SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 65
Descargar para leer sin conexión
ระบบสารสนเทศทางคลินิก/ 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ 
คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี 
12 ตุลาคม 2557 
http://www.slideshare.net/nawanan
ระบบสารสนเทศคืออะไร?
ระบบสารสนเทศ 
• Information System 
– ระบบที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มาใช้ 
เพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานบางอย่างของมนุษย์ 
– ใช้เทคโนโลยีเป็น เครื่องมือ เพื่อให้ข้อมูล (Deliver information) และ 
สนับสนุนกระบวนการทำงาน (business processes) ให้กับ ผู้ใช้งาน 
(users) ในการทำงานหนึ่งๆ 
– เช่น ระบบการฝาก-ถอนเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร ระบบการลงทะเบียน 
เรียนผ่านเว็บ ระบบ e-learning ระบบจองตั๋วเครื่องบิน ระบบแสดงตาราง 
เที่ยวบิน เป็นต้น
ทำไมต้องมีระบบสารสนเทศ 
• เชื่อมโยงข้อมูลจากหลายสถานที่ 
• การประมวลผลที่รวดเร็ว 
• การทำงานร่วมกันหลายคน 
• ลดโอกาสผิดพลาด หรือความไม่สม่ำเสมอของคุณภาพงาน 
Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Logistics_automation
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 
Hardware Software 
Peopleware Data 
- อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั้งเครื่อง 
แม่ข่าย (Servers) และเครื่องลูก 
ข่าย (Clients) 
- ระบบเครือข่าย (Network) 
- ระบบปฏิบัติการ (Operating 
System) เช่น Windows XP 
- โปรแกรมช่วยสนับสนุนการ 
ทำงาน (System Utilities) เช่น 
Antivirus 
- โปรแกรมประยุกต์ 
(Applications) เช่น Microsoft 
Word หรือ Hospital 
Information System 
- ข้อมูลที่เก็บในระบบ 
- ผู้ใช้งาน 
โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (IT Infrastructure)
ระบบตู้กดเงินอัตโนมัติ (ATM) 
Image Source: http://www.gsb.or.th/products/personal/services/atm.php
ระบบแสดงตารางเที่ยวบิน 
Image Source: http://www.m7worldwide.com/checkaflight.html
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 
(Hospital Information System)
ข้อมูล (Information) 
มีอยู่ทุกหนทุกแห่งในทางการแพทย์
หลากหลายรูปแบบของ Health IT 
Hospital Information System (HIS) Computerized Provider Order Entry (CPOE) 
Electronic 
Health 
Records 
(EHRs) 
Picture Archiving and 
Communication System 
(PACS)
อีกหลายรูปแบบของ Health IT 
m-Health 
Health Information 
Exchange (HIE) 
Biosurveillance 
Information Retrieval 
Telemedicine & 
Telehealth 
Images from Apple Inc., Geekzone.co.nz, Google, PubMed.gov, and American Telecare, I 
Personal Health Records 
(PHRs)
ระบบสารสนเทศที่ใช้ในโรงพยาบาล 
จำแนกตามลักษณะงาน 
• ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office) 
• ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกับงานบริการ (Back Office)
Front Office 
• ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office) 
– ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Records 
หรือ Electronic Health Records) 
– ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System) 
หรือระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical Information System) 
– ระบบงานย่อยๆ ของหน่วยบริการภายในโรงพยาบาล
Back Office 
• ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกับงานบริการ (Back Office) 
– ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information Systems 
หรือ MIS) 
– ระบบบริหารจัดการทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning 
หรือ ERP) 
– ระบบสารสนเทศการวิจัยและการศึกษา 
– เว็บไซต์ และอินทราเน็ตภายในองค์กร 
– ระบบงานสารบรรณ (การเวียนเอกสาร)
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล 
จำแนกตามหน่วยงานที่ใช้ 
ใช้ทั่วทั้งองค์กร หรือหลายหน่วยงาน (Enterprise-wide Systems) 
• MPI, ADT 
• EHRs/EMRs/HIS/CIS 
• CPOE & CDSS 
• PACS 
• Nursing applications 
• MIS, ERP
ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล 
จำแนกตามหน่วยงานที่ใช้ 
ใช้เฉพาะบางหน่วยงาน (Departmental Systems) 
• ระบบงานห้องยา (Pharmacy applications) 
• LIS, RIS 
• ระบบเฉพาะทาง (Specialized applications) เช่น ระบบงาน ER, 
OR, LR, Anesthesia, Critical Care, Blood Bank 
• E-Learning
Master Patient Index (MPI) 
• ระบบทะเบียนผู้ป่วย 
• Functions 
– การลงทะเบียน (Registration) และระบุตัวตน (identification) 
ของผู้ป่วย โดยใช้เลขประจำตัวผู้ป่วย (HN) 
– การบันทึกและแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย (patient 
demographics) 
– ระบบอื่นๆ ในโรงพยาบาลมักใช้ข้อมูลจากระบบนี้เพื่อระบุตัวตน 
หรือสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วย
Admission-Discharge-Transfer (ADT) 
• ระบบงานรับผู้ป่วยใน จำหน่าย และย้าย/ส่งต่อผู้ป่วย 
• Functions 
– สนับสนุน Admission, Discharge และ Transfer ผู้ป่วย 
(เรียกกระบวนการ ADT ว่า “patient management”) 
– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะของผู้ป่วยว่า admit อยู่หรือไม่ รวมทั้งหอ 
ผู้ป่วยที่ admit 
– ให้ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณอัตราครองเตียง (bed occupancy) 
– เชื่อมโยงกับระบบการเงิน และการส่งข้อมูลเพื่อเบิกจ่ายค่า 
รักษาพยาบาล
Bed Management (from ADT System)
ระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาล 
(Insurance Eligibility System) 
• Functions 
– ตรวจสอบว่าผู้ป่วยมีสิทธิค่ารักษาพยาบาลอะไรบ้าง เช่น สิทธิ 
ประกันสุขภาพ (30 บาท), สิทธิประกันสังคม, สิทธิข้าราชการ 
เป็นต้น หรือไม่มีสิทธิใดๆ (เงินสด) 
– ตรวจสอบว่าสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย ครอบคลุมการ 
บริการที่ผู้ป่วยจะได้รับหรือไม่ (coverage) เพื่อคำนวณค่าใช้จ่าย 
– อาจต้องเชื่อมโยงกับระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาลของ 
หน่วยงานต่างๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 
สำนักงานประกันสังคม กรมบัญชีกลาง
ระบบนัดหมายผู้ป่วย 
(Appointment Scheduling) 
• Functions 
– บันทึกข้อมูลการนัดหมายของผู้ป่วย 
– กำหนดจำนวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ต่อแพทย์หรือต่อหน่วยตรวจ 
– สนับสนุนการเลื่อนนัดหรือยกเลิกนัด 
– แสดงรายชื่อผู้ป่วยที่นัดหมายในวันหนึ่งๆ ของแต่ละหน่วยตรวจได้ 
– สามารถปรับจำนวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ หรือกำหนดวันหยุดที่ 
ห้ามนัดได้
ระบบงานพยาบาล (Nursing Applications) 
Functions (บางส่วน) 
• บันทึก nursing assessments, interventions และ nursing 
outcomes 
• ช่วยสนับสนุนการลง charting และ vital sign recording 
• อาจใช้มาตรฐานข้อมูลทาง nursing informatics 
• ช่วยในการบันทึกแผนการรักษา (care-planning) 
• สนับสนุนการสื่อสารภายในทีมและระหว่างเวร เช่น ระบบ e-Kardex 
• บันทึกเหตุการณ์ความเสี่ยง (incidents) ต่างๆ
ระบบงานห้องยา (Pharmacy Applications) 
Functions 
• สนับสนุนกระบวนการทำงาน (workflow) ตั้งแต่การสั่งยา 
(medication orders/prescription) ไปจนถึงการจ่ายยา 
(dispensing) และการคิดราคายา 
• ลดความผิดพลาดทางยา (medication errors) และช่วยส่งเสริม 
ความปลอดภัยทางยา (medication safety) 
• ช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการคลังยา (drug inventory 
management)
Laboratory Information System (LIS) 
Functions 
• รับข้อมูลและประมวลผล Lab orders ที่มีการสั่งมา 
• การ match tube และ specimen กับผู้ป่วย ในระบบ 
• กระบวนการภายในห้อง Lab 
– การประมวลผล Order (Order processing) 
– การลงทะเบียนรับ specimen (Specimen registration & processing) 
– การตรวจสอบผลและรายงานผล Lab (Lab results validation & 
reporting) 
– การเก็บ Specimen ไว้ในคลัง (Specimen inventory)
ระบบภาพทางการแพทย์ (Imaging Applications): 
ระบบแสดงภาพ (PACS) 
Picture Archiving and Communication System (PACS) 
• รับภาพ x-ray จากเครื่อง x-ray modalities ต่างๆ และบันทึกเข้าสู่ระบบ 
• การแสดงภาพ x-ray ให้บุคลากรทางการแพทย์อ่าน 
• ส่วนใหญ่ใช้กับภาพ x-ray เป็นหลัก แต่อาจใช้ในสาขาเฉพาะทางอื่นๆ ได้ เช่น 
โรคหัวใจ ส่องกล้อง พยาธิวิทยา และจักษุวิทยา เป็นต้น 
• ข้อดี: ประหยัดพื้นที่เก็บฟิล์ม x-ray, ค่าพิมพ์ฟิล์ม ป้องกันการทำฟิล์ม x-ray 
สูญหาย สามารถดูภาพพร้อมกันหลายคนได้ ดูภาพจากทางไกล (เช่น ที่บ้าน) 
ได้ รวมทั้งคุณสมบัติในการคำนวณและประมวลผลภาพด้วยคอมพิวเตอร์ 
(image processing & manipulation)
ระบบภาพทางการแพทย์ (Imaging Applications): 
ระบบสารสนเทศทางรังสีวิทยา 
Radiology Information System (RIS) หรือ Workflow 
Management 
• สนับสนุนกระบวนการทำงาน (workflow) ภายในหน่วยงานรังสี 
วิทยา (radiology department) ตั้งแต่การลงทะเบียนผู้ป่วย 
(patient registration) การนัดหมายเอกซเรย์(appointments & 
scheduling) การส่งปรึกษา (consultations) การพิมพ์รายงานการ 
อ่านภาพเอกซเรย์(imaging reports) เป็นต้น
ระบบงานการเงิน (Billing System) 
• Functions 
– คำนวณค่าบริการสำหรับการให้บริการที่ผู้ป่วยได้รับ 
– คำนวณค่าใช้จ่ายที่ต้องเรียกเก็บตามสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย 
(insurance eligibility) และความครอบคลุมการบริการต่างๆ (coverage) 
– บันทึกจำนวนเงินที่ผู้ป่วยชำระและยอดคงเหลือ เพื่อการติดตามทวง 
ค่าใช้จ่ายในอนาคต 
– ส่งข้อมูลยอดเงินที่ได้รับไปยังระบบบัญชีหรือระบบ Back Office เพื่อ 
บันทึกรายได้ของโรงพยาบาล และเพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่ 
เหลืออยู่จากกองทุนต่างๆ (reimbursement claims to government 
agencies)
Enterprise Resource Planning 
• ระบบบริหารทรัพยากรขององค์กร 
• Some Functions 
– การคลัง (Finance) 
• บัญชี (Accounting) 
• งบประมาณ (Budgeting) 
• การวิเคราะห์ต้นทุน (Cost control and management)
Enterprise Resource Planning 
• Some Functions (ต่อ) 
– การพัสดุ (Materials Management) 
• การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) 
• การบริหารคลังพัสดุ (Inventory management) 
– การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources) 
• การคัดเลือกและบรรจุ (Recruitment) การประเมิน (evaluation) การเลื่อนขั้น 
(promotion) และการลงโทษทางวินัย (disciplinary actions) บุคลากร 
• การอบรมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร (Human resource development 
and training) 
• การจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน (Payroll) และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร
ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ 
Electronic Medical Records (EMRs)/ 
Electronic Health Records (EHRs) 
(Topic for Next Week)
เวชระเบียนผู้ป่วย (Medical Records)
Computerized Physician Order Entry 
(CPOE) 
Functions 
• แพทย์สั่ง medication/lab/diagnostic/imaging orders ผ่านคอมพิวเตอร์ 
• พยาบาลและเภสัชกร ตรวจสอบความเหมาะสมของ orders และรับไปดำเนินการ 
• มักถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบ EHRs หรือ HIS 
ประโยชน์ 
• ไม่มีลายมือแพทย์ใน Order!!! 
• สามารถกำหนดให้ป้อนข้อมูลให้ครบถ้วนได้ (เช่น dose, unit, route, frequency ในการสั่งยา) ลด 
โอกาสผิดพลาด 
• ไม่มีกระบวนการคัดลอก order (transcription) ลดโอกาสผิดพลาด 
• สามารถนำระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (CDSS) มาช่วยได้ (เช่น ตรวจสอบการแพ้ยา หรือ 
drug interactions) 
• ช่วยให้กระบวนการจากการสั่ง order ไปจนถึงสิ้นสุดกระบวนการ รวดเร็ว มีการประสานงานร่วมกัน
Computerized Physician Order Entry 
(CPOE)
กระบวนการทางยา (Stages of Medication Process) 
Ordering Transcription Dispensing Administration 
CPOE 
Automatic 
Medication 
Dispensing 
Electronic 
Medication 
Administration 
Records 
(e-MAR) 
Barcoded 
Medication 
Administration 
Barcoded 
Medication 
Dispensing
Clinical Decision Support Systems 
(CDSS) 
• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (สนับสนุน Clinical Decision Making) 
• CDSSมีหลากหลายรูปแบบ 
– Expert systems (ทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตอบคำถามหรือให้ข้อมูลที่ต้องการ) 
• ใช้artificial intelligence, machine learning, ตรรกะ หรือวิธีการทางสถิติ 
• ตัวอย่าง: ระบบที่ช่วยให้ differential diagnoses หรือแนะนำแนวทางการรักษา 
– Alerts & reminders (การเตือนให้ทำหรือไม่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง) 
• อาศัยเงื่อนไขตามที่ได้รับการออกแบบ 
• ตัวอย่าง: drug-allergy checks, drug-drug interaction checks, drug-lab interaction 
checks, reminders for preventive services or certain actions (e.g. smoking 
cessation), clinical practice guideline integration 
– ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลยา (drug database) 
– ระบบง่ายๆ ที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น การ highlight ผล lab ที่ผิดปกติ เป็นต้น
• Clinical Decision Support (CDS) “is a process for enhancing 
health-related decisions and actions with pertinent, organized 
clinical knowledge and patient information to improve health and 
healthcare delivery” (Including both computer-based & non-computer- 
based CDS) 
(Osheroff et al., 2012) 
What Is A CDS?
What Is A CDS? 
• Computer-based clinical decision support (CDS): “Use of the 
computer [ICT] to bring relevant knowledge to bear on the health 
care and well being of a patient.” 
(Greenes, 2007)
Clinical Decision Support 
Systems (CDS) 
• The real place where most of the values 
of health IT can be achieved 
• There are a variety of forms and nature 
of CDS
• Expert systems 
–Based on artificial 
intelligence, machine 
learning, rules, or 
statistics 
– Examples: differential 
diagnoses, treatment 
options 
CDS Examples 
Shortliffe (1976)
CDS Examples 
• Alerts & reminders 
–Based on specified logical conditions 
• Drug-allergy checks 
• Drug-drug interaction checks 
• Drug-lab interaction checks 
• Drug-formulary checks 
• Reminders for preventive services or certain actions (e.g. 
smoking cessation) 
• Clinical practice guideline integration (e.g. best practices 
for chronic disease patients)
Example of “Reminders”
CDS Examples 
• Reference information or evidence-based 
knowledge sources 
–Drug reference databases 
–Textbooks & journals 
–Online literature (e.g. PubMed) 
–Tools that help users easily access 
references (e.g. Infobuttons)
Infobuttons 
Image Source: https://webcis.nyp.org/webcisdocs/what-are-infobuttons.html
Order Sets 
Image Source: http://www.hospitalmedicine.org/ResourceRoomRedesign/CSSSIS/html/06Reliable/SSI/Order.cfm
CDS Examples 
• Simple UI designed to help clinical 
decision making 
–Abnormal lab highlights 
–Graphs/visualizations for lab results 
–Filters & sorting functions
Abnormal Lab Highlights 
Image Source: http://geekdoctor.blogspot.com/2008/04/designing-ideal-electronic-health.html
External Memory 
Knowledge Data 
Long Term Memory 
Knowledge Data 
PATIENT 
Perception 
Attention 
Working 
Memory 
Inference 
DECISION 
CLINICIAN 
Elson, Faughnan & Connelly (1997) 
How CDS Supports Decision 
Making 
Abnormal lab 
highlights
External Memory 
Knowledge Data 
Long Term Memory 
Knowledge Data 
PATIENT 
Perception 
Attention 
Working 
Memory 
Inference 
DECISION 
CLINICIAN 
Elson, Faughnan & Connelly (1997) 
How CDS Supports Decision 
Making 
Order Sets
External Memory 
Knowledge Data 
Long Term Memory 
Knowledge Data 
PATIENT 
Perception 
Attention 
Working 
Memory 
Inference 
DECISION 
CLINICIAN 
Elson, Faughnan & Connelly (1997) 
How CDS Supports Decision 
Making 
Drug-Allergy 
Checks
External Memory 
Knowledge Data 
Long Term Memory 
Knowledge Data 
PATIENT 
Perception 
Attention 
Working 
Memory 
Inference 
DECISION 
CLINICIAN 
Elson, Faughnan & Connelly (1997) 
How CDS Supports Decision 
Making 
Clinical Practice 
Guideline 
Alerts/Reminders
External Memory 
Knowledge Data 
Long Term Memory 
Knowledge Data 
PATIENT 
Perception 
Attention 
Working 
Memory 
Inference 
DECISION 
CLINICIAN 
Elson, Faughnan & Connelly (1997) 
How CDS Supports Decision 
Making 
Integration of 
Evidence-Based 
Resources (e.g. 
drug databases, 
literature)
External Memory 
Knowledge Data 
Long Term Memory 
Knowledge Data 
PATIENT 
Perception 
Attention 
Working 
Memory 
Inference 
DECISION 
CLINICIAN 
Elson, Faughnan & Connelly (1997) 
How CDS Supports Decision 
Making 
Diagnostic/Treatment 
Expert Systems
IBM’s Watson 
Image Source: socialmediab2b.com
Image Source: englishmoviez.com 
Rise of the Machines?
Human Factor Issues of CDS 
Issues 
• CDSS as a supplement or replacement of clinicians? 
– The demise of the “Greek Oracle” model (Miller & Masarie, 1990) 
The “Greek Oracle” Model 
Wrong Assumption 
The “Fundamental Theorem” 
Correct Assumption 
Friedman (2009)
Human Factor Issues of CDS 
• Features with improved clinical practice 
(Kawamoto et al., 2005) 
– Automatic provision of decision support as part of 
clinician workflow 
– Provision of recommendations rather than just 
assessments 
– Provision of decision support at the time and location of 
decision making 
– Computer based decision support 
• Usability & impact on productivity
ปัญหาจากการใช้ระบบสารสนเทศ 
Issues 
• การที่สมองล้าจากข้อความเตือนที่ปรากฏมากเกินไป (Alert fatigue)
ปัญหาจากการใช้ระบบสารสนเทศ 
Issues 
• ผลที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้งาน (Unintended Consequences) เช่น ทาง 
ลัด หรือ workarounds ที่ไม่ได้ถูกออกแบบมา ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อผู้ป่วยได้
Unintended Consequences of 
• “Unanticipated and unwanted effect of health IT 
implementation” (www.ucguide.org) 
• Resources 
– www.ucguide.org 
– Ash et al. (2004) 
– Campbell et al. (2006) 
– Koppel et al. (2005) 
CDS & Health IT
Ash et al. (2004) 
Unintended Consequences of 
CDS & Health IT
• Errors in the process of entering and retrieving information 
– A human-computer interface that is not suitable for a highly 
interruptive use context 
– Causing cognitive overload by overemphasizing structured 
and “complete” information entry or retrieval 
• Structure 
• Fragmentation 
• Overcompleteness 
Ash et al. (2004) 
Unintended Consequences of 
CDS & Health IT
• Errors in communication & coordination 
– Misrepresenting collective, interactive work as a linear, 
clearcut, and predictable workflow 
• Inflexibility 
• Urgency 
• Workarounds 
• Transfers of patients 
– Misrepresenting communication as information transfer 
• Loss of communication 
• Loss of feedback 
• Decision support overload 
• Catching errors 
Ash et al. (2004) 
Unintended Consequences of 
CDS & Health IT
The Bigger Picture: 
Health Information Exchange (HIE) 
Hospital A Hospital B 
Clinic C 
Government 
Lab Patient at Home
สรุป 
• ในโรงพยาบาลมีระบบสารสนเทศหลายระบบ หลายรูปแบบ 
• ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (HIS) มักหมายถึง “Front Office” ที่ 
เกี่ยวข้องกับการบริการผู้ป่วย ของระบบสารสนเทศต่างๆ ในโรงพยาบาล 
• HIS และ EHRs ถูกใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย สนับสนุน 
การตัดสินใจทางคลินิก เพิ่มคุณภาพการรักษา และลดค่าใช้จ่าย 
• HIS และ EHRs เป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศที่ใช้ในระบบ 
สุขภาพในภาพรวม (ทั้งในและนอกโรงพยาบาล) 
• การใช้ระบบสารสนเทศอาจมีผลที่ไม่พึงประสงค์ (unintended 
consequences) เกิดขึ้นได้ จึงควรใช้งานให้ถูกต้องตามที่ออกแบบมา
Questions?

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการkulachai
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsUtai Sukviwatsirikul
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ekkachai kaikaew
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 

La actualidad más candente (20)

บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
Nursing informatics
Nursing informaticsNursing informatics
Nursing informatics
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 

Similar a Clinical Information Systems

Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Clinical Information Systems (October 9, 2016)
Clinical Information Systems (October 9, 2016)Clinical Information Systems (October 9, 2016)
Clinical Information Systems (October 9, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Unit7.ppt (read only)
Unit7.ppt (read only)Unit7.ppt (read only)
Unit7.ppt (read only)sirinyabh
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpchutikan
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 

Similar a Clinical Information Systems (20)

Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
 
Clinical Information Systems (October 9, 2016)
Clinical Information Systems (October 9, 2016)Clinical Information Systems (October 9, 2016)
Clinical Information Systems (October 9, 2016)
 
Clinical Information Systems
Clinical Information SystemsClinical Information Systems
Clinical Information Systems
 
Unit7
Unit7Unit7
Unit7
 
Unit7.ppt (read only)
Unit7.ppt (read only)Unit7.ppt (read only)
Unit7.ppt (read only)
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (สอนนักศึกษาพยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี 25 ก.พ. 2557)
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
Hospital Information System (June 26, 2018)
Hospital Information System (June 26, 2018)Hospital Information System (June 26, 2018)
Hospital Information System (June 26, 2018)
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 

Más de Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Más de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

Clinical Information Systems

  • 1. ระบบสารสนเทศทางคลินิก/ ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี 12 ตุลาคม 2557 http://www.slideshare.net/nawanan
  • 3. ระบบสารสนเทศ • Information System – ระบบที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มาใช้ เพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานบางอย่างของมนุษย์ – ใช้เทคโนโลยีเป็น เครื่องมือ เพื่อให้ข้อมูล (Deliver information) และ สนับสนุนกระบวนการทำงาน (business processes) ให้กับ ผู้ใช้งาน (users) ในการทำงานหนึ่งๆ – เช่น ระบบการฝาก-ถอนเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร ระบบการลงทะเบียน เรียนผ่านเว็บ ระบบ e-learning ระบบจองตั๋วเครื่องบิน ระบบแสดงตาราง เที่ยวบิน เป็นต้น
  • 4. ทำไมต้องมีระบบสารสนเทศ • เชื่อมโยงข้อมูลจากหลายสถานที่ • การประมวลผลที่รวดเร็ว • การทำงานร่วมกันหลายคน • ลดโอกาสผิดพลาด หรือความไม่สม่ำเสมอของคุณภาพงาน Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Logistics_automation
  • 5. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ Hardware Software Peopleware Data - อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั้งเครื่อง แม่ข่าย (Servers) และเครื่องลูก ข่าย (Clients) - ระบบเครือข่าย (Network) - ระบบปฏิบัติการ (Operating System) เช่น Windows XP - โปรแกรมช่วยสนับสนุนการ ทำงาน (System Utilities) เช่น Antivirus - โปรแกรมประยุกต์ (Applications) เช่น Microsoft Word หรือ Hospital Information System - ข้อมูลที่เก็บในระบบ - ผู้ใช้งาน โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (IT Infrastructure)
  • 6. ระบบตู้กดเงินอัตโนมัติ (ATM) Image Source: http://www.gsb.or.th/products/personal/services/atm.php
  • 10. หลากหลายรูปแบบของ Health IT Hospital Information System (HIS) Computerized Provider Order Entry (CPOE) Electronic Health Records (EHRs) Picture Archiving and Communication System (PACS)
  • 11. อีกหลายรูปแบบของ Health IT m-Health Health Information Exchange (HIE) Biosurveillance Information Retrieval Telemedicine & Telehealth Images from Apple Inc., Geekzone.co.nz, Google, PubMed.gov, and American Telecare, I Personal Health Records (PHRs)
  • 12. ระบบสารสนเทศที่ใช้ในโรงพยาบาล จำแนกตามลักษณะงาน • ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office) • ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกับงานบริการ (Back Office)
  • 13. Front Office • ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office) – ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Records หรือ Electronic Health Records) – ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System) หรือระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical Information System) – ระบบงานย่อยๆ ของหน่วยบริการภายในโรงพยาบาล
  • 14. Back Office • ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกับงานบริการ (Back Office) – ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information Systems หรือ MIS) – ระบบบริหารจัดการทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) – ระบบสารสนเทศการวิจัยและการศึกษา – เว็บไซต์ และอินทราเน็ตภายในองค์กร – ระบบงานสารบรรณ (การเวียนเอกสาร)
  • 15. ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล จำแนกตามหน่วยงานที่ใช้ ใช้ทั่วทั้งองค์กร หรือหลายหน่วยงาน (Enterprise-wide Systems) • MPI, ADT • EHRs/EMRs/HIS/CIS • CPOE & CDSS • PACS • Nursing applications • MIS, ERP
  • 16. ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล จำแนกตามหน่วยงานที่ใช้ ใช้เฉพาะบางหน่วยงาน (Departmental Systems) • ระบบงานห้องยา (Pharmacy applications) • LIS, RIS • ระบบเฉพาะทาง (Specialized applications) เช่น ระบบงาน ER, OR, LR, Anesthesia, Critical Care, Blood Bank • E-Learning
  • 17. Master Patient Index (MPI) • ระบบทะเบียนผู้ป่วย • Functions – การลงทะเบียน (Registration) และระบุตัวตน (identification) ของผู้ป่วย โดยใช้เลขประจำตัวผู้ป่วย (HN) – การบันทึกและแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย (patient demographics) – ระบบอื่นๆ ในโรงพยาบาลมักใช้ข้อมูลจากระบบนี้เพื่อระบุตัวตน หรือสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วย
  • 18. Admission-Discharge-Transfer (ADT) • ระบบงานรับผู้ป่วยใน จำหน่าย และย้าย/ส่งต่อผู้ป่วย • Functions – สนับสนุน Admission, Discharge และ Transfer ผู้ป่วย (เรียกกระบวนการ ADT ว่า “patient management”) – ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะของผู้ป่วยว่า admit อยู่หรือไม่ รวมทั้งหอ ผู้ป่วยที่ admit – ให้ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณอัตราครองเตียง (bed occupancy) – เชื่อมโยงกับระบบการเงิน และการส่งข้อมูลเพื่อเบิกจ่ายค่า รักษาพยาบาล
  • 19. Bed Management (from ADT System)
  • 20. ระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาล (Insurance Eligibility System) • Functions – ตรวจสอบว่าผู้ป่วยมีสิทธิค่ารักษาพยาบาลอะไรบ้าง เช่น สิทธิ ประกันสุขภาพ (30 บาท), สิทธิประกันสังคม, สิทธิข้าราชการ เป็นต้น หรือไม่มีสิทธิใดๆ (เงินสด) – ตรวจสอบว่าสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย ครอบคลุมการ บริการที่ผู้ป่วยจะได้รับหรือไม่ (coverage) เพื่อคำนวณค่าใช้จ่าย – อาจต้องเชื่อมโยงกับระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาลของ หน่วยงานต่างๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม กรมบัญชีกลาง
  • 21. ระบบนัดหมายผู้ป่วย (Appointment Scheduling) • Functions – บันทึกข้อมูลการนัดหมายของผู้ป่วย – กำหนดจำนวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ต่อแพทย์หรือต่อหน่วยตรวจ – สนับสนุนการเลื่อนนัดหรือยกเลิกนัด – แสดงรายชื่อผู้ป่วยที่นัดหมายในวันหนึ่งๆ ของแต่ละหน่วยตรวจได้ – สามารถปรับจำนวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ หรือกำหนดวันหยุดที่ ห้ามนัดได้
  • 22. ระบบงานพยาบาล (Nursing Applications) Functions (บางส่วน) • บันทึก nursing assessments, interventions และ nursing outcomes • ช่วยสนับสนุนการลง charting และ vital sign recording • อาจใช้มาตรฐานข้อมูลทาง nursing informatics • ช่วยในการบันทึกแผนการรักษา (care-planning) • สนับสนุนการสื่อสารภายในทีมและระหว่างเวร เช่น ระบบ e-Kardex • บันทึกเหตุการณ์ความเสี่ยง (incidents) ต่างๆ
  • 23. ระบบงานห้องยา (Pharmacy Applications) Functions • สนับสนุนกระบวนการทำงาน (workflow) ตั้งแต่การสั่งยา (medication orders/prescription) ไปจนถึงการจ่ายยา (dispensing) และการคิดราคายา • ลดความผิดพลาดทางยา (medication errors) และช่วยส่งเสริม ความปลอดภัยทางยา (medication safety) • ช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการคลังยา (drug inventory management)
  • 24. Laboratory Information System (LIS) Functions • รับข้อมูลและประมวลผล Lab orders ที่มีการสั่งมา • การ match tube และ specimen กับผู้ป่วย ในระบบ • กระบวนการภายในห้อง Lab – การประมวลผล Order (Order processing) – การลงทะเบียนรับ specimen (Specimen registration & processing) – การตรวจสอบผลและรายงานผล Lab (Lab results validation & reporting) – การเก็บ Specimen ไว้ในคลัง (Specimen inventory)
  • 25. ระบบภาพทางการแพทย์ (Imaging Applications): ระบบแสดงภาพ (PACS) Picture Archiving and Communication System (PACS) • รับภาพ x-ray จากเครื่อง x-ray modalities ต่างๆ และบันทึกเข้าสู่ระบบ • การแสดงภาพ x-ray ให้บุคลากรทางการแพทย์อ่าน • ส่วนใหญ่ใช้กับภาพ x-ray เป็นหลัก แต่อาจใช้ในสาขาเฉพาะทางอื่นๆ ได้ เช่น โรคหัวใจ ส่องกล้อง พยาธิวิทยา และจักษุวิทยา เป็นต้น • ข้อดี: ประหยัดพื้นที่เก็บฟิล์ม x-ray, ค่าพิมพ์ฟิล์ม ป้องกันการทำฟิล์ม x-ray สูญหาย สามารถดูภาพพร้อมกันหลายคนได้ ดูภาพจากทางไกล (เช่น ที่บ้าน) ได้ รวมทั้งคุณสมบัติในการคำนวณและประมวลผลภาพด้วยคอมพิวเตอร์ (image processing & manipulation)
  • 26. ระบบภาพทางการแพทย์ (Imaging Applications): ระบบสารสนเทศทางรังสีวิทยา Radiology Information System (RIS) หรือ Workflow Management • สนับสนุนกระบวนการทำงาน (workflow) ภายในหน่วยงานรังสี วิทยา (radiology department) ตั้งแต่การลงทะเบียนผู้ป่วย (patient registration) การนัดหมายเอกซเรย์(appointments & scheduling) การส่งปรึกษา (consultations) การพิมพ์รายงานการ อ่านภาพเอกซเรย์(imaging reports) เป็นต้น
  • 27. ระบบงานการเงิน (Billing System) • Functions – คำนวณค่าบริการสำหรับการให้บริการที่ผู้ป่วยได้รับ – คำนวณค่าใช้จ่ายที่ต้องเรียกเก็บตามสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย (insurance eligibility) และความครอบคลุมการบริการต่างๆ (coverage) – บันทึกจำนวนเงินที่ผู้ป่วยชำระและยอดคงเหลือ เพื่อการติดตามทวง ค่าใช้จ่ายในอนาคต – ส่งข้อมูลยอดเงินที่ได้รับไปยังระบบบัญชีหรือระบบ Back Office เพื่อ บันทึกรายได้ของโรงพยาบาล และเพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่ เหลืออยู่จากกองทุนต่างๆ (reimbursement claims to government agencies)
  • 28. Enterprise Resource Planning • ระบบบริหารทรัพยากรขององค์กร • Some Functions – การคลัง (Finance) • บัญชี (Accounting) • งบประมาณ (Budgeting) • การวิเคราะห์ต้นทุน (Cost control and management)
  • 29. Enterprise Resource Planning • Some Functions (ต่อ) – การพัสดุ (Materials Management) • การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) • การบริหารคลังพัสดุ (Inventory management) – การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources) • การคัดเลือกและบรรจุ (Recruitment) การประเมิน (evaluation) การเลื่อนขั้น (promotion) และการลงโทษทางวินัย (disciplinary actions) บุคลากร • การอบรมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร (Human resource development and training) • การจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน (Payroll) และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร
  • 30. ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Medical Records (EMRs)/ Electronic Health Records (EHRs) (Topic for Next Week)
  • 32. Computerized Physician Order Entry (CPOE) Functions • แพทย์สั่ง medication/lab/diagnostic/imaging orders ผ่านคอมพิวเตอร์ • พยาบาลและเภสัชกร ตรวจสอบความเหมาะสมของ orders และรับไปดำเนินการ • มักถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบ EHRs หรือ HIS ประโยชน์ • ไม่มีลายมือแพทย์ใน Order!!! • สามารถกำหนดให้ป้อนข้อมูลให้ครบถ้วนได้ (เช่น dose, unit, route, frequency ในการสั่งยา) ลด โอกาสผิดพลาด • ไม่มีกระบวนการคัดลอก order (transcription) ลดโอกาสผิดพลาด • สามารถนำระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (CDSS) มาช่วยได้ (เช่น ตรวจสอบการแพ้ยา หรือ drug interactions) • ช่วยให้กระบวนการจากการสั่ง order ไปจนถึงสิ้นสุดกระบวนการ รวดเร็ว มีการประสานงานร่วมกัน
  • 34. กระบวนการทางยา (Stages of Medication Process) Ordering Transcription Dispensing Administration CPOE Automatic Medication Dispensing Electronic Medication Administration Records (e-MAR) Barcoded Medication Administration Barcoded Medication Dispensing
  • 35. Clinical Decision Support Systems (CDSS) • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (สนับสนุน Clinical Decision Making) • CDSSมีหลากหลายรูปแบบ – Expert systems (ทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตอบคำถามหรือให้ข้อมูลที่ต้องการ) • ใช้artificial intelligence, machine learning, ตรรกะ หรือวิธีการทางสถิติ • ตัวอย่าง: ระบบที่ช่วยให้ differential diagnoses หรือแนะนำแนวทางการรักษา – Alerts & reminders (การเตือนให้ทำหรือไม่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง) • อาศัยเงื่อนไขตามที่ได้รับการออกแบบ • ตัวอย่าง: drug-allergy checks, drug-drug interaction checks, drug-lab interaction checks, reminders for preventive services or certain actions (e.g. smoking cessation), clinical practice guideline integration – ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลยา (drug database) – ระบบง่ายๆ ที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น การ highlight ผล lab ที่ผิดปกติ เป็นต้น
  • 36. • Clinical Decision Support (CDS) “is a process for enhancing health-related decisions and actions with pertinent, organized clinical knowledge and patient information to improve health and healthcare delivery” (Including both computer-based & non-computer- based CDS) (Osheroff et al., 2012) What Is A CDS?
  • 37. What Is A CDS? • Computer-based clinical decision support (CDS): “Use of the computer [ICT] to bring relevant knowledge to bear on the health care and well being of a patient.” (Greenes, 2007)
  • 38. Clinical Decision Support Systems (CDS) • The real place where most of the values of health IT can be achieved • There are a variety of forms and nature of CDS
  • 39. • Expert systems –Based on artificial intelligence, machine learning, rules, or statistics – Examples: differential diagnoses, treatment options CDS Examples Shortliffe (1976)
  • 40. CDS Examples • Alerts & reminders –Based on specified logical conditions • Drug-allergy checks • Drug-drug interaction checks • Drug-lab interaction checks • Drug-formulary checks • Reminders for preventive services or certain actions (e.g. smoking cessation) • Clinical practice guideline integration (e.g. best practices for chronic disease patients)
  • 42. CDS Examples • Reference information or evidence-based knowledge sources –Drug reference databases –Textbooks & journals –Online literature (e.g. PubMed) –Tools that help users easily access references (e.g. Infobuttons)
  • 43. Infobuttons Image Source: https://webcis.nyp.org/webcisdocs/what-are-infobuttons.html
  • 44. Order Sets Image Source: http://www.hospitalmedicine.org/ResourceRoomRedesign/CSSSIS/html/06Reliable/SSI/Order.cfm
  • 45. CDS Examples • Simple UI designed to help clinical decision making –Abnormal lab highlights –Graphs/visualizations for lab results –Filters & sorting functions
  • 46. Abnormal Lab Highlights Image Source: http://geekdoctor.blogspot.com/2008/04/designing-ideal-electronic-health.html
  • 47. External Memory Knowledge Data Long Term Memory Knowledge Data PATIENT Perception Attention Working Memory Inference DECISION CLINICIAN Elson, Faughnan & Connelly (1997) How CDS Supports Decision Making Abnormal lab highlights
  • 48. External Memory Knowledge Data Long Term Memory Knowledge Data PATIENT Perception Attention Working Memory Inference DECISION CLINICIAN Elson, Faughnan & Connelly (1997) How CDS Supports Decision Making Order Sets
  • 49. External Memory Knowledge Data Long Term Memory Knowledge Data PATIENT Perception Attention Working Memory Inference DECISION CLINICIAN Elson, Faughnan & Connelly (1997) How CDS Supports Decision Making Drug-Allergy Checks
  • 50. External Memory Knowledge Data Long Term Memory Knowledge Data PATIENT Perception Attention Working Memory Inference DECISION CLINICIAN Elson, Faughnan & Connelly (1997) How CDS Supports Decision Making Clinical Practice Guideline Alerts/Reminders
  • 51. External Memory Knowledge Data Long Term Memory Knowledge Data PATIENT Perception Attention Working Memory Inference DECISION CLINICIAN Elson, Faughnan & Connelly (1997) How CDS Supports Decision Making Integration of Evidence-Based Resources (e.g. drug databases, literature)
  • 52. External Memory Knowledge Data Long Term Memory Knowledge Data PATIENT Perception Attention Working Memory Inference DECISION CLINICIAN Elson, Faughnan & Connelly (1997) How CDS Supports Decision Making Diagnostic/Treatment Expert Systems
  • 53. IBM’s Watson Image Source: socialmediab2b.com
  • 54. Image Source: englishmoviez.com Rise of the Machines?
  • 55. Human Factor Issues of CDS Issues • CDSS as a supplement or replacement of clinicians? – The demise of the “Greek Oracle” model (Miller & Masarie, 1990) The “Greek Oracle” Model Wrong Assumption The “Fundamental Theorem” Correct Assumption Friedman (2009)
  • 56. Human Factor Issues of CDS • Features with improved clinical practice (Kawamoto et al., 2005) – Automatic provision of decision support as part of clinician workflow – Provision of recommendations rather than just assessments – Provision of decision support at the time and location of decision making – Computer based decision support • Usability & impact on productivity
  • 57. ปัญหาจากการใช้ระบบสารสนเทศ Issues • การที่สมองล้าจากข้อความเตือนที่ปรากฏมากเกินไป (Alert fatigue)
  • 58. ปัญหาจากการใช้ระบบสารสนเทศ Issues • ผลที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้งาน (Unintended Consequences) เช่น ทาง ลัด หรือ workarounds ที่ไม่ได้ถูกออกแบบมา ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อผู้ป่วยได้
  • 59. Unintended Consequences of • “Unanticipated and unwanted effect of health IT implementation” (www.ucguide.org) • Resources – www.ucguide.org – Ash et al. (2004) – Campbell et al. (2006) – Koppel et al. (2005) CDS & Health IT
  • 60. Ash et al. (2004) Unintended Consequences of CDS & Health IT
  • 61. • Errors in the process of entering and retrieving information – A human-computer interface that is not suitable for a highly interruptive use context – Causing cognitive overload by overemphasizing structured and “complete” information entry or retrieval • Structure • Fragmentation • Overcompleteness Ash et al. (2004) Unintended Consequences of CDS & Health IT
  • 62. • Errors in communication & coordination – Misrepresenting collective, interactive work as a linear, clearcut, and predictable workflow • Inflexibility • Urgency • Workarounds • Transfers of patients – Misrepresenting communication as information transfer • Loss of communication • Loss of feedback • Decision support overload • Catching errors Ash et al. (2004) Unintended Consequences of CDS & Health IT
  • 63. The Bigger Picture: Health Information Exchange (HIE) Hospital A Hospital B Clinic C Government Lab Patient at Home
  • 64. สรุป • ในโรงพยาบาลมีระบบสารสนเทศหลายระบบ หลายรูปแบบ • ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (HIS) มักหมายถึง “Front Office” ที่ เกี่ยวข้องกับการบริการผู้ป่วย ของระบบสารสนเทศต่างๆ ในโรงพยาบาล • HIS และ EHRs ถูกใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย สนับสนุน การตัดสินใจทางคลินิก เพิ่มคุณภาพการรักษา และลดค่าใช้จ่าย • HIS และ EHRs เป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศที่ใช้ในระบบ สุขภาพในภาพรวม (ทั้งในและนอกโรงพยาบาล) • การใช้ระบบสารสนเทศอาจมีผลที่ไม่พึงประสงค์ (unintended consequences) เกิดขึ้นได้ จึงควรใช้งานให้ถูกต้องตามที่ออกแบบมา