SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 2
Descargar para leer sin conexión
การแก้ปัญหากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธีการใช้กราฟ
ในการแก้ปัญหากาหนดการเชิงเส้นนั้นต้องเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 ส่วนที่เป็นเป้าหมาย จะอยู่ในรูปของ สมการจุดประสงค์ (ในเอกสารเล่มนี้ใช้ P)
ส่วนที่ 2 ส่วนที่เป็นข้อจากัด จะอยู่ในรูปของ อสมการข้อจากัด
ซึ่งเป็นการแปลงสถานการณ์ปัญหาให้เป็นปัญหาทางคณิตศาสตร์ จากนั้นจึงหาคาตอบของปัญหา
ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้การกราฟช่วยในการหาคาตอบ
ลองสมมติให้กราฟของระบบอสมการข้อจากัด เป็นดังนี้
ข้อกาหนด
1. ถ้ากาหนดการเชิงเส้น มีคาตอบที่เหมาะสมเพียงคาตอบเดียว แล้วคาตอบนั้นจะต้องอยู่ที่จุดหักมุมกราฟ
ของระบบอสมการข้อจากัด
2. ถ้าสมการจุดประสงค์มีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด ณ. จุดหักมุม 2 จุดที่มีแขนของจุดหักมุมร่วมกัน
แล้วสมการจุดประสงค์ดังกล่าวจะมีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด ณ. จุดทุกจุดบนส่วนของเส้นตรง
ที่เชื่อมจุดหักมุม 2 จุดนั้น แสดงว่าคาตอบที่เหมาะสม จะมีจานวนนับไม่ถ้วน
นาความจริงจากข้อกาหนดมาวิเคราะห์ กราฟของระบบสมการข้อจากัดดังนี้
1. จุดทุกจุดในบริเวณส่วนที่แรเงาจะสอดคล้องกับระบบอสมการข้อจากัด ถูกเรียกว่า
“เซตของคาตอบที่เป็นไปได้”
2. จากเซตของคาตอบที่เป็นไปได้ เราจะนาไปหาจุดใดที่สดคล้องกับสมการจุดประสงค์ที่ให้ค่าน้อยที่สุด
หรือค่ามากที่สุดจากกราฟของระบบอสมการข้อจากัด
3. จุดทุกจุดในบริเวณส่วนที่แรเงา มีโอกาสเป็นไปได้ที่จะทาให้สมการจุดประสงค์มีค่าน้อยที่สุด
หรือมากที่สุด แต่จุดหักมุมมีโอกาสเป็นไปได้มากกว่า
4. จุดในบริเวณส่วนที่แรเงาที่ทาให้สมการจุดประสงค์มีค่าน้อยที่สุดหรือมากทีสุดถูกเรียกว่า
คาตอบที่เหมาะสม
5. ถ้ากาหนดการเชิงเส้นมีคาตอบเดียว แล้วจุด A,B,C และ O จุดใดจุดหนึ่ง จะทาให้สมการจุดประสงค์
มีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด
6. ถ้าจุด A และ B ทาให้สมการจุดประสงมีค่าน้อยที่สุด แล้ว จุดทุกจุดที่อยู่บนส่วนของเส้นตรง AB จะทา
ให้สมการจุดประสงค์ มีค่าน้อยที่สุดหรือมากที่สุดด้วย แสดงว่าคาตอบที่เหมาะสมจะมีจานวนนับไม่ถ้วน
อ้างอิง
https://krusand.files.wordpress.com/2014/06/e0b980e0b899e0b8b7e0b989e0b8ade0b8abe0b8b2e0b
881e0b8b3e0b8abe0b899e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b980e0b8aa
e0b989.doc

Más contenido relacionado

Destacado

Estructura repetitiva do while
Estructura repetitiva do whileEstructura repetitiva do while
Estructura repetitiva do whileDenisse C
 
Espaços provisórios em The Walking Dead
Espaços provisórios em The Walking DeadEspaços provisórios em The Walking Dead
Espaços provisórios em The Walking DeadProfessor Belinaso
 
Sistemas operativos
Sistemas operativosSistemas operativos
Sistemas operativosDenisse C
 
чихрийн шижин өвчин
чихрийн шижин өвчинчихрийн шижин өвчин
чихрийн шижин өвчинAmje Zaya
 
Estructuras de decisión o selectivas
Estructuras de decisión o selectivasEstructuras de decisión o selectivas
Estructuras de decisión o selectivasDenisse C
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
How to guide - selecting an organizational structure for marketing
How to guide - selecting an organizational structure for marketingHow to guide - selecting an organizational structure for marketing
How to guide - selecting an organizational structure for marketingDemand Metric
 
Importancia de mi comunidad
Importancia de mi comunidadImportancia de mi comunidad
Importancia de mi comunidadLiz Andrade
 

Destacado (16)

Эмо
ЭмоЭмо
Эмо
 
diabetes
diabetesdiabetes
diabetes
 
1 Ids On Campus V3a
1 Ids On Campus V3a1 Ids On Campus V3a
1 Ids On Campus V3a
 
Introduction to XHTML
Introduction to XHTMLIntroduction to XHTML
Introduction to XHTML
 
Estructura repetitiva do while
Estructura repetitiva do whileEstructura repetitiva do while
Estructura repetitiva do while
 
Redes conceptuales
Redes conceptualesRedes conceptuales
Redes conceptuales
 
Espaços provisórios em The Walking Dead
Espaços provisórios em The Walking DeadEspaços provisórios em The Walking Dead
Espaços provisórios em The Walking Dead
 
Sistemas operativos
Sistemas operativosSistemas operativos
Sistemas operativos
 
чихрийн шижин өвчин
чихрийн шижин өвчинчихрийн шижин өвчин
чихрийн шижин өвчин
 
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
 
бамбай булчирхайн хавдар
бамбай булчирхайн хавдарбамбай булчирхайн хавдар
бамбай булчирхайн хавдар
 
Estructuras de decisión o selectivas
Estructuras de decisión o selectivasEstructuras de decisión o selectivas
Estructuras de decisión o selectivas
 
Slaid Sejarah Ting 5 Bab 1
Slaid Sejarah Ting 5 Bab 1Slaid Sejarah Ting 5 Bab 1
Slaid Sejarah Ting 5 Bab 1
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
How to guide - selecting an organizational structure for marketing
How to guide - selecting an organizational structure for marketingHow to guide - selecting an organizational structure for marketing
How to guide - selecting an organizational structure for marketing
 
Importancia de mi comunidad
Importancia de mi comunidadImportancia de mi comunidad
Importancia de mi comunidad
 

การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยใช้กราฟ

  • 1. การแก้ปัญหากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธีการใช้กราฟ ในการแก้ปัญหากาหนดการเชิงเส้นนั้นต้องเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ส่วนที่เป็นเป้าหมาย จะอยู่ในรูปของ สมการจุดประสงค์ (ในเอกสารเล่มนี้ใช้ P) ส่วนที่ 2 ส่วนที่เป็นข้อจากัด จะอยู่ในรูปของ อสมการข้อจากัด ซึ่งเป็นการแปลงสถานการณ์ปัญหาให้เป็นปัญหาทางคณิตศาสตร์ จากนั้นจึงหาคาตอบของปัญหา ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้การกราฟช่วยในการหาคาตอบ ลองสมมติให้กราฟของระบบอสมการข้อจากัด เป็นดังนี้ ข้อกาหนด 1. ถ้ากาหนดการเชิงเส้น มีคาตอบที่เหมาะสมเพียงคาตอบเดียว แล้วคาตอบนั้นจะต้องอยู่ที่จุดหักมุมกราฟ ของระบบอสมการข้อจากัด 2. ถ้าสมการจุดประสงค์มีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด ณ. จุดหักมุม 2 จุดที่มีแขนของจุดหักมุมร่วมกัน แล้วสมการจุดประสงค์ดังกล่าวจะมีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด ณ. จุดทุกจุดบนส่วนของเส้นตรง ที่เชื่อมจุดหักมุม 2 จุดนั้น แสดงว่าคาตอบที่เหมาะสม จะมีจานวนนับไม่ถ้วน
  • 2. นาความจริงจากข้อกาหนดมาวิเคราะห์ กราฟของระบบสมการข้อจากัดดังนี้ 1. จุดทุกจุดในบริเวณส่วนที่แรเงาจะสอดคล้องกับระบบอสมการข้อจากัด ถูกเรียกว่า “เซตของคาตอบที่เป็นไปได้” 2. จากเซตของคาตอบที่เป็นไปได้ เราจะนาไปหาจุดใดที่สดคล้องกับสมการจุดประสงค์ที่ให้ค่าน้อยที่สุด หรือค่ามากที่สุดจากกราฟของระบบอสมการข้อจากัด 3. จุดทุกจุดในบริเวณส่วนที่แรเงา มีโอกาสเป็นไปได้ที่จะทาให้สมการจุดประสงค์มีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด แต่จุดหักมุมมีโอกาสเป็นไปได้มากกว่า 4. จุดในบริเวณส่วนที่แรเงาที่ทาให้สมการจุดประสงค์มีค่าน้อยที่สุดหรือมากทีสุดถูกเรียกว่า คาตอบที่เหมาะสม 5. ถ้ากาหนดการเชิงเส้นมีคาตอบเดียว แล้วจุด A,B,C และ O จุดใดจุดหนึ่ง จะทาให้สมการจุดประสงค์ มีค่าน้อยที่สุด หรือมากที่สุด 6. ถ้าจุด A และ B ทาให้สมการจุดประสงมีค่าน้อยที่สุด แล้ว จุดทุกจุดที่อยู่บนส่วนของเส้นตรง AB จะทา ให้สมการจุดประสงค์ มีค่าน้อยที่สุดหรือมากที่สุดด้วย แสดงว่าคาตอบที่เหมาะสมจะมีจานวนนับไม่ถ้วน อ้างอิง https://krusand.files.wordpress.com/2014/06/e0b980e0b899e0b8b7e0b989e0b8ade0b8abe0b8b2e0b 881e0b8b3e0b8abe0b899e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b980e0b8aa e0b989.doc