
= 𝑨 𝟐
+ 𝑩 𝟐
− 𝟐𝑨𝑩 𝐜𝐨𝐬 𝟔𝟎°
= 𝟒 𝟐
+ 𝟐 𝟐
− 𝟐 𝟒 𝟐
𝟏
𝟐
= 𝟏𝟐
𝑹 = 𝟏𝟐
o การลบเวกเตอร์
การลบเวกเตอร์ ทาได้โดย การบวกกับเวกเตอร์ที่
เป็นลบ เช่น
ตัวอย่าง 2.3 จงหาขนาดและทิศทางของผลต่าง
ของเวกเตอร์ 𝐀 และ 𝐁 ที่กาหนดให้ดังรูป
4 หน่วย
𝐀 − 𝐁 = 𝑨 + −𝐁
𝐀 𝐁
−𝐁
2 หน่วย
𝟏𝟐𝟎°
วิธีทา จากการบวกกับเวกเตอร์ที่เป็นลบ
𝐀 ขนาด 4 หน่วย
จากสมการ จะได้
𝐑 = 𝐀 − 𝐁 = 𝐀 + −𝐁
−𝐁 ขนาด 2 หน่วย𝟏𝟐𝟎°
𝑹 ≈ 5.29 หน่วย ตอบ
𝑹 𝟐 = 𝑨 𝟐 + 𝑩 𝟐 − 𝟐𝑨𝑩 𝐜𝐨𝐬 𝟏𝟐𝟎°
= 𝟒 𝟐
+ 𝟐 𝟐
− 𝟐 𝟒 𝟐 −𝐜𝐨𝐬 𝟔𝟎°
= 𝟏𝟔 + 𝟒 − 𝟐 𝟒 𝟐 −
𝟏
𝟐
= 𝟐𝟎 + 𝟖  𝑹 = 𝟐𝟖
จาก กฎไซน์ หาทิศทางของเวกเตอร์ จะได้ว่า
เวกเตอร์ลัพธ์มีขนาด 5.29 หน่วย
𝐁
𝐬𝐢𝐧 𝛄
=
𝐑
𝐬𝐢𝐧 𝟏𝟐𝟎°

𝐁
𝐬𝐢𝐧 𝛄
=
𝐑
𝐬𝐢𝐧 𝟔𝟎°

𝟐
𝐬𝐢𝐧 𝛄
=
𝟓.𝟐𝟗
𝟎.𝟖𝟔𝟔
 𝐬𝐢𝐧 𝛄 =
𝟐 𝟎.𝟖𝟔𝟔
𝟓.𝟐𝟗
= 𝟎. 𝟑𝟐𝟕
 𝛄 = sin−𝟏
𝟎. 𝟑𝟐𝟕
มีทิศทามุม 𝛄 = sin−𝟏 𝟎. 𝟑𝟐𝟕 = 𝟏𝟗° กับ 𝑨
o องค์ประกอบเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
การแยกเวกเตอร์เป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์
y
x
𝐴
𝐵
y
x
𝑖 เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ที่มีทิศ +𝐱
𝑗 เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ที่มีทิศ +𝐲
𝐴 𝑥
𝐴 𝑦
𝐴 𝑥 = 𝐴 𝑥
𝐴 𝑦 = 𝐴 𝑦
𝐴 𝑥 = 𝐴 𝑥 𝑖
𝐴 𝑦 = 𝐴 𝑦 𝑗
𝐴 = 𝐴 = 𝐴 𝑥
2
+ 𝐴 𝑦
2
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่ง
หน่วย และมีทิศเดียวกับเวกเตอร์ที่สนใจ
ถ้า 𝐴 เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด 𝐴
𝑎 เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศเดียวกับ
จะได้ หรือ
o เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ( Unit Vector )
𝐴 = 𝐴 𝑎𝑎 =
𝐴
𝐴
o เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ( Unit Vector )
กาหนดให้ 𝐴 = 𝐴 𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑦 𝑗
𝑎 𝐴
𝑎 =
𝐴
𝐴
=
𝐴 𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑦 𝑗
𝐴 𝑥
2
+ 𝐴 𝑦
2
เวกเตอร์หนึ่งหน่วยของเวกเตอร์ 𝐴 คือ 𝑎
ตัวอย่างที่ 9 𝑎 = 4 𝑖 − 3 𝑗 และ 𝑏 = 6 𝑖 + 8 𝑗 จงหาขนาดและ
ทิศทางเทียบกับแกน x ของเวกเตอร์ ต่อไปนี้
(a) 𝑎
(b) 𝑏
(c) 𝑎 + 𝑏
(d) 𝑏 − 𝑎
(e) 𝑎 − 𝑏
o ผลคูณของเวกเตอร์
ผลคูณเชิงสเกลาร์
A ∙ B = ABcosθ = A B cosθ
A
B
θ
o ผลคูณเชิงสเกลาร์
𝐴 = 𝐴 𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑧 𝑘 และ 𝐵 = 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐵𝑧 𝑘
𝐴 ∙ 𝐵 = 𝐴 𝑥 𝑖 ∙ 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑥 𝑖 ∙ 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑥 𝑖 ∙ 𝐵𝑧 𝑘
+ 𝐴 𝑦 𝑗 ∙ 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑦 𝑗 ∙ 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑦 𝑗 ∙ 𝐵𝑧 𝑘
+ 𝐴 𝑧 𝑘 ∙ 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑧 𝑘 ∙ 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑧 𝑘 ∙ 𝐵𝑧 𝑘
𝐴 ∙ 𝐵 = 𝐴 𝑥 𝐵𝑥 + 𝐴 𝑦 𝐵𝑦 + 𝐴 𝑧 𝐵𝑧
𝑖 ∙ 𝑖 = 𝑗 ∙ 𝑗 = 𝑘 ∙ 𝑘 = 1
𝑖 ∙ 𝑗 = 𝑗 ∙ 𝑖 = 0
𝑖 ∙ 𝑘 = 𝑘 ∙ 𝑖 = 0
𝑘 ∙ 𝑗 = 𝑗 ∙ 𝑘 = 0
Ex. จงหามุมระหว่างเวกเตอร์ทั้ง 2 ดังนี้
วิธีทา
จาก
o ผลคูณเชิงสเกลาร์
𝐴 = 2 𝑖 + 3 𝑗 + 4 𝑘 𝐵 = 𝑖 − 2 𝑗 + 3 𝑘
𝐴 𝑥 = 2 𝐵𝑥 = 1
𝐴 𝑦 = 3 𝐵𝑦 = −2
𝐴 𝑧 = 4 𝐵𝑧 = 3
𝐴 ∙ 𝐵 = 𝐴 𝐵 𝑐𝑜𝑠𝜃
𝑐𝑜𝑠𝜃 =
𝐴 𝑥 𝐵𝑥 + 𝐴 𝑦 𝐵𝑦 + 𝐴 𝑧 𝐵𝑧
𝐴 𝐵
𝐴 𝑥 𝐵𝑥 + 𝐴 𝑦 𝐵𝑦 + 𝐴 𝑧 𝐵𝑧 = 2 1 + 3 −2 + 4 3 = 8
𝐴 = 22 + 32 + 42 = 29
𝐵 = 12 + −2 2 + 32 = 14
𝑐𝑜𝑠𝜃 =
8
29 14
= 0.397
= cos−1
0.397
𝜃 = 66.6° Ans
ดังนั้น 𝐴 ∙ 𝐵 = 𝐴 𝐵 𝑐𝑜𝑠𝜃
𝑐𝑜𝑠𝜃 =
𝐴 𝑥 𝐵𝑥 + 𝐴 𝑦 𝐵𝑦 + 𝐴 𝑧 𝐵𝑧
𝐴 𝐵
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
การครอสเวกเตอร์
ถ้า 𝛉 = 𝟎° และ 𝛉 = 𝟏𝟖𝟎° จะทาให้ผลการครอสมีค่าเท่ากับศูนย์
C = A × B
C = A B sinθ
A
B
θ
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
C = A × B
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
A × B = −B × A
𝐴 × 𝐵 = 𝐴 𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑧 𝑘 × 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐵𝑧 𝑘
𝐴 × 𝐵 = 𝐴 𝑥 𝑖 × 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑥 𝑖 × 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑥 𝑖 × 𝐵𝑧 𝑘
+ 𝐴 𝑦 𝑗 × 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑦 𝑗 × 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑦 𝑗 × 𝐵𝑧 𝑘
+ 𝐴 𝑧 𝑘 × 𝐵𝑥 𝑖 + 𝐴 𝑧 𝑘 × 𝐵𝑦 𝑗 + 𝐴 𝑧 𝑘 × 𝐵𝑧 𝑘
𝑖 × 𝑖 = 𝑗 × 𝑗 = 𝑘 × 𝑘 = 0
𝑖 ∙ 𝑗 = 𝑘 𝑗 ∙ 𝑖 = − 𝑘
𝑖 ∙ 𝑘 = − 𝑗 𝑘 ∙ 𝑖 = 𝑗
𝑗 ∙ 𝑘 = 𝑖 𝑘 ∙ 𝑗 = − 𝑖
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
C = A × B
= 𝐴 𝑦 𝐵𝑧 − 𝐴 𝑧 𝐵𝑦 𝑖 + 𝐴 𝑧 𝐵𝑥 − 𝐴 𝑥 𝐵𝑧 𝑗 + 𝐴 𝑥 𝐵𝑦 − 𝐴 𝑦 𝐵𝑥 𝑘
𝐶 𝑦 𝐶𝑧𝐶 𝑥
A × B =
𝑖 𝑗 𝑘
𝐴 𝑥 𝐴 𝑦 𝐴 𝑧
𝐵𝑥 𝐵𝑦 𝐵𝑧
ตัวอย่างที่ 10 เวกเตอร์ 𝑎 = 3 𝑖 + 3 𝑗 − 2 𝑘, 𝑏 = − 𝑖 − 4 𝑗 + 2 𝑘 และ
𝑐 = 2 𝑖 + 2 𝑗 + 𝑘
จงหา (a) a ∙ b + c
(b) a × b + c
(c) a × b × c

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
jirupi
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
dnavaroj
 

La actualidad más candente (20)

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 

Destacado

เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
krusarawut
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
thanakit553
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
thanakit553
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
dnavaroj
 
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
Khwan Horwang
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
guest6eaa7e
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
thanakit553
 

Destacado (13)

เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 

Similar a บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์

คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
IRainy Cx'cx
 
วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุต
Supa Kommee
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
Rungthaya
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
aungdora57
 

Similar a บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ (20)

ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 
Pat15503
Pat15503Pat15503
Pat15503
 
Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชันอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
 
6 1
6 16 1
6 1
 
วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุต
 
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐานเวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 

Más de Thepsatri Rajabhat University

Más de Thepsatri Rajabhat University (20)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์