SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 94
Descargar para leer sin conexión
๑

                     คูมือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร"

สารบัญ

   ๑. หนาปก
   ๒. ปกใน
   ๓. แนะนําศูนย
   ๔. รูปหลวงพอ
   ๕. รูปพระอาจารยเผียน
   ๖. รูปประธานศูนยฯ
   ๗. รูปรองประธานทั้ง ๓ และเลขานุการ
   ๘. รายนามพระวิทยากร
   ๙. อุดมการณของพุทธบุตร
   ๑๐. คําอนุโมทนาของหลวงพอ
   ๑๑. คําปรารภของประธานศูนยฯ
   ๑๒. คํานํา
   ๑๓. สารบาญ
   ๑๔. ภาคเตรียมการ
               -โครงการ
               -การเตรียมการ
               -หนาที่ของกรรมการฝายตางๆ
               -ตัวอยางคําสั่งตางๆ
               -ตารางอบรม
   ๑๕. ภาควิชาการ
               -การเขาถึงพระรัตนตรัย
               -ศีลหาคือมนุษยธรรม
               -มารยาทชาวพุทธ
               -วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา
               -ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ
               -การมีระเบียบวินัย
               -ความรับผิดชอบ
               -การเปนบุตรที่ดี
๒

          -การเปนศิษยที่ดี
          -การเปนเพื่อนที่ดี
          -การเปนพลเมืองที่ดี
          -การเปนสาวกที่ดี
          -พูดปลุกใจหนาเสาธง
          -ศาสนพิธีที่ควรรู

๑๖. ภาคกิจกรรม
           -ฝกซอมเตรียมพิธีเปดการอบรม
           -พิธีเปดการอบรม
           -คํากลาวบูชาพระรัตนตรัย
           -พิธีมอบตัวเปนศิษย
           -คํากลาวมอบตัวเปนศิษย
           -คํามั่นสัญญา
           -กติกา สัญญาใจ คําปฎิญาณ
           -รับประทานอาหาร
           -ปลุกความสํานึกกอนรับประทานอาหาร
           -ตัวอยางตารางเวียนฐาน
           -ภาพแบงฐาน
           -การทําวัตรสวดมนต
           -การเจริญภาวนา
           -พิธีสูความเปนพุทธบุตร
           -คํามอบตัวเปนพุทธบุตร
           -บทแผเมตตา
           -ภาพการบริหารกาย
           -การเดินจงกรม
           -กิจกรรมหนาเสาธง
           -การเขียนบทความ
           -กิจกรรมพุทธบุตรสรางสรรค
           -พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม

๑๗. ภาคผนวก
๓

               -พุทธศาสนสุภาษิตและคํากลอน
               -ตัวอยางบทความของเด็ก
               -ตัวอยางเสียงกระซิบสั่งจากครู
               -ตัวอยางแบบประเมินผล
               -ตัวอยางใบสํารวจศีล
               -เพลงประกอบกิจกรรม
๑๘. ปกหลัง

ภาคเตรียมการ
โครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร"
๑. ชื่อโครงการ โครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร"
๒. หลักการและเหตุผล
   สภาพสังคมไทยในปจจุบันเปนที่ยอมรับกันวา มีความเจริญกาวหนาในการพัฒนาประ
เทศดวยเทคโนโลยี กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงหลายดาน ทั้งทางดานเศรษฐกิจ - สังคม
และการเมือง ประชาชนสวนหนึ่งไดรับความสะดวกสบายทางวัตถุมากขึ้น ในขณะเดียวกัน
ความเสื่อมทางจิตใจก็ทวีขึ้นจนเปนที่นาวิตก ดังจะเห็นไดจากปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น
อยางสลับซับซอน เชน ผูคนไมเคารพตอศีลธรรม วัฒนธรรม ประเพณี ขาดระเบียบวินัย มีคา
นิยมในทางฟุงเฟอฟุมเฟอย เห็นแกตัว จนกลาวไดวา "พัฒนาแตไมเจริญ" หรือพัฒนาแต
วัตถุ ไมพัฒนาทางดานจิตใจ สภาพสังคมทั่วไปจึงอยูในขั้นวิกฤต
   ศูนยสืบอายุพระพุทธศาสนา ไดรวมมือกับหนวยงาน องคการกุศล โรงเรียนเอกชน
ตลอดจนผูเห็นคุณคาในการสรางโอกาสใหผูอื่นมีคุณธรรม พิจารณาเห็นวา "การสรางคนใหมี
คุณธรรมนั่นแหละคือการสรางชาติ" เปนการฟนฟูจิตใจเยาวชนหรือผูเขารับการอบรมใหกลา
แข็ง รูเทาทันตอสิ่งที่เกิดขึ้น โดยนําเอาหลักธรรมมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ใหรูจัก
ลด ละ เลิก สิ่งชั่วราย จนเกิดความปลอดภัยนําความสงบเย็นมาสูชีวิต โดยใชวิธี
การอบรมตามแนวเขาคาย ดังนั้นโครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" จึงเกิดขึ้น

๓. วัตถุประสงค
    ๓.๑ เพื่อใหผูเขารับการอบรม มีความรูความเขาใจ ในหลักธรรมของศาสนาเทาที่จํา
เปนตอการดําเนินชีวิต อยางถูกตองและเพียงพอ
    ๓.๒ เพื่อใหผูเขารับการอบรม นําหลักธรรมนั้นมาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน จนเกิด
เปนคุณธรรมประจําชีวิต ไมตกเปนทาสของความชั่วรายทั้งปวง มีชีวิตอยูอยางปลอดภัย และ
สงบเย็น
๔

    ๓.๓ เพื่อใหผูเขารับการอบรม ดําเนินชีวิตเปนแบบอยางที่ดีงามแกผูอื่น ทั้งในทาง
ดานมีระเบียบวินัย ขยัน อดทน ซื่อสัตย - สุจริต รับผิดชอบและกตัญูกตเวที เปนตน
    ๓.๔ เพื่อใหผูเขารับการอบรม มีสวนรวมในการสืบอายุพระพุทธศาสนา และประเพณี
วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ ไวเปนมรดกอันล้ําคาของสังคมไทยสืบไป.
๔. กลุมเปาหมาย
    ๔.๑ นักเรียนชั้นประถมปลาย ครั้งละไมเกิน ๓๕๐ คน
    ๔.๒ นักเรียนชั้นมัธยมตน ครั้งละไมเกิน ๓๐๐ คน
    ๔.๓ นักเรียนชั้นมัธยมปลาย ครั้งละไมเกิน ๒๕๐ คน
    ๔.๔ นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และอุดมศึกษา ครั้งละไมเกิน ๒๐๐ คน
ลักษณะคาย
    ๕.๑ ตองอยูพักแรม ๒ คืน ๓ วัน หรือ ๓ คืน ๔ วัน หรือ ๔ คืน ๕ วัน
    ๕.๒ สถานที่จัดฝกอบรม โรงเรียน สํานักงาน ศูนยฝกอบรม วัด
    ๕.๓ มีคณะกรรมการรับผิดชอบ พระภิกษุ คณะครูอาจารย คณะกรรมการ
    ๕.๔ ไมจํากัดเพศ แตกําหนดอายุ(เฉพาะแตละคาย) จัดที่พักเปนสัดสวน เชน หอพัก
อาคารเรียน หรือนอนกลด เปนตน

วิธีการฝกอบรม
     ๖.๑ เขาคายพักแรมเพื่อศึกษาและปฏิบัติธรรมรวมกัน(อาจรักษาอุโบสถศีลก็ได)
     ๖.๒ การฝกอบรมมีหลายรูปแบบ เชน การบรรยาย อภิปราย สนทนา ตอบปญหา
กิจกรรมกลุม ทําวัตรเชา - เย็น สมาธิภาวนา บริหารกาย - บริหารจิต ธรรมะจากสื่อ ฯลฯ

๗. งบประมาณ
   ๗.๑ งบประมาณจากสถานศึกษานั้น ๆ หรือหนวยงานนั้น ๆ
   ๗.๒ งบที่ไดรับจากผูมีจิตศรัทธาทั่วไป
๘. ผลที่คาดวาจะไดรับ
   ๘.๑ ทําใหเขาใจศาสนาที่ตนนับถือมากยิ่งขึ้น
   ๘.๒ ทําใหรูจักตนเองมากยิ่งขึ้น
   ๘.๓ ทําใหรูจักตัดสินใจเลือกทางดําเนินชีวตอยางถูกตองดวยตนเอง
                                             ิ
   ๘.๔ ทําใหมีความขยันหมั่นเพียร มีระเบียบวินัย และรับผิดชอบมากขึ้น
   ๘.๕ ทําใหออนนอมถมตน รูจักเกรงใจ และแสดงความเคารพตอผูใหญมากขึ้น
   ๘.๖ ทําใหมีความสามัคคี และอยูรวมกันอยางมีความสุข
   ๘.๗ ทําใหสํานึกในบุญคุณของทานผูมีคุณและตอบแทนไดดีขึ้น
๕

   ๘.๘ ทําใหเห็นคุณคาของความสงบทางจิตใจมากขึ้น
   ๘.๙ คณะครูอาจารย นักเรียน พระสงฆ และประชาชนทั่วไป ไดมีโอกาสจัดกิจกรรมใน
ทางสรางสรรค มีความสัมพันธอันดีระหวาง บาน วัด โรงเรียน สมกับคําวา "บวร"

การเตรียมงาน
๑. เตรียมเขียนโครงการ
๒. เตรียมงบประมาณ
๓. เตรียมแตงตั้งคณะกรรมการฝายตาง ๆ เชน
    ๓.๑ คณะกรรมการอํานวยการ
    ๓.๒ คณะกรรมการดําเนินงาน มี ๑๔ ฝาย ดังนี้
                 -กรรมการฝายประสานงาน
                 -กรรมการฝายที่ปรึกษาประจํากลุม
                 -กรรมการฝายวิชาการและธุระการ
                 -กรรมการฝายประชาสัมพันธ
                 -กรรมการฝายพิธีการ
                 -กรรมการฝายเตรียมการและจัดหาอุปกรณ
                 -กรรมการฝายเหรัญญิก
                 -กรรมการฝายปฏิคม
                 -กรรมการฝายสถานที่และบริการ
                 -กรรมการฝายโภชนาการ
                 -กรรมการฝายโสตทัศนูปกรณ
                 -กรรมการฝายพยาบาล
                 -กรรมการฝายรักษาความปลอดภัย
                 -กรรมการฝายประเมินผล
๔. เตรียมเด็กที่จะเขารับการอบรม
    ๔.๑ แจงใหเด็กทราบ
    ๔.๒ ทําหนังสือแจงใหผูปกครองเด็กไดทราบ
    ๔.๓ แจงใหเด็กเตรียมอุปกรณและเครื่องใชที่จําเปน
๕. เตรียมจัดรายชื่อเด็กเปนกลุม ๆ ๘ กลุม จํานวนเทากัน และทําปายชื่อเด็ก กลุมละสี เชน-
          กลุมเมตตา......สีเหลือง
          กลุมกรุณา.......สีน้ําเงิน
          กลุมมุทิตา.......สีแดง
๖

          กลุมอุเบกขา.....สีชมพู
          กลุมฉันทะ.......สีฟา
          กลุมวิริยะ.......สีเขียว
          กลุมจิตตะ.......สีขาว
          กลุมวิมังสา......สีน้ําตาล
๖. เตรียมสถานที่
    ๖.๑ เตรียมหองประชุม
                -ทําความสะอาด
                -ตกแตงเวที
                -เขียนปาย ตามตัวอยางดังนี้
            โครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร"
             โรงเรียน....................
             วันที่.....เดือน.....พ.ศ.......
                -จัดตั้งโตะหมูบูชาครบชุด (มีธงชาติ,พระบรมฉายาลักษณ)
                -ติดตั้งเครื่องขยายเสียงพรอมเครื่องเทปคาสเซ็ทอยางดี
                -จัดตั้งชุดรับแขกและเกาอี้
                -ดูแลแสงไฟใหพอใชสําหรับกิจกรรมภาคกลางคืน
    ๖.๒ เตรียมที่วางอาหาร
                -เตรียมที่วางอาหาร ๔ ที่ (ถาเด็กไมเกิน ๑๕๐ คน จัด ๒ ที่ก็ได)
                -จัดที่วางอาหารใกลหองประชุม (ในกรณีที่เด็กรับประทานที่หองประชุม)
                -จัดที่วางคูเลอรน้ําดื่ม ๔ ที่
    ๖.๓ เตรียมที่ลางจาน
                -จัดโตะตั้งเปนแถวยาว พอตั้งกะละมังได ๔ ใบ จํานวน ๔ แถว
                -จัดที่ลางจานในสถานที่อันเหมาะสม (ถาที่ลางมีอยูแลวก็ไมตองจัดใหม)
    ๖.๔ เตรียมที่เก็บจาน
                -ใชโตะตั้งเปนแถวเทาจํานวนนักเรียน
                -เขียนปายชื่อกลุมติดที่โตะ
    ๖.๕ เตรียมที่วางรองเทา
                -เลือกสถานที่ ที่วางรองเทาที่เหมาะสม
                -เขียนปายชื่อกลุมติดไว ใหเด็กวางรองเทาเปนกลุมที่หองประชุม,
                  โรงอาหาร,ที่หองนอน
    ๖.๖ เตรียมที่นอนชาย-หญิง
๗

    ๖.๗ เตรียมที่อาบน้ําชาย-หญิง
    ๖.๘ เตรียมราวตากผาชาย-หญิง
    ๖.๙ เตรียมสถานที่แบงฐานอบรม ๔ ฐาน
                 -ทําความสะอาดสถานที่
                 -ติดตั้งเครื่องขยายเสียงเล็ก
                 -ตั้งน้ําดื่มสําหรับพระวิทยากร
                 -ตั้งโตะเกาอี้สําหรับพระวิทยากรนั่ง
๗. เตรียมอุปกรณ
    ๗.๑ เตรียมเสื่อปูหองประชุม
                 -ถาจํานวนเด็ก ๒๕๐ คน ใชเสื่อยาว ๒๔ ผืน
                 -ถาจํานวนเด็ก ๓๐๐ คน ใชเสื่อยาว ๓๒ ผืน
                 -ใชปูเวทีสําหรับนั่งสวดมนต ๓ ผืน
    ๗.๒ เตรียมเสื่อปูหองพักพระวิทยากร
    ๗.๓ เตรียมเสื่อปูหองพักครูที่ปรึกษา,หองนอนเด็ก
    ๗.๔ เตรียมภาชนะใสน้ําลางจาน
                 -กะละมังขนาดกลางหรือขนาดใหญ จํานวน ๑๖ ใบ
    ๗.๕ เตรียมภาชนะใสเศษอาหาร จํานวน ๔ ใบ
    ๗.๖ เตรียมน้ํายาลางจานและสกอตไบรท
    ๗.๗ เตรียมเหยือกน้ําจํานวน ๑ โหล
    ๗.๘ เตรียมคูเลอรขนาดใหญ ๔ ใบ
    ๗.๙ เตรียมแกวน้ําเทาจํานวนนักเรียน,ครู,พระวิทยากร
    ๗.๑๐ เตรียมจานขนาด ๘ นิ้ว (หรือถานหลุมก็ได)ซอน,เทาจํานวน นักเรียน,ครู,พระ
๘. เตรียมอุปกรณเสริมกิจกรรม
    ๘.๑ พิธีมอบตัวเปนศิษย
                 -เตรียมดอกไมเทาจํานวนแถวนั่งในหองประชุม ถานั่ง ๘ แถว ก็ใช ๘
           ชอ ถานั่ง ๑๖ แถว ก็ใช ๑๖ ชอใหคนที่อยูหนาสุดของแตละแถวเปนผูมอบ
           ใหครู
    ๘.๒ พิธีสูความเปนพุทธบุตร
                 -เตรียมเทียนขนาด ๖ นิ้ว เทาจํานวน พระ,ครู, นักเรียน,
๙. เตรียมบุคคลเสริมกิจกรรม
    ๙.๑ พิธีเปดการอบรม
                 -เตรียมบุคคลเปนพิธีกรเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
๘

                -เตรียมบุคคลจุดเทียนชนวนสงใหประธาน
   ๙.๒ พิธีมอบตัวเปนศิษย
                -เตรียมเด็กนํากลาวมอบตัวเปนศิษย จํานวน ๑ คน
                -เตรียมเด็กอานกลอน "คํามั่นสัญญา" จํานวน ๑-๒ คน
   ๙.๓ กิจกรรมพุทธบุตรสรางสรรค
                -เตรียมตัวแทนพอแสดงความรูสึก
                -เตรียมตัวแทนแมแสดงความรูสึก
   ๙.๔ พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหมและปดการอบรม
                -เตรียมประธานกลาวปราศรัยและปดการอบรม
                -เตรียมตัวแทนครูฝายโภชนาการแสดงความรูสึก ๑ คน
                -เตรียมตัวแทนครูกลาว "ศิษยที่ครูปรารถนา ๑ คน
                -เตรียมตัวแทนครูอานกลอน "เสียงกระซิบสั่งจากครู" ๑ คน
๑๐. เตรียมเพลงประกอบกิจกรรม
   ๑๐.๑ พิธีเปดการอบรม
                -เตรียมเพลงพระรัตนตรัย
   ๑๐.๒ พิธีมอบตัวเปนศิษย
                -ดนตรีเดี่ยวไวโอลินเพลงชุดลมพัดชายเขา
                -เพลงพระคุณที่สาม
                -เพลงแมพิมพของชาติ
  ๑๐.๓ กติกาสัญญาใจ
                -เพลงทําดีไดดี
   ๑๐.๔ พิธีสูความเปนพุทธบุตร
                -ดนตรีชุดลมพัดชายเขา
                -พระรัตนตรัย
                -เพลงอธิษฐาน
                -บทสวดสรรเสริญพุทธคุณ (องคใดพระสัมพุทธฯ)
   ๑๐.๕ กิจกรรมพุทธบุตรสรางสรรค
                -เพลงใครหนอ
                -เพลงออมอกแม
                -เพลงพระคุณแม
                -เพลงคาน้ํานม
   ๑๐.๖ พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม
๙

               -ดนตรีชุดลมพัดชายเขา
               -เพลงพระคุณที่สาม
               -เพลงแมพิมพของชาติ
               -เพลงลาคุณครู
   ๑๐.๗ พิธีปดการอบรม
               -เพลงพระรัตนตรัย


หนาที่กรรมการฝายตาง ๆ

๑. กรรมการอํานวยการ มีหนาที่ ใหคําปรึกษาแนะนํา แกปญหา อํานวยความสะดวก
                                                           
            ควบคุมการอยูคายใหเปนไปดวยความเรียบรอยทุกประการ
๒. กรรมการดําเนินงาน
    ๒.๑ กรรมการฝายประสานงาน มีหนาที่ ประสานงานกับพระวิทยากร ครู อาจารยที่
ปรึกษาประจํากลุมกรรมการฝายตาง ๆ
    ๒.๒ กรรมการที่ปรึกษาประจํากลุม มีหนาที่ดังนี้
                 -รับรายงานตัวนักเรียน แจกปายชื่อนักเรียน ใหนักเรียนนํากระเปา
ไปเก็บในที่ซึ่งจัดไวเปนกลุม
                 -ดําเนินการใหนักเรียนเลือกประธานกลุม อธิบายความหมายชื่อกลุม
ดูแลใหนักเรียนติดปายชือใหเรียบรอย
                         ่
                 -ดูแลใหนักเรียนปฏิบัติตามระเบียบของการอยูคาย มีความสามัคคีตอกัน
 ตรงตอเวลา เขาหองประชุมอยางสงบ
                 -ใหนักเรียนทําความรูจักกันใหมากที่สุด
                 -สํารวจจํานวนนักเรียนในกลุม ทุกกิจกรรมและกอนนอนทุกกคืน
                 -ชวยจัดเลี้ยงอาหาร น้ําดื่ม น้ําปานะ ตามเวลาที่กําหนด
                 -สํารวจกระเปานักเรียนเพื่อดูความเรียบรอยมิใหมี อาวุธ สิ่งเสพติด
และรับฝากของมีคาของนักเรียน
                 -ประสานงานกับพระวิทยากรในการอบรมนักเรียน
                 -รวมกิจกรรมกับนักเรียนทุกกิจกรรม
                 -เปนวิทยากรเสริม รับทราบปญหา และเปนที่ปรึกษาของนักเรียน

๒.๓ กรรมการฝายวิชาการและธุระการ มีหนาที่จัดเตรียมเอกสารตาง ๆ ที่จําเปนตอ
๑๐

การอบรม จัดรายชื่อนักเรียนที่เขารับการอบรมใหเปนกลุมโดยคละกัน ๘ กลุม จัดทําปายชื่อนัก
เรียน ปายชื่อครูแยกไวเปนกลุม ๆ ละสี เขียนปายชื่อกลุมทําเปนกลองสามเหลี่ยมวางไวที่
หนาแถวในหองประชุม เขียนปายชื่อกลุมที่วางรองเทา ที่หองนอน ที่ลางจาน ที่ตักอาหาร.

๒.๔ กรรมการฝายประชาสัมพันธ มีหนาที่ ประชาสัมพันธโครงการ เชน จัดสงโครงการไป
ใหสื่อมวลชนตาง ๆ จัดสงโครงการไปใหสมาคม ชมรม หางราน เพื่อของความอุปถัมภ
โครงการ เขียนปายประชาสัมพันธทั้งภายนอกและภายในสถานที่นั้น ๆ
๒.๕ กรรมการฝายพิธีการ มีหนาทีดังนี้ ่
                  -จัดดอกไมธูปเทียน จัดโตะหมูบูชา จัดเตรียมเวที
                  -จัดเตรียมอุปกรณสําหรับพิธีตาง ๆ เชน พิธีเปดการอบรม
            พิธีปด พิธีมอบตัวเปนศิษย พิธีสูความเปนพุทธบุตร และพิธีอธิษฐานจิต
เพื่อชีวิตใหม เปนพิธีการตลอดงาน.
                  -ดูแลอํานวยความสะดวกแกพระวิทยากรในทุก ๆ ดาน
๒.๖ กรรมการฝายเตรียมการและจัดหาอุปกรณ มีหนาที่ จัดหาอุปกรณที่จําเปนตอการอยู
                   คายมาเตรียมไวใหพรอม โดยประสานงานกับกรรมการฝายอื่น ๆ
๒.๗ กรรมการฝายเหรัญญิก มีหนาที่ รับเงินที่ผูมีจิตศรัทธาบริจาค ควบคุมการใชจายเงิน จัด
                   ทําบัญชี รับ-จาย ใหเรียบรอย
๒.๘ กรรมการฝายปฏิคม มีหนาที่ ตอนรับแขกผูมีเกียรติ ผูปกครองนักเรียน ทานประธาน
                   หรือผูทมาเกี่ยวของกับงานในโครงการ บริการน้ําดื่ม แนะนําใหรู
                           ี่
                   จักสถานที่ เปนตน
๒.๙ กรรมการฝายสถานที่และบริการ มีหนาที่ดังนี้
                  -จัดเตรียมหองประชุม จัดชุดรับแขก
                  -สถานที่วางอาหาร ที่ลางจาน ที่อาบน้ํา หองนอน ราวตากผา
                  -สถานที่แบงฐานอบรม
๒.๑๐ กรรมการฝายโภชนาการ มีหนาที่ จัดปรุงอาหาร น้ําดื่ม ใหเพียงพอกับจํานวนผูที่เขา
                   รวมการอบรม ใหทันตามเวลาที่กําหนด
๒.๑๑ กรรมการฝายโสตทัศนูปกรณ มีหนาที่ จัดแสง เสียง ใหเพียงพอทุกจุดที่จําเปน บันทึก
                   เทป บันทึกภาพ ตลอดการฝกอบรม
๒.๑๒ กรรมการฝายพยาบาล มีหนาที่ ดูแลชวยเหลือผูเขารวมการอบรมที่เจ็บไขไดปวย
                   ตลอดเวลาจนเสร็จสิ้นโครงการ

ตัวอยาง
๑๑

ที่ อย ๐๓๓๐.๑๕/๑๗๕ โรงเรียนนครหลวง "อุดมรัชตวิทยา"
             อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๒๖๐
               ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๓๕
เรื่อง ขออนุญาตนํานักเรียนเขาคายอบรมคุณธรรม ""คายพุทธบุตร"
เรียน ผูปกครอง (ด.ช. ด.ญ.) ..........

           ดวยหมวดวิชาสังคมศึกษา โรงเรียนนครหลวง "อุดมรัชตวิทยา" จะจัด
อบรมคุณธรรมสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ประมาณ ๒๕๐ คน ณ โรงเรียนนครหลวง
"อุดมรัชตวิทยา" ในวันที่ ๕-๗ มิถุนายน ๒๕๓๕ รวม ๓ วัน ๒ คืน เพื่อเปนการสงเสริม
คุณธรรม จริยธรรม พัฒนาจิตใจแกนักเรียน และสามารถนําความรู ความเขาใจไปใชในชี
วิตประจําวัน โดยอาราธนาพระวิทยากร จากวัดชลประทานรังสฤษฏ อําเภอปากเกร็ด จังหวัด
นนทบุรี มาเปนพระวิทยากรใหการอบรมนักเรียนในครั้งนี้ และมีครูรวมควบคุมนักเรียน
           ฉะนั้น หมวดวิชาสังคมศึกษา จึงขออนุญาตนํานักเรียนในปกครอง
ของทานไปอยูคายอบรมคุณธรรมนักเรียนในครั้งนี้ โดยขอคาอาหารจากนักเรียน จํานวน ๗
มื้อ และคาน้ําปานะจํานวน ๔ มื้อ เปนเงิน ๖๐ บาท
           จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ หวังวาคงไดรับความรวมมือจากทานดวยดี
และขอความกรุณาคืนแบบตอบรับคืนโรงเรียนดวย จักขอบคุณยิ่ง

            ขอแสดงความนับถือ


                    (นางหยด เจริญกูล)
            ผูอํานวยการโรงเรียนคนครหลวง"อุดมรัชตวิยา"
วิชาการ
โทร ๓๕๙๘๐๐
                   แบบตอบรับ
ขาพเจา ผูปกครองของ นักเรียนชั้น ม.๑ อนุญาต ไมอนุญาต ใหนักเรียนใน
ความปกครองของขาพเจาไปรวมอบรมคุณธรรมครั้งนี้


                     ลงชื่อ         ผูปกครอง

                         (             )
๑๒

อุปกรณเครื่องใชระหวางการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร"
ระหวาง วันที่ ๑๔-๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๕
ณ โรงเรียนบางกรวย

๑. ผาหม
๒. ผาเช็ดตัว
๓. แปรงสีฟน ยาสีฟน ผงซักฟอก
๔. ชุดขาว ๒ ชุด (ผาถุงขาว ๒ ผืน สไบ ๑ ผืน เสื้อนักเรียนสีขาว ๒ ตัว
๕. ผาถุง ผาขาวมา สําหรับใชผลัดอาบน้ํา
๖. หมอน
๗. เสื่อพับผืนเล็ก ๑ ผืน
๘. แกวน้ํา ชอน
๙. ยารักษาโรค (โรคประจําตัว)
๑๐.ถุงพลาสติคสําหรับใสเสื้อผาเปยก
๑๑.สบู ขันน้ํา รองเทาแตะ ผาเช็ดเทา
๑๒.ไฟฉาย
๑๓.ผาอนามัย (เผื่อฉุกเฉิน)
๑๔.เครื่องเขียน เชนปากกา ดินสอ เปนตน

    ....................
 หมายเหตุ หามนําทรัพย เงินทอง ของมีคา ติดตัวมาในระหวางการอบรม

                  ตารางอบรมคุณธรรม"คายพุทธบุตร"
               ศูนยสืบอายุพระพุทธศาสนา วัดชลประทานรังสฤษฎ
                   อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐

วัน,เดือน,ป     เวลา        รายการ/กิจกรรม          หมายเหตุ

            ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ ลงทะเบียน รายงานตัว
            ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ -จัดนักเรียนเขาแถวตามกลุมที่สนาม
                      -นักเรียนพรอมที่หองประชุม
                      -ฝกซอมเตรียมพิธีเปดการอบรม
           ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ พิธีเปดการอบรม
๑๓

                   -ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
                   -กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย
                   -กลาวรายงาน
 วันที่หนึ่ง
 ของการ ๐๙.๓๐-๑๐.๐๐ พิธีมอบตัวเปนศิษย/สมาทานศีล
             ๑๐.๐๐-๑๐.๑๕ พักเปลี่ยนอิริยบถ
 ฝกอบรม ๑๐.๑๕-๑๑.๐๐ กติกาสัญญาใจและคําปฏิญาณ
             ๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ รับประทานอาหาร
             ๑๒.๐๐-๑๒.๔๐ พักทํากิจสวนตัว
             ๑๒.๔๐-๑๓.๒๐ พรอมกันที่หองประชุม/ธรรมนันทนาการ
             ๑๓.๒๐-๑๖.๓๐ แบงฐานอบรมคุณธรรม ๔ ฐาน ดังนี.้ -
                          ๑.การเขาถึงพระรัตนตรัย
                          ๒.วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา
                          ๓.ความรับผิดชอบ
                          ๔.การมีระเบียบวินัย
             ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ พบอาจารยที่ปรึกษา/จัดที่พัก/อาบน้ําทํากิจสวนตัว
             ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ รับประทานอาหาร
             ๑๘.๓๐-๒๑.๓๐ ทําวัตร/จิตตภาวนา/พิธีสูความเปนพุทธบุตร/สไลดธรรมะ/
                  แผเมตตา/พบอาจารยที่ปรึกษา/พัก
 _______________________________________________________
_________________
             ๐๔.๓๐-๐๗.๐๐ ตื่นทํากิจสวนตัว/บริหารกายบริหารจิต/ทําวัตร/จิตตภาวนา
                          /กิจกรรมหนาเสาธง
             ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ อาบน้ําทํากิจสวนตัว
             ๐๗.๓๐-๐๘.๔๕ รับประทานอาหาร/ทํากิจสวนตัว
             ๐๘.๔๕-๐๙.๕๐ พรอมกันที่หองประชุม/ธรรมบรรยายเรื่อง"การพัฒนาตนเอง"
             ๐๙.๕๐-๑๐.๕๐ สนทนากับกัลยาณมิตร
วันที่สอง ๑๐.๕๐-๑๒.๐๐ รับประทานอาหาร
ของการ ๑๒.๐๐-๑๒.๔๐ พักทํากิจสวนตัว
ฝกอบรม ๑๒.๔๐-๑๓.๒๐ พรอมกันที่หองประชุม/ธรรมนันทนาการ
             ๑๓.๒๐-๑๕.๓๐ แบงฐานอบรมคุณธรรม ๓ ฐานดังนี้.-
                          ๑.การเปนบุตรที่ดีของพอแม
๑๔

                           ๒.การเปนศิษยที่ดีของครู
                           ๓.การเปนสาวกที่ดีของพระศาสนา
            ๑๕.๓๐-๑๗.๐๐ อนามัยในโรงเรียน
            ๑๗.๐๐-๑๗.๓๐ อาบน้ําทํากิจสวนตัว
            ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ รับประทานอาหาร
            ๑๘.๓๐-๒๑.๓๐ ทําวัตร/จิตตภาวนา/สไลดธรรมะ/พบอาจารยที่ปรึกษา/
                   แผเมตตา/พัก
 _______________________________________________________
_______________
            ๐๔.๓๐-๐๗.๐๐ ตื่นทํากิจสวนตัว/บริหารกายบริหารจิต/ทําวัตร/จิตตภาวนา/
                   กิจกรรมหนาเสาธง
            ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ อาบน้ําทํากิจสวนตัว
            ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ รับประทานอาหาร
            ๐๘.๔๕-๐๙.๕๐ ธรรมบรรยายเรื่อง"พุทธบุตรกับการสืบอายุพระพุทธศาสนา"
            ๐๙.๕๐-๑๐.๕๐ เขียนบทความเรื่อง"ความประทับใจ..."
            ๑๐.๕๐-๑๒.๐๐ รับประทานอาหาร
            ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ เก็บของ/จัดที่พัก/แตงชุดนักเรียน
            ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ พิธีอธิษฐานจิตชีวิตใหม/ปดการอบรม
   ศาสนพิธีที่ควรรู
จุดประสงค
    ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "ศาสนาพิธี"
    ๒. เพื่อใหสามารถประกอบพิธีตาง ๆ ไดถูกตอง
    ๓. เพื่อใหสามารถแนะนําผูอื่นใหประกอบพิธีตาง ๆ ไดอยางถูกตอง
    ๔. เพื่อใหเห็นคุณคาและความสําคัญของศาสนพิธี
ความหมาย
    "ศาสนพิธี" คือ แบบอยาง หรือแบบแผนตาง ๆ ที่ดีงาม ที่ใชประกอบกิจกรรมในทางพระ
พุทธศาสน เรียกวา "ศาสนพิธี"
ความสําคัญ
   ศาสนพิธี มีความสําคัญมาก เมื่อปฏิบัติใหถูกตองทุกขั้นตอนแลวจะทําใหพิธีกรรมตางๆ ที่ประ
กอบนั้นเปนระเบียบเรียบรอยสวยงาม เปนที่ตั้งแหงความเลื่อมใสของผูที่พบเห็น ทําใหเกิดศรัท
ธาในการประกอบคุณงามความดีและเปนการแสดงใหเห็นถึงความเจริญทางจิตใจของผูนับถือพระ
พุทธศาสนา เปนเครื่องเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของชาวพุทธ ฉะนั้นจําเปนอยางยิ่งที่ชาวพุทธ
๑๕

 ทุกคนจะตองศึกษาเรียนรู
 พิธีโดยสรุป
     ศาสนพิธีมีมากมาย ซึ่งลวนแตนาศึกษาเรียนรูทั้งสิ้น แตเมื่อกลาวโดยสรุปมีอยู ๔ หมวดดังนี้
                ๑. หมวดกุศลพิธี วาดวยพิธีบําเพ็ญกุศล
                ๒. หมวดบุญพิธี วาดวยพิธีบําเพ็ญบุญ
                ๓. หมวดทานพิธี วาดวยพิธีถวายทาน
                ๔. หมวดปกิณณกะ วาดวยพิธีเบ็ดเตล็ด
บุญพิธีที่จําเปน
     พิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา แบงออกได ๒ ประเภทดังนี้
        ๑. ทําบุญงานมงคล คือ ปรารภเหตุดีแลวทําบุญ เชน ขึ้นบานใหม แตงงาน ประสบความสํา
 เร็จตาง ๆ เปนตน
        ๒. ทําบุญงานอวมงคล คือ ปรารภเหตุสูญเสีย เชน ทําบุญอุทิศใหผูตาย เปนตน
 ผูเกี่ยวของ
     การทําบุญทั้งสองประเภทนี้ จะมีผูมาเกี่ยวของอยู ๓ ฝายดวยกันคือ
                ๑. ฝายเจาภาพ คือเจาของงานบําเพ็ญบุญ
                ๒. ฝายแขก คือผูมีเกียรติที่มารวมทําบุญ
                ๓. ฝายพระสงฆ คือพระสงฆที่เจาภาพนิมมตมาเปนปฏิคาหา
 หนาที่ของเจาภาพ
        -จัดเตรียมสถานที่ประกอบพิธี
        -นิมนตพระสงฆตามจํานวนที่ตองการ
        -ตั้งโตะหมูบูชา พรอมอุปกรณครบชุด
        -ปูอาสนะและเตรียมเครื่องตอนรับพระ
        -เมื่อพระสงฆมาถึงคอยลางและเช็ดเทา
        -เมื่อพระสงฆนั่งเรียบรอยแลว ถวายเครื่องรับรอง
        -จุดเทียน ธูป บูชาพระรัตนตรัย แลวกราบ ๓ ครั้ง
        -กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย
        -อาราธนาศีล รับศีล อาราธนาพระปริตร
        -นั่งฟงพระสงฆ (สวด) เจริญพระพุทธมนตจนจบ
        -ถวายภัตตาหารและเครื่องไทยธรรม
        -พระสงฆอนุโมทนา เจาภาพกรวดน้ํา รับพร
        -เสร็จพิธีสงพระสงฆกลับ
 หนาที่ของแขก
๑๖

     -มาถึงงานใหตรงเวลาที่เจาภาพกําหนดไว
     -มาถึงแลวเขาไปทักทายเจาภาพกอน
     -เลือกนั่งในสถานที่เหมาะสมกับตน
     -มีความสํารวมตนดวยดี ไมสงเสียงดังรบกวนสมาธิผูอื่น
     -รวมบริจาคทาน และรวมพิธีกรรมทุกขั้นตอนจนเสร็จ
     -แตงกายสุภาพเรียบรอย สมควรแกงานนั้น ๆ
     -ไมสุราหรือของมึนเมาเขามาดื่มในงานทําบุญ
     -ไมเลนการพนัน หรือรบกวนเจาภาพเพื่อเปดบอนการพนัน
คําอาราธนาศีล ๕
   มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะสีลานิ, ยาจามะ,
   ทุกติยัมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะสีลานิ, ยาจามะ
   ตะติยัมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะสีลานิ, ยาจามะ
คําสมาทานศีล ๕
     ๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ,
     ๒. อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ,
     ๓. กาเมสุ มิจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
     ๔. มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ,
     ๕. สุรา เมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิขาปะทัง, สะมาทิยามิ,
พิธีประเคนของพระ
   การถวายปจจัยตางๆ แกพระสงฆ ตองถวายดวยความเคารพ เพราะพระสงฆตั้งอยูในฐานะ
ปูชนียบุคคล เรานําสิ่งของไปถวายทานเพื่อบูชาในคุณธรรมของทาน จึงตองนอมกาย นอมใจ เขา
ไปถวายทาน การกระทําดังนี้ เรียกวา "ประเคน"
องคประเคนมี ๕ ดังนี้
     ๑. สิ่งของทีประเคนตองไมใหญโตและหนักเกินไป
                  ่
     ๒. ผูประเคนตองอยูในหัตถบาส (คือชวงแขนหนึ่ง)
     ๓. ผูประเคนนอมสิ่งของนั้นเขามาใหดวยอาการเคารพนอบนอม
     ๔. การนอมสิ่งของเขามานั้น จะสงดวยมือก็ได หรือสิ่งที่เนื่องดวยกายก็ได
     ๕. พระภิกษุผูรับประเคนจะรับดวยมือก็ได ถาผูประเคนเปนชาย
        ถาผูประเคนเปนหญิงพระตองใชผารับ
พิธีกรวดน้ํา รับพร
   การกรวดน้ําเปนพิธีกรรมอยางงหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมกระทํา เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกผูลวงลับ
ซึ่งเปนสิ่งที่ชาวพุทธไทยนับถือกันมาก น้ําที่ใสบริสทธิ์ เปรียบเหมือนน้ําใจใสบริสุทธิ์ ที่ตั้งใจอุทิศ
                                                     ุ
๑๗

สวนบุญกุศลแกผูที่ลวงลับไปแลว เปนการแสดงกตัญูกตเวทีตอทานเหลานั้น
                คํากรวดน้ําโดยยอ
         อิทัง โน ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนาตุ ญาตโย
                ขอใหทานของขาพเจาจงสําเร็จแกญาติ
                ขอใหญาติของขาพเจาจงมีความสุขเถิด.



                          มารยาทชาวพุทธ
จุดประสงค
    ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "มารยาท"
    ๒. เพื่อใหเขาใจความสําคัญของมารยาท
    ๓. เพื่อใหรูและเขาใจขอบขายของ "มารยาทชาวพุทธ"
    ๔. เพื่อใหรูถึงอานิสงสของการมีมารยาทที่ดี
    ๕. เพื่อฝกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธใหสามารถนําไปใชไดอยางถูกตอง
    ๖. เพื่อใหสามารถนําไปชี้นําผูอื่นใหปฏิบัติตามมารยาทชาวพุทธไดในโอกาสอันควร
มารยาทชาวพุทธ
    ๒.๑ ความหมาย คําวา "มารยาท" หรือ "มรรยาท" หมายถึงความประพฤติที่แสดงออก
มาทางกายทางวาจา ซึ่งบัณฑิตทั้งหลายยอมรับวา เรียบรอย อยูในระเบียบแบบแผนหรือขอบ
เขตที่ดีงาม เปนการสอใหเห็นถึงอัธยาศัยที่ดีอีกดวย ชาวพุทธ คือ ผูนับถือพระพุทธศาสนาทั่วไป
    ๒.๒ ความสําคัญ การมีมายาทที่ดีตอกันของคนในสังคม นับเปนสิ่งสําคัญมากประการหนึ่ง
ทําใหคนเราอยูรวมกันอยางสงบสุขแสดงใหเห็นถึงความเปนผูมีวัฒนธรรมและคุณธรรม ทั้งยังเปน
การประกาศศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยอยูในตัววา "มนุษยเปนผูมใจสูง มีการประพฤติที่ประ
                                                                      ี
เสริฐกวาสัตวเดรัจฉาน" มารยาทยังเปนเครื่องวัดคุณธรรมของคนอีกดวย ดังคําโคลงที่วา.-
         สายบัวบอกลึกตื้น ชลธาร
       มารยาทสอสันดาน ชาติเชื้อ
       โฉดฉลาดเพราะคําขาน พึงทราบ
       กอหญาเหียวแหงเรื้อ บอกราย แสลงดิน.
                    ่
    ๒.๓ มารยาทชาวพุทธที่ควรศึกษาและปฏิบัติ
       ก. มารยาทในการไปวัด
                   -การแตงกายไปวัด
                   -การนําเด็กไปวัด
๑๘

          -การปฏิบัติตนในวัด
  ข. มารยาทในการยืน
          -การยืนตอหนาพระสงฆ
          -การยืนตอหนาผูใหญ
          -การยืนตามลําพัง
  ค. มารยาทในการนั่ง
          -การนั่งสนทนากับพระสงฆ
          -การนั่งตอหนาผูใหญ
          -การนั่งตามลําพัง
          -การนั่งฟงพระธรรมเทศนา
          -การเปลี่ยนทานั่ง
  ง. มารยาทในการไหว-การกราบ
          -การไหว-การกราบพระรัตนตรัย
          -การไหว-การกราบมารดาบิดา
          -การไหว-การกราบครูอาจารย
          -การไหว-การกราบผูใหญ
          -การไหวบุคคลเสมอกัน
          -การไหว-การกราบศพ
  จ. การแสดงความเคารพตอสถานที่
          -อุโบสถ
          -ศาลาการเปรียญ
          -ตนโพธิ์และตนไมที่เกี่ยวกับพุทธประวัติ
          -หอไตรหรือหอสมุดของวัด
          -กุฏิของพระสงฆ หรือ ที่นั่ง-ที่นอนของพระสงฆ
  ช. การแสดงความเคารพตอพระสงฆ
          -ลุกขึ้นยืนรับพระสงฆ
          -การตามสงพระสงฆ
          -การหลีกทางใหพระสงฆ
๒.๔ อานิสงสของความมีมารยาทดี
          -ตนเองมีความภูมิใจในตนเอง
          -ผูรูใครครวญแลวสรรเสริญ
          -ชื่อเสียงเกียรติคุณยอมฟุงไป
๑๙

                 -คนดีตองการคบหาสมาคมดวย
                 -ไมเปนที่รังเกียจของสังคม
                 -เปนแบบอยางที่ดีของอนุชน
                 -เปนที่เคารพของผูนอย เปนที่รักของผูใหญ เปนที่เกรงใจของเพื่อน
                 -เปนเครื่องเชิดชูเกียรติของชาติและศาสนาของตน
                 -จิตใจสงบสุขไมวิตกกังวลเพราะเสียมารยาท
                 -เปนพื้นฐานใหบรรลุคุณธรรมชั้นสูง


*ดูรายละเอียดใน สมทรง ปุญญฤทธิ์ มารยาทชาวพุทธ กรุงเทพ ฯ
โรงพิมพสหมิตร ๒๕๓๑

                 การเขาถึงพระรัตนตรัย

จุดประสงค
              ๑. เพื่อใหเขาใจคําวา " พระรัตนตรัย "
              ๒. เพื่อใหรูซึ้งถึงคุณของพระรัตนตรัย
              ๓. เพื่อใหรูจักวิธีทําความเคารพพระรัตนตรัย
              ๔. เพื่อใหรูจักขอปฏิบัติตนใหเขาถึงพระรัตนตรัย
              ๕. เพื่อใหรูจักประโยชนที่พึงไดรับจากการเขาถึงพระรัตนตรัย

พระรัตนตรัย

                ๑. ความหมาย คําวาพระรัตนตรัย แปลวา "แกวอันประเสริฐสามดวง" ในที่
นี้หมายเอา "พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ " ซึ่งเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความชื่นชมยินดีแกชีวิต เปน
สิ่งที่พึ่งที่ระลึกถึงอันสูงสุดของชีวิต เปนสิ่งที่ยึดเหนี่ยวชีวิตไมใหตกต่ํา เปนเกราะปองกันชีวิตให
เดินไปบนเสนทางที่ถูกตอง ดีงาม และพนจากทุกขทั้งปวง
                ๒. พระรัตนตรัยที่ควรรูจัก
                   ๒.๑ ทานผูสอนใหประชุมชน ประพฤติชอบดวย กาย วาจา ใจ ตามพระ
ธรรมวินัยเรียกวา " พระพุทธเจา "
                   ๒.๒ พระธรรมวินัยที่เปนคําสั่งสอนของทานเรียกวา "พระธรรม"
                   ๒.๓ หมูชนที่ฟงคําสั่งสอนของทานแลว ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยเรียกวา
"พระสงฆ"
๒๐

                ๓. คุณของพระรัตนาตรัย
                   ๓.๑ พระพุทธเจารูดีรูชอบดวยพระองคเองกอนแลว สอนผูอื่นใหรูตามดวย.
                   ๓.๒ พระธรรมยอมรักษาผูปฏิบัติไมใหตกไปสูที่ชั่ว.
                   ๓.๓ พระสงฆปฏิบัติชอบ ตามคําสั่งสอนของพระพุทธเจา แลวสอนผูอื่นให
กระทําตามดวย.
                ๔. การแสดงความเคารพตอพระรัตนตรัย
                   ๔.๑ การทําความเคารพในพระพุทธเจา
                    -มีศรัทธาปสาทะในพระพุทธเจาอยางมั่นคงไมเปลี่ยนแปลง
                    -แสดงตนเปนพุทธามามกะรับเอาพระพุทธเจามาเปนของตน
                    -ตั้งใจปฏิบัติตามาคําสั่งสอนใหเต็มความสามารถ
                    -ศึกษาพระพุทธจริยาใหเขาใจ แลวดําเนินชีวิตาของตนตามรอยบาทพระ
ศาสดา
                    -ไมนําเรื่องพระพุทธเจามาเลนเปนตลกเพื่อความสนุกสนาน
                    -เขาไปในปูชนียสถาน แสดงความเคารพ ยําเกรง
                   ๔.๒ การทําความเคารพพระธรรม
                    -ตั้งใจศึกษาเรียนรูพระธรรมจนเขาใจถูกตองตามความเปนจริง
-ตั้งใจนําเอาพระธรรมที่ศึกษาดีแลวนั้นมาปฏิบัติจริง ที่กาย วาจา ใจ ของตนจนสุดความสามารถ
-ชวยประกาศเผยแผพระธรรม ใหแพรหลายดวยวิธีตางๆ เชน พิมพหนังสือแจก สนทนนา ใหการ
อบรมสั่งสอน สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาและปฏิบัติธรรม
-เมื่อมีผูกลาวธรรม ตั้งใจฟงดวยความเคารพเอื้อเฝอ ไมเบื่อ ไมอิ่มในถอยคําที่เปนสุภาษิต
-แมจะประสบปญหาชีวิตอยางแสนสาหัสเจียนตายเพียงใดก็ตาม จะไมทิ้ง"พระธรรม"เปนอันขาด
๔.๓ การทําความเคารพพระสงฆ
-ระลึกถึงคุณความดีของพระสงฆตามบทสวด "สังฆคุณ"
-แสดงความเคารพ ไหว กราบ นอบนอม ยําเกรง
-ทําอะไรๆประกอบดวยเมตตา
-พูดจาอะไรๆประกอบดวยเมตตา
-คิดอะไรๆประกอบดวยเมตตา
-ไมปดประตูบานยินดีตอนรับเสมอ
-ใหอามิสทานคือถวายปจจัย๔
-เอื้อเฟอเชื่อฟงคําตักเตือนสั่งสอน
๕. การเขาถึงพระรัตนตรัย
๕.๑ การเขาถึงทางศีล
๒๑

-พูดจาถูกตอง เวนวจีทุจริตทั้งปวง
-การทํางานถูกตอง เวนการทุจริตทั้งปวง
-ประกองอาชีพถูกตอง เวนมิจฉาอาชีวทั้งปวง
๕.๒ การเขาถึงทางสมาธิ
-มีความเพียรถูกตองตามปธาน๔
-มีความระลึกถูกตองตามสติปฏฐาน๔
-มีจิตตั้งมั่นถูกตองตามรูปฌาน๔
๕.๓ การเขาถึงทางปญญา
-มีความเห็นถูกตอง เห็นตามอริยสัจจ ๔
-มีความดําริถูกตอง ดําริตามกุศลวิตก ๓
๖.อานิสงสของการเขาถึงพระรัตนตรัย
    ๖.๑ ผลระดับตน
             -ทําใหมีชีวิตอยางสงบสุขไมมีเวรภัย
             -ทําใหฐานะทางครอบครัวมีความมั่นคง
             -ไดชื่อวาเปนคนดี ใครๆก็อยากคบหาสมาคม
             -เปนคนมีคา มีเกียรติ ไมตกเปนทาสอบายมุข
    ๖.๒ ผลระดับกลาง
             -บาปหรือความชั่วไมเผาลนจิตใจ
             -ปดประตูอบายภูมิได

        -ยอมเกิดในภพภูมิที่ดี มีโอกาสพัฒนาตนเองใหสูงขึ้น
   ๖.๓ ผลระดับสูง
        -ทําใหจิตใจ สะอาด สวาง สงบ
        -ดับกิเลสและกองทุกขทั้งปวงได
        -เขาถึงพระนิพพาน จิตสงบเย็นไมมีเครื่องเสียบแทง
        -ตัดเสียซึ่งวัฏฏะทุกขทั้งปวง.


                การมีระเบียบวินัย
จุดประสงค
   ๑.เพื่อใหรูความหมายของคําวา "ระเบียบวินัย"
    ๒. เพื่อใหเขาใจถึงความสําคัญของการมีระเบียบวินัย
๒๒

     ๓. เพื่อใหรูขอบขายของระเบียบวินัยที่พึงปฏิบัติในการอยูคาย "พุทธบุตร"
     ๔. เพื่อใหรูถึงอานิสงสของการมีระเบียบวินัย
     ๕. เพื่อใหสมารถนําไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม
การมีระเบียบวินัย
     ๑. ความหมาย คําวา "ระเบียบวินัย" หมายความวา "ความสํารวมกาย วาจา เรียบรอย
 ซึ่งเปนเหตุนําไปสูความเปนผูวิเศษ"
     ๒. ความสําคัญ การมีระเบียบวินัยทําใหหมูคณะมีระเบียบเรียบรอยอยูรวมกันไดอยาง
สงบสุข ทําใหความประพฤติของผูที่อยูรวมกันเปนไปในทางเดียวกัน ไมรังเกียจกันดวยชาติ
สกุล เรียบรอยสวยงามเหมือนดอกไมหลากสีที่นายชางเก็บมารอยเปนพวกมาลัย และเปนการ
แสดงใหเห็นถึงความเจริญมั่นคงกลมเกลียวกาวหนาของชนในชาติ
     ๓. ระเบียบวินัยที่พึงปฏิบัติในการอยูคาย "พุทธบุตร"
             -ไป-กลับ หองประชุมเดินเปนแถว
             -วางรองเทาเรียบรอยทั้งที่หองประชุมและที่พัก
             -วางของในหองนอนอยางมีระเบียบเรียบรอย
             -ไมพูดคุยสงเสียงดังในหองประชุม
             -ออกไปรับอาหารเปนแถวตามลําดับ
             -วางแกวน้ําเปนแถวตรงกันหมดดูสวยงามเวลารับประทานอาหาร
             -ออกไปลางจานเปนแถวอยางมีระเบียบตามลําดับ
             -อาบน้ําอยางมีระเบียบ ไมสงเสียงดัง ไมสาดน้ําใสกัน
             -ใชหองน้ําหองสวมอยางเรียบรอยและรักษาความสะอาด
             -นอนอยางมีระเบียบ นอนและตื่นตรงเวลา
             -ไมคุยและสงเสียงรบกวนผูอื่นในเวลานอน
             -แตงกายสุภาพเรียบรอย
             -ปฏิบัติตามกฏระเบียบและความนิยมของที่นั้น ๆ
     ๔. อานิสงสของการมีระเบียบวินัย
             -ไดรับความแชมชื่นมีปติปราโมทย และภูมิใจในตนเอง
             -ไมถูกตําหนิโทษ หรือถูกลงทัณฑกรรม
             -เปนผูองอาจกลาหาญในการปรากฏตัวในที่ชุมนุมชน
             -จิตใจสงบสุขไมวิตกกังวลถึงความผิดที่ตัวกระทํา
             -เปนพื้นฐานใหบรรลุคุณธรรมชั้นสูง
ความรับผิดชอบ
จุดประสงค
๒๓

๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "รับผิดชอบ"
๒. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอตนเอง
๓. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอวงศตระกูล
๔. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอสถาบันการศึกษา
๕. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอสถาบันสูงสุด
ความรับผิดชอบ
๑. ความหมาย คําวา "รับผิดชอบ" หมายถึง ความสํานึกในการทําหนาที่ของตน โดยไมตองมี
     ใครคอยบังคับหรือควบคุม
๒. ความรับผิดชอบตอตนเอง
    ๒.๑ ตั้งใจศึกษาหาความรู
    ๒.๒ ฝกฝนตนใหมีความสามารถในการทํางาน
    ๒.๓ ประพฤติตนเปนคนดีมีคุณธรรม
    ๒.๔ รักษาสุขภาพของตนใหแข็งแรงสมบูรณ
๓. ความรับผิดชอบตอวงศสกุล
     ๓.๑ คํานึงถึงความรูสึกของพอแม
     ๓.๒ ชวยเหลือการงานแบงเบาภาระกิจทางบาน
     ๓.๓ คํานึงถึงรายรับ รายจายของครอบครัว
     ๓.๔ รักษาเกียรติของวงศสกุล
๔.ความรับผิดชอบตอสถาบันการศึกษา
     ๔.๑ ปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียน
     ๔.๒ ทําตัวเปนตัวอยางที่ดีแกผูอื่น
     ๔.๓ สรางชื่อเสียงเกียรติคุณใหกับโรงเรียน
     ๔.๔ รักโรงเรียนเหมือนบานเกิดของตน
     ๔.๕ รวมกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียนดวยความเต็มใจ
     ๔.๖ เคารพครูอาจารยเหมือนพอแมของตน
๕. ความรับผิดชอบตอสถาบันสูงสุด
    ๕.๑ ความรับผิดชอบตอสถาบันชาติ
            ๕.๑.๑ ศรัทธาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
            ๕.๑.๒ เคารพกฏหมายบานเมือง
            ๕.๑.๓ รูจักใชสิทธิและเสรีภาพอยางถูกตอง
            ๕.๑.๔ เสียภาษีอากรบํารุงรัฐ
            ๕.๑.๕ ซื่อสัตยสุจริต
๒๔

        ๕.๑.๖ ขยันหมั่นเพียร ประกอบอาชีพสุจริต
        ๕.๑.๗ ไมตกเปนทาสยาเสพติดและอบายมุขมุกชนิด
        ๕.๑.๘ รักษาประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ
        ๕.๑.๙ รักษาทรัพยากรธรรมชาติของชาติ
        ๕.๑.๑๐เสียสละไมเห็นแกตัว
   ๕.๒ ความรับผิดชอบตอสถาบันศาสนา
        ๕.๒.๑ มีศรัทธามั่นคงในพระรัตนตรัย
        ๕.๒.๒ เอาใจใสศึกษาพระธรรมวินัยใหเขาใจถูกตอง
        ๕.๒.๓ ฝกฝนอบรมตนเองใหเครงครัดในศีล สมาธิ ปญญา
        ๕.๒.๔ รูจักบําเพ็ญบุญ คือ บริจาคทาน รักษาศีล เจริญภาวนา
        ๕.๒.๕ ประพฤติสุจริตดวยกาย วาจา ใจ ไมตกเปนทาสอบายมุข
        ๕.๒.๖ ชวยเผยแผคําสั่งสอนของศาสนาแกผูอื่น
        ๕.๒.๗ ชวยปกปองสถาบันศาสนาไมใหใครทําลาย
        ๕.๒.๘ ชวยบํารุงและพัฒนาศาสนาสถาน
   ๕.๓ ความรับผิดชอบตอสถาบันมหากษัตริย
        ๕.๓.๑ ถวายความจงรักภักดีดวยความจริงใจ
        ๕.๓.๒ ไมกลาววาจาลวงละเมิด
        ๕.๓.๓ ประพฤติตนเปนพลเมืองดี
        ๕.๓.๔ รับสนองพระบรมราชโองการ
        ๕.๓.๕ ปกปองสถาบันไมใหใครลวงละเมิด
        ๕.๓.๖ ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาทโดยเครงครัด

               ประพฤติวัฒนธรรมของชาวพุทธ
จุดประสงค
          ๑.เพื่อใหรูความหมายของคําวา"ประเพณี" และ "วัฒนธรรม"
          ๒.เพื่อใหรูและชื่นชอบประเพณีวัฒนธรรมชาวพุทธ
          ๓.เพื่อใหรูถึงผลดีของประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ
          ๔.เพื่อใหนําเอาประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ ไปปฏิบัติเปนกิจนิสัยในชีวิตประ
            จําวันได
ความหมาย
          ๑.คําวา"ประเพณี" หมายถึง ขอกําหนด กิจกรรม แบบอยางที่ประพฤติปฏิบัติสีบตอ
กันมา แบงเปน ๓ คือ จารีตประเพณี ขนบประเพณี ธรรมเนียมประเพณี
๒๕

       ๒.คําวา "วัฒนธรรม" หมายถึง ลักษณะที่แสดงออกชี้ใหเห็นถึงความเจริญกาวหนา
พฤติกรรมที่แสดงออกเปนไปเพื่อความเจริญ ความสงบสุขของสังคม

ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ
         ๑. ไหวพระสวดมนต นั่งสมาธิ แผเมตตา กอนนอนทุกคืน
         ๒. ทําบุญตักบาตรทุกเชา
         ๓. เขาวัดทําบุญ บริจาคทาน รักษาศีล ฟงธรรม เจริญภาวนาทุกวันพระ
         ๔. แสดงความเคารพ เอื้อเฟอ ยําเกรงตอพระสงฆ
         ๕. รูจักทําบุญที่บานตามโอกาสตางๆ
         ๖. เขารวมกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา
         ๗. แสดงความเคารพตอปูชนียสถาน
         ๘. รวมพัฒนาและบํารุงศาสนาสถาน
         ๙. มีความกตัญูตอผูมีพระคุณ
         ๑๐.รูจักบําเพ็ญบุญทักษิณานุประทาน
         ๑๑.บวชสืบอายุพระพุทธศาสนา

ผลดีของประเพณีวัฒนธรรม
        ๑. ตนเองมีความสุขที่ไดทําความดีเชนนั้น
        ๒. บัณฑิตสรรเสริญผูมีวัฒนธรรม
        ๓. ชื่อเสียงเกียรติคุณฟุงขจรไป
        ๔. แสดงถึงความกาวหนาของชาติ
        ๕. กอใหเกิดความสามัคคีของคนในชาติ
        ๖. แสดงออกถึงเอกลักษณชองชาติเปนพิเศษ
        ๗. เปนการเชิดชูเกียรติของชาติ
        ๘. เปนเครื่องขัดเกลาอุปนิสัยใหออนโยน
        ๙. เปนฐานรองรับคุณธรรมที่สูงยิ่งๆขึ้นไป

        วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา
จุดประสงค
        ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "บุญ"
        ๒. เพื่อใหรูและเขาใจวิธีทําบุญในพระพุทธศาสนาทั้ง ๑๐ วิธี
        ๓. เพื่อใหนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม
๒๖

           ๔. เพื่อใหสามารถชี้ชวนผูอื่นใหทําบุญไดถูกตองตามวิธีการของพระพุทธศาสนา
วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา
           ๑.ความหมาย คําวา "บุญ" หมายถึง
             -คุณชาติที่ชําระจิตใหสะอาดบริสุทธิ์
             -การทําความดีดวย กาย วาจา ใจ
             -ความสุขกาย สบายใจ
           ๒.วิธีทําบุญ ในพระพุทธศาสนามีวิธีการทําบุญอยู ๑๐ วิธี คือ.-
             ๒.๑ ทานมัย บุญสําเร็จดวยการบริจาคทาน
             ๒.๒ สีลมัย บุญสําเร็จดวยการรักษาศีล
             ๒.๓ ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญภาวนา
             ๒.๔ อปจายนมัย บุญสําเร็จดวยการประพฤติออนนอมถอมตน
             ๒.๕ เวยยาวัจจมัย บุญสําเร็จดวยการชวยขวนขวายในกิจที่ชอบ
             ๒.๖ ปตติทานมัย บุญสําเร็จดวยการใหสวนบุญแกผูอื่น
             ๒.๗ ปตตานุโมทนามัย บุญสําเร็จดวยการอนุโมทนาสวนบุญ
             ๒.๘ ธัมมัสสวนามัย บุญสําเร็จดวยการฟงธรรม
             ๒.๙ ธัมมเทสนามัย บุญสําเร็จดวยการแสดงธรรม
             ๒.๑๐ ทิฏุชุกัมม บุญสําเร็จดวยการทําความเห็นใหตรง
           ๓.อานิสงสของการทําบุญ
             ๓.๑ ตนเองมีความปลื้มปติยินดี อิ่มใจ สุขใจ
             ๓.๒ บัณฑิตใครครวญแลวสรรเสริญ
             ๓.๓ เกียรติคุณฟุงขจรไป
             ๓.๔ มีความสุขสงบเย็นในชีวิต
             ๓.๕ ไมหลงทํากาลกิริยา
             ๓.๖ เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติ

                      การเปนบุตรที่ดีของพอแม
  จุดประสงค
         ๑.เพื่อใหรูความหมายของคําวา "พอแม" และ "บุตรที่ด"   ี
         ๒.เพื่อใหรูขอบขาย "หนาที่ของพอแมที่มีตอลูก"
         ๓.เพื่อใหรูและเขาใจถึง "คุณธรรม" และ "ความประเสริฐ" ของพอแม
         ๔.เพื่อใหรูและเขาใจถึง "ประเภทของบุตร"
         ๕.เพื่อใหรู "หนาที่ของบุตรที่ดีอันพึงมีตอพอแม" แลวนําไปปฏิบัติในชีวิตจริงได
๒๗

      ๖.เพื่อใหรูถึงอานิสงสที่เกิดจากการเปนบุตรที่ดี
            การเปนบุตรที่ดีของพอแม
๑.ความหมายของคําวา "พอแม"
      ๑.๑ คําวา พอ หมายความวา ผูคุมครองปองกันอันตรายแกบุตร
      ๑.๒ คําวา แม หมายความวา ผูยังบุตรใหเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป
๒.หนาที่ของพอแมที่มีตอลูก
      ๒.๑ สอนใหลูกเวนจากความชั่ว
      ๒.๒ แนะนําลูกใหทําความดี
      ๒.๓ สงเสริมลูกใหไดรับการศึกษาเลาเรียนศิลปวิทยา
      ๒.๔ เลือกคูครองที่เหมาะสมใหลูก
      ๒.๕ แบงทรัพยใหในสมัยอันสมควร
๓.คุณธรรมของพอแม
      ๓.๑ เมตตา ปรารถนาใหลูกมีความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป
      ๓.๒ กรุณา มีความเอ็นดูชวยเหลือลูกใหพนทุกข
      ๓.๓ มุทิตา ชื่นชมยินดีเมื่อลูกประสบความสําเร็จในชีวิต
      ๓.๔ อุเบกขา เฝาดูความเปนอยูและความเปนไปของลูกอยูเสมอ
๔.ความประเสริฐของพอแม
      ๔.๑ เปนครูคนแรกของลูก
      ๔.๒ เปนพระพรหมของลูก
      ๔.๓ เปนพระอรหันตของลูก
      ๔.๔ เปนผูมีอุปการะมากและแสดงโลกนี้แกบุตร
๕.บุตรมีอยู ๓ ประเภท
      ๕.๑ อวชาตบุตร คือบุตรที่มีคุณธรรมต่ํากวาพอแม
      ๕.๒ อนุชาตบุตร คือบุตรที่มีคุณธรรมเสมอกับพอแม
      ๕.๓ อภิชาตบุตร คือบุตรที่มีคุณธรรมสูงกวาพอแม
๖.ความหมายของบุตรที่ดี
      ๖.๑ บุตรที่ดี คือ บุตรที่สามารถทําใหพอแมอิ่มใจ สบายใจ สุขใจ
๗.ขอวัตรปฏิบัติของบุตรที่ดี
      ๗.๑ ยกยองสรรเสริญคุณงามความดีของพอแม
      ๗.๒ บํารุงพอแมดวยปจจัย ๔
      ๗.๓ สรางเกียรติและชื่อเสียงใหวงศสกุล
      ๗.๔ สืบทอดเจตนารมณของพอแม
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
Anchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
krupornpana55
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
niralai
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 

La actualidad más candente (20)

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 

Similar a คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร

กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
Tongsamut vorasan
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
yana54
 
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลโครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
blctoday
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
blcdhamma
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
Tongsamut vorasan
 
โครงงานกลุ่มที่ 3
โครงงานกลุ่มที่ 3โครงงานกลุ่มที่ 3
โครงงานกลุ่มที่ 3
0892827602
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
teacherhistory
 

Similar a คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร (20)

03 develop1
03 develop103 develop1
03 develop1
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลโครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
 
Buengtungsang learning
Buengtungsang learningBuengtungsang learning
Buengtungsang learning
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
Paper
PaperPaper
Paper
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
โครงงานกลุ่มที่ 3.doc
โครงงานกลุ่มที่ 3.docโครงงานกลุ่มที่ 3.doc
โครงงานกลุ่มที่ 3.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 3
โครงงานกลุ่มที่ 3โครงงานกลุ่มที่ 3
โครงงานกลุ่มที่ 3
 
เสนอค่าย
เสนอค่ายเสนอค่าย
เสนอค่าย
 
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไรพระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 

Más de niralai

Más de niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร

  • 1. คูมือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" สารบัญ ๑. หนาปก ๒. ปกใน ๓. แนะนําศูนย ๔. รูปหลวงพอ ๕. รูปพระอาจารยเผียน ๖. รูปประธานศูนยฯ ๗. รูปรองประธานทั้ง ๓ และเลขานุการ ๘. รายนามพระวิทยากร ๙. อุดมการณของพุทธบุตร ๑๐. คําอนุโมทนาของหลวงพอ ๑๑. คําปรารภของประธานศูนยฯ ๑๒. คํานํา ๑๓. สารบาญ ๑๔. ภาคเตรียมการ -โครงการ -การเตรียมการ -หนาที่ของกรรมการฝายตางๆ -ตัวอยางคําสั่งตางๆ -ตารางอบรม ๑๕. ภาควิชาการ -การเขาถึงพระรัตนตรัย -ศีลหาคือมนุษยธรรม -มารยาทชาวพุทธ -วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา -ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ -การมีระเบียบวินัย -ความรับผิดชอบ -การเปนบุตรที่ดี
  • 2. -การเปนศิษยที่ดี -การเปนเพื่อนที่ดี -การเปนพลเมืองที่ดี -การเปนสาวกที่ดี -พูดปลุกใจหนาเสาธง -ศาสนพิธีที่ควรรู ๑๖. ภาคกิจกรรม -ฝกซอมเตรียมพิธีเปดการอบรม -พิธีเปดการอบรม -คํากลาวบูชาพระรัตนตรัย -พิธีมอบตัวเปนศิษย -คํากลาวมอบตัวเปนศิษย -คํามั่นสัญญา -กติกา สัญญาใจ คําปฎิญาณ -รับประทานอาหาร -ปลุกความสํานึกกอนรับประทานอาหาร -ตัวอยางตารางเวียนฐาน -ภาพแบงฐาน -การทําวัตรสวดมนต -การเจริญภาวนา -พิธีสูความเปนพุทธบุตร -คํามอบตัวเปนพุทธบุตร -บทแผเมตตา -ภาพการบริหารกาย -การเดินจงกรม -กิจกรรมหนาเสาธง -การเขียนบทความ -กิจกรรมพุทธบุตรสรางสรรค -พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม ๑๗. ภาคผนวก
  • 3. -พุทธศาสนสุภาษิตและคํากลอน -ตัวอยางบทความของเด็ก -ตัวอยางเสียงกระซิบสั่งจากครู -ตัวอยางแบบประเมินผล -ตัวอยางใบสํารวจศีล -เพลงประกอบกิจกรรม ๑๘. ปกหลัง ภาคเตรียมการ โครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" ๑. ชื่อโครงการ โครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" ๒. หลักการและเหตุผล สภาพสังคมไทยในปจจุบันเปนที่ยอมรับกันวา มีความเจริญกาวหนาในการพัฒนาประ เทศดวยเทคโนโลยี กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงหลายดาน ทั้งทางดานเศรษฐกิจ - สังคม และการเมือง ประชาชนสวนหนึ่งไดรับความสะดวกสบายทางวัตถุมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ความเสื่อมทางจิตใจก็ทวีขึ้นจนเปนที่นาวิตก ดังจะเห็นไดจากปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น อยางสลับซับซอน เชน ผูคนไมเคารพตอศีลธรรม วัฒนธรรม ประเพณี ขาดระเบียบวินัย มีคา นิยมในทางฟุงเฟอฟุมเฟอย เห็นแกตัว จนกลาวไดวา "พัฒนาแตไมเจริญ" หรือพัฒนาแต วัตถุ ไมพัฒนาทางดานจิตใจ สภาพสังคมทั่วไปจึงอยูในขั้นวิกฤต ศูนยสืบอายุพระพุทธศาสนา ไดรวมมือกับหนวยงาน องคการกุศล โรงเรียนเอกชน ตลอดจนผูเห็นคุณคาในการสรางโอกาสใหผูอื่นมีคุณธรรม พิจารณาเห็นวา "การสรางคนใหมี คุณธรรมนั่นแหละคือการสรางชาติ" เปนการฟนฟูจิตใจเยาวชนหรือผูเขารับการอบรมใหกลา แข็ง รูเทาทันตอสิ่งที่เกิดขึ้น โดยนําเอาหลักธรรมมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ใหรูจัก ลด ละ เลิก สิ่งชั่วราย จนเกิดความปลอดภัยนําความสงบเย็นมาสูชีวิต โดยใชวิธี การอบรมตามแนวเขาคาย ดังนั้นโครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" จึงเกิดขึ้น ๓. วัตถุประสงค ๓.๑ เพื่อใหผูเขารับการอบรม มีความรูความเขาใจ ในหลักธรรมของศาสนาเทาที่จํา เปนตอการดําเนินชีวิต อยางถูกตองและเพียงพอ ๓.๒ เพื่อใหผูเขารับการอบรม นําหลักธรรมนั้นมาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน จนเกิด เปนคุณธรรมประจําชีวิต ไมตกเปนทาสของความชั่วรายทั้งปวง มีชีวิตอยูอยางปลอดภัย และ สงบเย็น
  • 4. ๓.๓ เพื่อใหผูเขารับการอบรม ดําเนินชีวิตเปนแบบอยางที่ดีงามแกผูอื่น ทั้งในทาง ดานมีระเบียบวินัย ขยัน อดทน ซื่อสัตย - สุจริต รับผิดชอบและกตัญูกตเวที เปนตน ๓.๔ เพื่อใหผูเขารับการอบรม มีสวนรวมในการสืบอายุพระพุทธศาสนา และประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ ไวเปนมรดกอันล้ําคาของสังคมไทยสืบไป. ๔. กลุมเปาหมาย ๔.๑ นักเรียนชั้นประถมปลาย ครั้งละไมเกิน ๓๕๐ คน ๔.๒ นักเรียนชั้นมัธยมตน ครั้งละไมเกิน ๓๐๐ คน ๔.๓ นักเรียนชั้นมัธยมปลาย ครั้งละไมเกิน ๒๕๐ คน ๔.๔ นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และอุดมศึกษา ครั้งละไมเกิน ๒๐๐ คน ลักษณะคาย ๕.๑ ตองอยูพักแรม ๒ คืน ๓ วัน หรือ ๓ คืน ๔ วัน หรือ ๔ คืน ๕ วัน ๕.๒ สถานที่จัดฝกอบรม โรงเรียน สํานักงาน ศูนยฝกอบรม วัด ๕.๓ มีคณะกรรมการรับผิดชอบ พระภิกษุ คณะครูอาจารย คณะกรรมการ ๕.๔ ไมจํากัดเพศ แตกําหนดอายุ(เฉพาะแตละคาย) จัดที่พักเปนสัดสวน เชน หอพัก อาคารเรียน หรือนอนกลด เปนตน วิธีการฝกอบรม ๖.๑ เขาคายพักแรมเพื่อศึกษาและปฏิบัติธรรมรวมกัน(อาจรักษาอุโบสถศีลก็ได) ๖.๒ การฝกอบรมมีหลายรูปแบบ เชน การบรรยาย อภิปราย สนทนา ตอบปญหา กิจกรรมกลุม ทําวัตรเชา - เย็น สมาธิภาวนา บริหารกาย - บริหารจิต ธรรมะจากสื่อ ฯลฯ ๗. งบประมาณ ๗.๑ งบประมาณจากสถานศึกษานั้น ๆ หรือหนวยงานนั้น ๆ ๗.๒ งบที่ไดรับจากผูมีจิตศรัทธาทั่วไป ๘. ผลที่คาดวาจะไดรับ ๘.๑ ทําใหเขาใจศาสนาที่ตนนับถือมากยิ่งขึ้น ๘.๒ ทําใหรูจักตนเองมากยิ่งขึ้น ๘.๓ ทําใหรูจักตัดสินใจเลือกทางดําเนินชีวตอยางถูกตองดวยตนเอง ิ ๘.๔ ทําใหมีความขยันหมั่นเพียร มีระเบียบวินัย และรับผิดชอบมากขึ้น ๘.๕ ทําใหออนนอมถมตน รูจักเกรงใจ และแสดงความเคารพตอผูใหญมากขึ้น ๘.๖ ทําใหมีความสามัคคี และอยูรวมกันอยางมีความสุข ๘.๗ ทําใหสํานึกในบุญคุณของทานผูมีคุณและตอบแทนไดดีขึ้น
  • 5. ๘.๘ ทําใหเห็นคุณคาของความสงบทางจิตใจมากขึ้น ๘.๙ คณะครูอาจารย นักเรียน พระสงฆ และประชาชนทั่วไป ไดมีโอกาสจัดกิจกรรมใน ทางสรางสรรค มีความสัมพันธอันดีระหวาง บาน วัด โรงเรียน สมกับคําวา "บวร" การเตรียมงาน ๑. เตรียมเขียนโครงการ ๒. เตรียมงบประมาณ ๓. เตรียมแตงตั้งคณะกรรมการฝายตาง ๆ เชน ๓.๑ คณะกรรมการอํานวยการ ๓.๒ คณะกรรมการดําเนินงาน มี ๑๔ ฝาย ดังนี้ -กรรมการฝายประสานงาน -กรรมการฝายที่ปรึกษาประจํากลุม -กรรมการฝายวิชาการและธุระการ -กรรมการฝายประชาสัมพันธ -กรรมการฝายพิธีการ -กรรมการฝายเตรียมการและจัดหาอุปกรณ -กรรมการฝายเหรัญญิก -กรรมการฝายปฏิคม -กรรมการฝายสถานที่และบริการ -กรรมการฝายโภชนาการ -กรรมการฝายโสตทัศนูปกรณ -กรรมการฝายพยาบาล -กรรมการฝายรักษาความปลอดภัย -กรรมการฝายประเมินผล ๔. เตรียมเด็กที่จะเขารับการอบรม ๔.๑ แจงใหเด็กทราบ ๔.๒ ทําหนังสือแจงใหผูปกครองเด็กไดทราบ ๔.๓ แจงใหเด็กเตรียมอุปกรณและเครื่องใชที่จําเปน ๕. เตรียมจัดรายชื่อเด็กเปนกลุม ๆ ๘ กลุม จํานวนเทากัน และทําปายชื่อเด็ก กลุมละสี เชน- กลุมเมตตา......สีเหลือง กลุมกรุณา.......สีน้ําเงิน กลุมมุทิตา.......สีแดง
  • 6. กลุมอุเบกขา.....สีชมพู กลุมฉันทะ.......สีฟา กลุมวิริยะ.......สีเขียว กลุมจิตตะ.......สีขาว กลุมวิมังสา......สีน้ําตาล ๖. เตรียมสถานที่ ๖.๑ เตรียมหองประชุม -ทําความสะอาด -ตกแตงเวที -เขียนปาย ตามตัวอยางดังนี้ โครงการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" โรงเรียน.................... วันที่.....เดือน.....พ.ศ....... -จัดตั้งโตะหมูบูชาครบชุด (มีธงชาติ,พระบรมฉายาลักษณ) -ติดตั้งเครื่องขยายเสียงพรอมเครื่องเทปคาสเซ็ทอยางดี -จัดตั้งชุดรับแขกและเกาอี้ -ดูแลแสงไฟใหพอใชสําหรับกิจกรรมภาคกลางคืน ๖.๒ เตรียมที่วางอาหาร -เตรียมที่วางอาหาร ๔ ที่ (ถาเด็กไมเกิน ๑๕๐ คน จัด ๒ ที่ก็ได) -จัดที่วางอาหารใกลหองประชุม (ในกรณีที่เด็กรับประทานที่หองประชุม) -จัดที่วางคูเลอรน้ําดื่ม ๔ ที่ ๖.๓ เตรียมที่ลางจาน -จัดโตะตั้งเปนแถวยาว พอตั้งกะละมังได ๔ ใบ จํานวน ๔ แถว -จัดที่ลางจานในสถานที่อันเหมาะสม (ถาที่ลางมีอยูแลวก็ไมตองจัดใหม) ๖.๔ เตรียมที่เก็บจาน -ใชโตะตั้งเปนแถวเทาจํานวนนักเรียน -เขียนปายชื่อกลุมติดที่โตะ ๖.๕ เตรียมที่วางรองเทา -เลือกสถานที่ ที่วางรองเทาที่เหมาะสม -เขียนปายชื่อกลุมติดไว ใหเด็กวางรองเทาเปนกลุมที่หองประชุม, โรงอาหาร,ที่หองนอน ๖.๖ เตรียมที่นอนชาย-หญิง
  • 7. ๖.๗ เตรียมที่อาบน้ําชาย-หญิง ๖.๘ เตรียมราวตากผาชาย-หญิง ๖.๙ เตรียมสถานที่แบงฐานอบรม ๔ ฐาน -ทําความสะอาดสถานที่ -ติดตั้งเครื่องขยายเสียงเล็ก -ตั้งน้ําดื่มสําหรับพระวิทยากร -ตั้งโตะเกาอี้สําหรับพระวิทยากรนั่ง ๗. เตรียมอุปกรณ ๗.๑ เตรียมเสื่อปูหองประชุม -ถาจํานวนเด็ก ๒๕๐ คน ใชเสื่อยาว ๒๔ ผืน -ถาจํานวนเด็ก ๓๐๐ คน ใชเสื่อยาว ๓๒ ผืน -ใชปูเวทีสําหรับนั่งสวดมนต ๓ ผืน ๗.๒ เตรียมเสื่อปูหองพักพระวิทยากร ๗.๓ เตรียมเสื่อปูหองพักครูที่ปรึกษา,หองนอนเด็ก ๗.๔ เตรียมภาชนะใสน้ําลางจาน -กะละมังขนาดกลางหรือขนาดใหญ จํานวน ๑๖ ใบ ๗.๕ เตรียมภาชนะใสเศษอาหาร จํานวน ๔ ใบ ๗.๖ เตรียมน้ํายาลางจานและสกอตไบรท ๗.๗ เตรียมเหยือกน้ําจํานวน ๑ โหล ๗.๘ เตรียมคูเลอรขนาดใหญ ๔ ใบ ๗.๙ เตรียมแกวน้ําเทาจํานวนนักเรียน,ครู,พระวิทยากร ๗.๑๐ เตรียมจานขนาด ๘ นิ้ว (หรือถานหลุมก็ได)ซอน,เทาจํานวน นักเรียน,ครู,พระ ๘. เตรียมอุปกรณเสริมกิจกรรม ๘.๑ พิธีมอบตัวเปนศิษย -เตรียมดอกไมเทาจํานวนแถวนั่งในหองประชุม ถานั่ง ๘ แถว ก็ใช ๘ ชอ ถานั่ง ๑๖ แถว ก็ใช ๑๖ ชอใหคนที่อยูหนาสุดของแตละแถวเปนผูมอบ ใหครู ๘.๒ พิธีสูความเปนพุทธบุตร -เตรียมเทียนขนาด ๖ นิ้ว เทาจํานวน พระ,ครู, นักเรียน, ๙. เตรียมบุคคลเสริมกิจกรรม ๙.๑ พิธีเปดการอบรม -เตรียมบุคคลเปนพิธีกรเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
  • 8. -เตรียมบุคคลจุดเทียนชนวนสงใหประธาน ๙.๒ พิธีมอบตัวเปนศิษย -เตรียมเด็กนํากลาวมอบตัวเปนศิษย จํานวน ๑ คน -เตรียมเด็กอานกลอน "คํามั่นสัญญา" จํานวน ๑-๒ คน ๙.๓ กิจกรรมพุทธบุตรสรางสรรค -เตรียมตัวแทนพอแสดงความรูสึก -เตรียมตัวแทนแมแสดงความรูสึก ๙.๔ พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหมและปดการอบรม -เตรียมประธานกลาวปราศรัยและปดการอบรม -เตรียมตัวแทนครูฝายโภชนาการแสดงความรูสึก ๑ คน -เตรียมตัวแทนครูกลาว "ศิษยที่ครูปรารถนา ๑ คน -เตรียมตัวแทนครูอานกลอน "เสียงกระซิบสั่งจากครู" ๑ คน ๑๐. เตรียมเพลงประกอบกิจกรรม ๑๐.๑ พิธีเปดการอบรม -เตรียมเพลงพระรัตนตรัย ๑๐.๒ พิธีมอบตัวเปนศิษย -ดนตรีเดี่ยวไวโอลินเพลงชุดลมพัดชายเขา -เพลงพระคุณที่สาม -เพลงแมพิมพของชาติ ๑๐.๓ กติกาสัญญาใจ -เพลงทําดีไดดี ๑๐.๔ พิธีสูความเปนพุทธบุตร -ดนตรีชุดลมพัดชายเขา -พระรัตนตรัย -เพลงอธิษฐาน -บทสวดสรรเสริญพุทธคุณ (องคใดพระสัมพุทธฯ) ๑๐.๕ กิจกรรมพุทธบุตรสรางสรรค -เพลงใครหนอ -เพลงออมอกแม -เพลงพระคุณแม -เพลงคาน้ํานม ๑๐.๖ พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม
  • 9. -ดนตรีชุดลมพัดชายเขา -เพลงพระคุณที่สาม -เพลงแมพิมพของชาติ -เพลงลาคุณครู ๑๐.๗ พิธีปดการอบรม -เพลงพระรัตนตรัย หนาที่กรรมการฝายตาง ๆ ๑. กรรมการอํานวยการ มีหนาที่ ใหคําปรึกษาแนะนํา แกปญหา อํานวยความสะดวก  ควบคุมการอยูคายใหเปนไปดวยความเรียบรอยทุกประการ ๒. กรรมการดําเนินงาน ๒.๑ กรรมการฝายประสานงาน มีหนาที่ ประสานงานกับพระวิทยากร ครู อาจารยที่ ปรึกษาประจํากลุมกรรมการฝายตาง ๆ ๒.๒ กรรมการที่ปรึกษาประจํากลุม มีหนาที่ดังนี้ -รับรายงานตัวนักเรียน แจกปายชื่อนักเรียน ใหนักเรียนนํากระเปา ไปเก็บในที่ซึ่งจัดไวเปนกลุม -ดําเนินการใหนักเรียนเลือกประธานกลุม อธิบายความหมายชื่อกลุม ดูแลใหนักเรียนติดปายชือใหเรียบรอย ่ -ดูแลใหนักเรียนปฏิบัติตามระเบียบของการอยูคาย มีความสามัคคีตอกัน ตรงตอเวลา เขาหองประชุมอยางสงบ -ใหนักเรียนทําความรูจักกันใหมากที่สุด -สํารวจจํานวนนักเรียนในกลุม ทุกกิจกรรมและกอนนอนทุกกคืน -ชวยจัดเลี้ยงอาหาร น้ําดื่ม น้ําปานะ ตามเวลาที่กําหนด -สํารวจกระเปานักเรียนเพื่อดูความเรียบรอยมิใหมี อาวุธ สิ่งเสพติด และรับฝากของมีคาของนักเรียน -ประสานงานกับพระวิทยากรในการอบรมนักเรียน -รวมกิจกรรมกับนักเรียนทุกกิจกรรม -เปนวิทยากรเสริม รับทราบปญหา และเปนที่ปรึกษาของนักเรียน ๒.๓ กรรมการฝายวิชาการและธุระการ มีหนาที่จัดเตรียมเอกสารตาง ๆ ที่จําเปนตอ
  • 10. ๑๐ การอบรม จัดรายชื่อนักเรียนที่เขารับการอบรมใหเปนกลุมโดยคละกัน ๘ กลุม จัดทําปายชื่อนัก เรียน ปายชื่อครูแยกไวเปนกลุม ๆ ละสี เขียนปายชื่อกลุมทําเปนกลองสามเหลี่ยมวางไวที่ หนาแถวในหองประชุม เขียนปายชื่อกลุมที่วางรองเทา ที่หองนอน ที่ลางจาน ที่ตักอาหาร. ๒.๔ กรรมการฝายประชาสัมพันธ มีหนาที่ ประชาสัมพันธโครงการ เชน จัดสงโครงการไป ใหสื่อมวลชนตาง ๆ จัดสงโครงการไปใหสมาคม ชมรม หางราน เพื่อของความอุปถัมภ โครงการ เขียนปายประชาสัมพันธทั้งภายนอกและภายในสถานที่นั้น ๆ ๒.๕ กรรมการฝายพิธีการ มีหนาทีดังนี้ ่ -จัดดอกไมธูปเทียน จัดโตะหมูบูชา จัดเตรียมเวที -จัดเตรียมอุปกรณสําหรับพิธีตาง ๆ เชน พิธีเปดการอบรม พิธีปด พิธีมอบตัวเปนศิษย พิธีสูความเปนพุทธบุตร และพิธีอธิษฐานจิต เพื่อชีวิตใหม เปนพิธีการตลอดงาน. -ดูแลอํานวยความสะดวกแกพระวิทยากรในทุก ๆ ดาน ๒.๖ กรรมการฝายเตรียมการและจัดหาอุปกรณ มีหนาที่ จัดหาอุปกรณที่จําเปนตอการอยู คายมาเตรียมไวใหพรอม โดยประสานงานกับกรรมการฝายอื่น ๆ ๒.๗ กรรมการฝายเหรัญญิก มีหนาที่ รับเงินที่ผูมีจิตศรัทธาบริจาค ควบคุมการใชจายเงิน จัด ทําบัญชี รับ-จาย ใหเรียบรอย ๒.๘ กรรมการฝายปฏิคม มีหนาที่ ตอนรับแขกผูมีเกียรติ ผูปกครองนักเรียน ทานประธาน หรือผูทมาเกี่ยวของกับงานในโครงการ บริการน้ําดื่ม แนะนําใหรู ี่ จักสถานที่ เปนตน ๒.๙ กรรมการฝายสถานที่และบริการ มีหนาที่ดังนี้ -จัดเตรียมหองประชุม จัดชุดรับแขก -สถานที่วางอาหาร ที่ลางจาน ที่อาบน้ํา หองนอน ราวตากผา -สถานที่แบงฐานอบรม ๒.๑๐ กรรมการฝายโภชนาการ มีหนาที่ จัดปรุงอาหาร น้ําดื่ม ใหเพียงพอกับจํานวนผูที่เขา รวมการอบรม ใหทันตามเวลาที่กําหนด ๒.๑๑ กรรมการฝายโสตทัศนูปกรณ มีหนาที่ จัดแสง เสียง ใหเพียงพอทุกจุดที่จําเปน บันทึก เทป บันทึกภาพ ตลอดการฝกอบรม ๒.๑๒ กรรมการฝายพยาบาล มีหนาที่ ดูแลชวยเหลือผูเขารวมการอบรมที่เจ็บไขไดปวย ตลอดเวลาจนเสร็จสิ้นโครงการ ตัวอยาง
  • 11. ๑๑ ที่ อย ๐๓๓๐.๑๕/๑๗๕ โรงเรียนนครหลวง "อุดมรัชตวิทยา" อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๒๖๐ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๓๕ เรื่อง ขออนุญาตนํานักเรียนเขาคายอบรมคุณธรรม ""คายพุทธบุตร" เรียน ผูปกครอง (ด.ช. ด.ญ.) .......... ดวยหมวดวิชาสังคมศึกษา โรงเรียนนครหลวง "อุดมรัชตวิทยา" จะจัด อบรมคุณธรรมสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ประมาณ ๒๕๐ คน ณ โรงเรียนนครหลวง "อุดมรัชตวิทยา" ในวันที่ ๕-๗ มิถุนายน ๒๕๓๕ รวม ๓ วัน ๒ คืน เพื่อเปนการสงเสริม คุณธรรม จริยธรรม พัฒนาจิตใจแกนักเรียน และสามารถนําความรู ความเขาใจไปใชในชี วิตประจําวัน โดยอาราธนาพระวิทยากร จากวัดชลประทานรังสฤษฏ อําเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี มาเปนพระวิทยากรใหการอบรมนักเรียนในครั้งนี้ และมีครูรวมควบคุมนักเรียน ฉะนั้น หมวดวิชาสังคมศึกษา จึงขออนุญาตนํานักเรียนในปกครอง ของทานไปอยูคายอบรมคุณธรรมนักเรียนในครั้งนี้ โดยขอคาอาหารจากนักเรียน จํานวน ๗ มื้อ และคาน้ําปานะจํานวน ๔ มื้อ เปนเงิน ๖๐ บาท จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ หวังวาคงไดรับความรวมมือจากทานดวยดี และขอความกรุณาคืนแบบตอบรับคืนโรงเรียนดวย จักขอบคุณยิ่ง ขอแสดงความนับถือ (นางหยด เจริญกูล) ผูอํานวยการโรงเรียนคนครหลวง"อุดมรัชตวิยา" วิชาการ โทร ๓๕๙๘๐๐ แบบตอบรับ ขาพเจา ผูปกครองของ นักเรียนชั้น ม.๑ อนุญาต ไมอนุญาต ใหนักเรียนใน ความปกครองของขาพเจาไปรวมอบรมคุณธรรมครั้งนี้ ลงชื่อ ผูปกครอง ( )
  • 12. ๑๒ อุปกรณเครื่องใชระหวางการอบรมคุณธรรม "คายพุทธบุตร" ระหวาง วันที่ ๑๔-๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๕ ณ โรงเรียนบางกรวย ๑. ผาหม ๒. ผาเช็ดตัว ๓. แปรงสีฟน ยาสีฟน ผงซักฟอก ๔. ชุดขาว ๒ ชุด (ผาถุงขาว ๒ ผืน สไบ ๑ ผืน เสื้อนักเรียนสีขาว ๒ ตัว ๕. ผาถุง ผาขาวมา สําหรับใชผลัดอาบน้ํา ๖. หมอน ๗. เสื่อพับผืนเล็ก ๑ ผืน ๘. แกวน้ํา ชอน ๙. ยารักษาโรค (โรคประจําตัว) ๑๐.ถุงพลาสติคสําหรับใสเสื้อผาเปยก ๑๑.สบู ขันน้ํา รองเทาแตะ ผาเช็ดเทา ๑๒.ไฟฉาย ๑๓.ผาอนามัย (เผื่อฉุกเฉิน) ๑๔.เครื่องเขียน เชนปากกา ดินสอ เปนตน .................... หมายเหตุ หามนําทรัพย เงินทอง ของมีคา ติดตัวมาในระหวางการอบรม ตารางอบรมคุณธรรม"คายพุทธบุตร" ศูนยสืบอายุพระพุทธศาสนา วัดชลประทานรังสฤษฎ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐ วัน,เดือน,ป เวลา รายการ/กิจกรรม หมายเหตุ ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ ลงทะเบียน รายงานตัว ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ -จัดนักเรียนเขาแถวตามกลุมที่สนาม -นักเรียนพรอมที่หองประชุม -ฝกซอมเตรียมพิธีเปดการอบรม ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ พิธีเปดการอบรม
  • 13. ๑๓ -ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย -กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย -กลาวรายงาน วันที่หนึ่ง ของการ ๐๙.๓๐-๑๐.๐๐ พิธีมอบตัวเปนศิษย/สมาทานศีล ๑๐.๐๐-๑๐.๑๕ พักเปลี่ยนอิริยบถ ฝกอบรม ๑๐.๑๕-๑๑.๐๐ กติกาสัญญาใจและคําปฏิญาณ ๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ รับประทานอาหาร ๑๒.๐๐-๑๒.๔๐ พักทํากิจสวนตัว ๑๒.๔๐-๑๓.๒๐ พรอมกันที่หองประชุม/ธรรมนันทนาการ ๑๓.๒๐-๑๖.๓๐ แบงฐานอบรมคุณธรรม ๔ ฐาน ดังนี.้ - ๑.การเขาถึงพระรัตนตรัย ๒.วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา ๓.ความรับผิดชอบ ๔.การมีระเบียบวินัย ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ พบอาจารยที่ปรึกษา/จัดที่พัก/อาบน้ําทํากิจสวนตัว ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐-๒๑.๓๐ ทําวัตร/จิตตภาวนา/พิธีสูความเปนพุทธบุตร/สไลดธรรมะ/ แผเมตตา/พบอาจารยที่ปรึกษา/พัก _______________________________________________________ _________________ ๐๔.๓๐-๐๗.๐๐ ตื่นทํากิจสวนตัว/บริหารกายบริหารจิต/ทําวัตร/จิตตภาวนา /กิจกรรมหนาเสาธง ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ อาบน้ําทํากิจสวนตัว ๐๗.๓๐-๐๘.๔๕ รับประทานอาหาร/ทํากิจสวนตัว ๐๘.๔๕-๐๙.๕๐ พรอมกันที่หองประชุม/ธรรมบรรยายเรื่อง"การพัฒนาตนเอง" ๐๙.๕๐-๑๐.๕๐ สนทนากับกัลยาณมิตร วันที่สอง ๑๐.๕๐-๑๒.๐๐ รับประทานอาหาร ของการ ๑๒.๐๐-๑๒.๔๐ พักทํากิจสวนตัว ฝกอบรม ๑๒.๔๐-๑๓.๒๐ พรอมกันที่หองประชุม/ธรรมนันทนาการ ๑๓.๒๐-๑๕.๓๐ แบงฐานอบรมคุณธรรม ๓ ฐานดังนี้.- ๑.การเปนบุตรที่ดีของพอแม
  • 14. ๑๔ ๒.การเปนศิษยที่ดีของครู ๓.การเปนสาวกที่ดีของพระศาสนา ๑๕.๓๐-๑๗.๐๐ อนามัยในโรงเรียน ๑๗.๐๐-๑๗.๓๐ อาบน้ําทํากิจสวนตัว ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐-๒๑.๓๐ ทําวัตร/จิตตภาวนา/สไลดธรรมะ/พบอาจารยที่ปรึกษา/ แผเมตตา/พัก _______________________________________________________ _______________ ๐๔.๓๐-๐๗.๐๐ ตื่นทํากิจสวนตัว/บริหารกายบริหารจิต/ทําวัตร/จิตตภาวนา/ กิจกรรมหนาเสาธง ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ อาบน้ําทํากิจสวนตัว ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ รับประทานอาหาร ๐๘.๔๕-๐๙.๕๐ ธรรมบรรยายเรื่อง"พุทธบุตรกับการสืบอายุพระพุทธศาสนา" ๐๙.๕๐-๑๐.๕๐ เขียนบทความเรื่อง"ความประทับใจ..." ๑๐.๕๐-๑๒.๐๐ รับประทานอาหาร ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ เก็บของ/จัดที่พัก/แตงชุดนักเรียน ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ พิธีอธิษฐานจิตชีวิตใหม/ปดการอบรม ศาสนพิธีที่ควรรู จุดประสงค ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "ศาสนาพิธี" ๒. เพื่อใหสามารถประกอบพิธีตาง ๆ ไดถูกตอง ๓. เพื่อใหสามารถแนะนําผูอื่นใหประกอบพิธีตาง ๆ ไดอยางถูกตอง ๔. เพื่อใหเห็นคุณคาและความสําคัญของศาสนพิธี ความหมาย "ศาสนพิธี" คือ แบบอยาง หรือแบบแผนตาง ๆ ที่ดีงาม ที่ใชประกอบกิจกรรมในทางพระ พุทธศาสน เรียกวา "ศาสนพิธี" ความสําคัญ ศาสนพิธี มีความสําคัญมาก เมื่อปฏิบัติใหถูกตองทุกขั้นตอนแลวจะทําใหพิธีกรรมตางๆ ที่ประ กอบนั้นเปนระเบียบเรียบรอยสวยงาม เปนที่ตั้งแหงความเลื่อมใสของผูที่พบเห็น ทําใหเกิดศรัท ธาในการประกอบคุณงามความดีและเปนการแสดงใหเห็นถึงความเจริญทางจิตใจของผูนับถือพระ พุทธศาสนา เปนเครื่องเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของชาวพุทธ ฉะนั้นจําเปนอยางยิ่งที่ชาวพุทธ
  • 15. ๑๕ ทุกคนจะตองศึกษาเรียนรู พิธีโดยสรุป ศาสนพิธีมีมากมาย ซึ่งลวนแตนาศึกษาเรียนรูทั้งสิ้น แตเมื่อกลาวโดยสรุปมีอยู ๔ หมวดดังนี้ ๑. หมวดกุศลพิธี วาดวยพิธีบําเพ็ญกุศล ๒. หมวดบุญพิธี วาดวยพิธีบําเพ็ญบุญ ๓. หมวดทานพิธี วาดวยพิธีถวายทาน ๔. หมวดปกิณณกะ วาดวยพิธีเบ็ดเตล็ด บุญพิธีที่จําเปน พิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา แบงออกได ๒ ประเภทดังนี้ ๑. ทําบุญงานมงคล คือ ปรารภเหตุดีแลวทําบุญ เชน ขึ้นบานใหม แตงงาน ประสบความสํา เร็จตาง ๆ เปนตน ๒. ทําบุญงานอวมงคล คือ ปรารภเหตุสูญเสีย เชน ทําบุญอุทิศใหผูตาย เปนตน ผูเกี่ยวของ การทําบุญทั้งสองประเภทนี้ จะมีผูมาเกี่ยวของอยู ๓ ฝายดวยกันคือ ๑. ฝายเจาภาพ คือเจาของงานบําเพ็ญบุญ ๒. ฝายแขก คือผูมีเกียรติที่มารวมทําบุญ ๓. ฝายพระสงฆ คือพระสงฆที่เจาภาพนิมมตมาเปนปฏิคาหา หนาที่ของเจาภาพ -จัดเตรียมสถานที่ประกอบพิธี -นิมนตพระสงฆตามจํานวนที่ตองการ -ตั้งโตะหมูบูชา พรอมอุปกรณครบชุด -ปูอาสนะและเตรียมเครื่องตอนรับพระ -เมื่อพระสงฆมาถึงคอยลางและเช็ดเทา -เมื่อพระสงฆนั่งเรียบรอยแลว ถวายเครื่องรับรอง -จุดเทียน ธูป บูชาพระรัตนตรัย แลวกราบ ๓ ครั้ง -กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย -อาราธนาศีล รับศีล อาราธนาพระปริตร -นั่งฟงพระสงฆ (สวด) เจริญพระพุทธมนตจนจบ -ถวายภัตตาหารและเครื่องไทยธรรม -พระสงฆอนุโมทนา เจาภาพกรวดน้ํา รับพร -เสร็จพิธีสงพระสงฆกลับ หนาที่ของแขก
  • 16. ๑๖ -มาถึงงานใหตรงเวลาที่เจาภาพกําหนดไว -มาถึงแลวเขาไปทักทายเจาภาพกอน -เลือกนั่งในสถานที่เหมาะสมกับตน -มีความสํารวมตนดวยดี ไมสงเสียงดังรบกวนสมาธิผูอื่น -รวมบริจาคทาน และรวมพิธีกรรมทุกขั้นตอนจนเสร็จ -แตงกายสุภาพเรียบรอย สมควรแกงานนั้น ๆ -ไมสุราหรือของมึนเมาเขามาดื่มในงานทําบุญ -ไมเลนการพนัน หรือรบกวนเจาภาพเพื่อเปดบอนการพนัน คําอาราธนาศีล ๕ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะสีลานิ, ยาจามะ, ทุกติยัมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะสีลานิ, ยาจามะ ตะติยัมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะสีลานิ, ยาจามะ คําสมาทานศีล ๕ ๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ, ๒. อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ, ๓. กาเมสุ มิจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๔. มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ, ๕. สุรา เมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิขาปะทัง, สะมาทิยามิ, พิธีประเคนของพระ การถวายปจจัยตางๆ แกพระสงฆ ตองถวายดวยความเคารพ เพราะพระสงฆตั้งอยูในฐานะ ปูชนียบุคคล เรานําสิ่งของไปถวายทานเพื่อบูชาในคุณธรรมของทาน จึงตองนอมกาย นอมใจ เขา ไปถวายทาน การกระทําดังนี้ เรียกวา "ประเคน" องคประเคนมี ๕ ดังนี้ ๑. สิ่งของทีประเคนตองไมใหญโตและหนักเกินไป ่ ๒. ผูประเคนตองอยูในหัตถบาส (คือชวงแขนหนึ่ง) ๓. ผูประเคนนอมสิ่งของนั้นเขามาใหดวยอาการเคารพนอบนอม ๔. การนอมสิ่งของเขามานั้น จะสงดวยมือก็ได หรือสิ่งที่เนื่องดวยกายก็ได ๕. พระภิกษุผูรับประเคนจะรับดวยมือก็ได ถาผูประเคนเปนชาย ถาผูประเคนเปนหญิงพระตองใชผารับ พิธีกรวดน้ํา รับพร การกรวดน้ําเปนพิธีกรรมอยางงหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมกระทํา เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกผูลวงลับ ซึ่งเปนสิ่งที่ชาวพุทธไทยนับถือกันมาก น้ําที่ใสบริสทธิ์ เปรียบเหมือนน้ําใจใสบริสุทธิ์ ที่ตั้งใจอุทิศ ุ
  • 17. ๑๗ สวนบุญกุศลแกผูที่ลวงลับไปแลว เปนการแสดงกตัญูกตเวทีตอทานเหลานั้น คํากรวดน้ําโดยยอ อิทัง โน ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนาตุ ญาตโย ขอใหทานของขาพเจาจงสําเร็จแกญาติ ขอใหญาติของขาพเจาจงมีความสุขเถิด. มารยาทชาวพุทธ จุดประสงค ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "มารยาท" ๒. เพื่อใหเขาใจความสําคัญของมารยาท ๓. เพื่อใหรูและเขาใจขอบขายของ "มารยาทชาวพุทธ" ๔. เพื่อใหรูถึงอานิสงสของการมีมารยาทที่ดี ๕. เพื่อฝกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธใหสามารถนําไปใชไดอยางถูกตอง ๖. เพื่อใหสามารถนําไปชี้นําผูอื่นใหปฏิบัติตามมารยาทชาวพุทธไดในโอกาสอันควร มารยาทชาวพุทธ ๒.๑ ความหมาย คําวา "มารยาท" หรือ "มรรยาท" หมายถึงความประพฤติที่แสดงออก มาทางกายทางวาจา ซึ่งบัณฑิตทั้งหลายยอมรับวา เรียบรอย อยูในระเบียบแบบแผนหรือขอบ เขตที่ดีงาม เปนการสอใหเห็นถึงอัธยาศัยที่ดีอีกดวย ชาวพุทธ คือ ผูนับถือพระพุทธศาสนาทั่วไป ๒.๒ ความสําคัญ การมีมายาทที่ดีตอกันของคนในสังคม นับเปนสิ่งสําคัญมากประการหนึ่ง ทําใหคนเราอยูรวมกันอยางสงบสุขแสดงใหเห็นถึงความเปนผูมีวัฒนธรรมและคุณธรรม ทั้งยังเปน การประกาศศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยอยูในตัววา "มนุษยเปนผูมใจสูง มีการประพฤติที่ประ ี เสริฐกวาสัตวเดรัจฉาน" มารยาทยังเปนเครื่องวัดคุณธรรมของคนอีกดวย ดังคําโคลงที่วา.- สายบัวบอกลึกตื้น ชลธาร มารยาทสอสันดาน ชาติเชื้อ โฉดฉลาดเพราะคําขาน พึงทราบ กอหญาเหียวแหงเรื้อ บอกราย แสลงดิน. ่ ๒.๓ มารยาทชาวพุทธที่ควรศึกษาและปฏิบัติ ก. มารยาทในการไปวัด -การแตงกายไปวัด -การนําเด็กไปวัด
  • 18. ๑๘ -การปฏิบัติตนในวัด ข. มารยาทในการยืน -การยืนตอหนาพระสงฆ -การยืนตอหนาผูใหญ -การยืนตามลําพัง ค. มารยาทในการนั่ง -การนั่งสนทนากับพระสงฆ -การนั่งตอหนาผูใหญ -การนั่งตามลําพัง -การนั่งฟงพระธรรมเทศนา -การเปลี่ยนทานั่ง ง. มารยาทในการไหว-การกราบ -การไหว-การกราบพระรัตนตรัย -การไหว-การกราบมารดาบิดา -การไหว-การกราบครูอาจารย -การไหว-การกราบผูใหญ -การไหวบุคคลเสมอกัน -การไหว-การกราบศพ จ. การแสดงความเคารพตอสถานที่ -อุโบสถ -ศาลาการเปรียญ -ตนโพธิ์และตนไมที่เกี่ยวกับพุทธประวัติ -หอไตรหรือหอสมุดของวัด -กุฏิของพระสงฆ หรือ ที่นั่ง-ที่นอนของพระสงฆ ช. การแสดงความเคารพตอพระสงฆ -ลุกขึ้นยืนรับพระสงฆ -การตามสงพระสงฆ -การหลีกทางใหพระสงฆ ๒.๔ อานิสงสของความมีมารยาทดี -ตนเองมีความภูมิใจในตนเอง -ผูรูใครครวญแลวสรรเสริญ -ชื่อเสียงเกียรติคุณยอมฟุงไป
  • 19. ๑๙ -คนดีตองการคบหาสมาคมดวย -ไมเปนที่รังเกียจของสังคม -เปนแบบอยางที่ดีของอนุชน -เปนที่เคารพของผูนอย เปนที่รักของผูใหญ เปนที่เกรงใจของเพื่อน -เปนเครื่องเชิดชูเกียรติของชาติและศาสนาของตน -จิตใจสงบสุขไมวิตกกังวลเพราะเสียมารยาท -เปนพื้นฐานใหบรรลุคุณธรรมชั้นสูง *ดูรายละเอียดใน สมทรง ปุญญฤทธิ์ มารยาทชาวพุทธ กรุงเทพ ฯ โรงพิมพสหมิตร ๒๕๓๑ การเขาถึงพระรัตนตรัย จุดประสงค ๑. เพื่อใหเขาใจคําวา " พระรัตนตรัย " ๒. เพื่อใหรูซึ้งถึงคุณของพระรัตนตรัย ๓. เพื่อใหรูจักวิธีทําความเคารพพระรัตนตรัย ๔. เพื่อใหรูจักขอปฏิบัติตนใหเขาถึงพระรัตนตรัย ๕. เพื่อใหรูจักประโยชนที่พึงไดรับจากการเขาถึงพระรัตนตรัย พระรัตนตรัย ๑. ความหมาย คําวาพระรัตนตรัย แปลวา "แกวอันประเสริฐสามดวง" ในที่ นี้หมายเอา "พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ " ซึ่งเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความชื่นชมยินดีแกชีวิต เปน สิ่งที่พึ่งที่ระลึกถึงอันสูงสุดของชีวิต เปนสิ่งที่ยึดเหนี่ยวชีวิตไมใหตกต่ํา เปนเกราะปองกันชีวิตให เดินไปบนเสนทางที่ถูกตอง ดีงาม และพนจากทุกขทั้งปวง ๒. พระรัตนตรัยที่ควรรูจัก ๒.๑ ทานผูสอนใหประชุมชน ประพฤติชอบดวย กาย วาจา ใจ ตามพระ ธรรมวินัยเรียกวา " พระพุทธเจา " ๒.๒ พระธรรมวินัยที่เปนคําสั่งสอนของทานเรียกวา "พระธรรม" ๒.๓ หมูชนที่ฟงคําสั่งสอนของทานแลว ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยเรียกวา "พระสงฆ"
  • 20. ๒๐ ๓. คุณของพระรัตนาตรัย ๓.๑ พระพุทธเจารูดีรูชอบดวยพระองคเองกอนแลว สอนผูอื่นใหรูตามดวย. ๓.๒ พระธรรมยอมรักษาผูปฏิบัติไมใหตกไปสูที่ชั่ว. ๓.๓ พระสงฆปฏิบัติชอบ ตามคําสั่งสอนของพระพุทธเจา แลวสอนผูอื่นให กระทําตามดวย. ๔. การแสดงความเคารพตอพระรัตนตรัย ๔.๑ การทําความเคารพในพระพุทธเจา -มีศรัทธาปสาทะในพระพุทธเจาอยางมั่นคงไมเปลี่ยนแปลง -แสดงตนเปนพุทธามามกะรับเอาพระพุทธเจามาเปนของตน -ตั้งใจปฏิบัติตามาคําสั่งสอนใหเต็มความสามารถ -ศึกษาพระพุทธจริยาใหเขาใจ แลวดําเนินชีวิตาของตนตามรอยบาทพระ ศาสดา -ไมนําเรื่องพระพุทธเจามาเลนเปนตลกเพื่อความสนุกสนาน -เขาไปในปูชนียสถาน แสดงความเคารพ ยําเกรง ๔.๒ การทําความเคารพพระธรรม -ตั้งใจศึกษาเรียนรูพระธรรมจนเขาใจถูกตองตามความเปนจริง -ตั้งใจนําเอาพระธรรมที่ศึกษาดีแลวนั้นมาปฏิบัติจริง ที่กาย วาจา ใจ ของตนจนสุดความสามารถ -ชวยประกาศเผยแผพระธรรม ใหแพรหลายดวยวิธีตางๆ เชน พิมพหนังสือแจก สนทนนา ใหการ อบรมสั่งสอน สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาและปฏิบัติธรรม -เมื่อมีผูกลาวธรรม ตั้งใจฟงดวยความเคารพเอื้อเฝอ ไมเบื่อ ไมอิ่มในถอยคําที่เปนสุภาษิต -แมจะประสบปญหาชีวิตอยางแสนสาหัสเจียนตายเพียงใดก็ตาม จะไมทิ้ง"พระธรรม"เปนอันขาด ๔.๓ การทําความเคารพพระสงฆ -ระลึกถึงคุณความดีของพระสงฆตามบทสวด "สังฆคุณ" -แสดงความเคารพ ไหว กราบ นอบนอม ยําเกรง -ทําอะไรๆประกอบดวยเมตตา -พูดจาอะไรๆประกอบดวยเมตตา -คิดอะไรๆประกอบดวยเมตตา -ไมปดประตูบานยินดีตอนรับเสมอ -ใหอามิสทานคือถวายปจจัย๔ -เอื้อเฟอเชื่อฟงคําตักเตือนสั่งสอน ๕. การเขาถึงพระรัตนตรัย ๕.๑ การเขาถึงทางศีล
  • 21. ๒๑ -พูดจาถูกตอง เวนวจีทุจริตทั้งปวง -การทํางานถูกตอง เวนการทุจริตทั้งปวง -ประกองอาชีพถูกตอง เวนมิจฉาอาชีวทั้งปวง ๕.๒ การเขาถึงทางสมาธิ -มีความเพียรถูกตองตามปธาน๔ -มีความระลึกถูกตองตามสติปฏฐาน๔ -มีจิตตั้งมั่นถูกตองตามรูปฌาน๔ ๕.๓ การเขาถึงทางปญญา -มีความเห็นถูกตอง เห็นตามอริยสัจจ ๔ -มีความดําริถูกตอง ดําริตามกุศลวิตก ๓ ๖.อานิสงสของการเขาถึงพระรัตนตรัย ๖.๑ ผลระดับตน -ทําใหมีชีวิตอยางสงบสุขไมมีเวรภัย -ทําใหฐานะทางครอบครัวมีความมั่นคง -ไดชื่อวาเปนคนดี ใครๆก็อยากคบหาสมาคม -เปนคนมีคา มีเกียรติ ไมตกเปนทาสอบายมุข ๖.๒ ผลระดับกลาง -บาปหรือความชั่วไมเผาลนจิตใจ -ปดประตูอบายภูมิได -ยอมเกิดในภพภูมิที่ดี มีโอกาสพัฒนาตนเองใหสูงขึ้น ๖.๓ ผลระดับสูง -ทําใหจิตใจ สะอาด สวาง สงบ -ดับกิเลสและกองทุกขทั้งปวงได -เขาถึงพระนิพพาน จิตสงบเย็นไมมีเครื่องเสียบแทง -ตัดเสียซึ่งวัฏฏะทุกขทั้งปวง. การมีระเบียบวินัย จุดประสงค ๑.เพื่อใหรูความหมายของคําวา "ระเบียบวินัย" ๒. เพื่อใหเขาใจถึงความสําคัญของการมีระเบียบวินัย
  • 22. ๒๒ ๓. เพื่อใหรูขอบขายของระเบียบวินัยที่พึงปฏิบัติในการอยูคาย "พุทธบุตร" ๔. เพื่อใหรูถึงอานิสงสของการมีระเบียบวินัย ๕. เพื่อใหสมารถนําไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม การมีระเบียบวินัย ๑. ความหมาย คําวา "ระเบียบวินัย" หมายความวา "ความสํารวมกาย วาจา เรียบรอย ซึ่งเปนเหตุนําไปสูความเปนผูวิเศษ" ๒. ความสําคัญ การมีระเบียบวินัยทําใหหมูคณะมีระเบียบเรียบรอยอยูรวมกันไดอยาง สงบสุข ทําใหความประพฤติของผูที่อยูรวมกันเปนไปในทางเดียวกัน ไมรังเกียจกันดวยชาติ สกุล เรียบรอยสวยงามเหมือนดอกไมหลากสีที่นายชางเก็บมารอยเปนพวกมาลัย และเปนการ แสดงใหเห็นถึงความเจริญมั่นคงกลมเกลียวกาวหนาของชนในชาติ ๓. ระเบียบวินัยที่พึงปฏิบัติในการอยูคาย "พุทธบุตร" -ไป-กลับ หองประชุมเดินเปนแถว -วางรองเทาเรียบรอยทั้งที่หองประชุมและที่พัก -วางของในหองนอนอยางมีระเบียบเรียบรอย -ไมพูดคุยสงเสียงดังในหองประชุม -ออกไปรับอาหารเปนแถวตามลําดับ -วางแกวน้ําเปนแถวตรงกันหมดดูสวยงามเวลารับประทานอาหาร -ออกไปลางจานเปนแถวอยางมีระเบียบตามลําดับ -อาบน้ําอยางมีระเบียบ ไมสงเสียงดัง ไมสาดน้ําใสกัน -ใชหองน้ําหองสวมอยางเรียบรอยและรักษาความสะอาด -นอนอยางมีระเบียบ นอนและตื่นตรงเวลา -ไมคุยและสงเสียงรบกวนผูอื่นในเวลานอน -แตงกายสุภาพเรียบรอย -ปฏิบัติตามกฏระเบียบและความนิยมของที่นั้น ๆ ๔. อานิสงสของการมีระเบียบวินัย -ไดรับความแชมชื่นมีปติปราโมทย และภูมิใจในตนเอง -ไมถูกตําหนิโทษ หรือถูกลงทัณฑกรรม -เปนผูองอาจกลาหาญในการปรากฏตัวในที่ชุมนุมชน -จิตใจสงบสุขไมวิตกกังวลถึงความผิดที่ตัวกระทํา -เปนพื้นฐานใหบรรลุคุณธรรมชั้นสูง ความรับผิดชอบ จุดประสงค
  • 23. ๒๓ ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "รับผิดชอบ" ๒. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอตนเอง ๓. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอวงศตระกูล ๔. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอสถาบันการศึกษา ๕. เพื่อใหรูและตระหนักในรับผิดชอบตอสถาบันสูงสุด ความรับผิดชอบ ๑. ความหมาย คําวา "รับผิดชอบ" หมายถึง ความสํานึกในการทําหนาที่ของตน โดยไมตองมี ใครคอยบังคับหรือควบคุม ๒. ความรับผิดชอบตอตนเอง ๒.๑ ตั้งใจศึกษาหาความรู ๒.๒ ฝกฝนตนใหมีความสามารถในการทํางาน ๒.๓ ประพฤติตนเปนคนดีมีคุณธรรม ๒.๔ รักษาสุขภาพของตนใหแข็งแรงสมบูรณ ๓. ความรับผิดชอบตอวงศสกุล ๓.๑ คํานึงถึงความรูสึกของพอแม ๓.๒ ชวยเหลือการงานแบงเบาภาระกิจทางบาน ๓.๓ คํานึงถึงรายรับ รายจายของครอบครัว ๓.๔ รักษาเกียรติของวงศสกุล ๔.ความรับผิดชอบตอสถาบันการศึกษา ๔.๑ ปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียน ๔.๒ ทําตัวเปนตัวอยางที่ดีแกผูอื่น ๔.๓ สรางชื่อเสียงเกียรติคุณใหกับโรงเรียน ๔.๔ รักโรงเรียนเหมือนบานเกิดของตน ๔.๕ รวมกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียนดวยความเต็มใจ ๔.๖ เคารพครูอาจารยเหมือนพอแมของตน ๕. ความรับผิดชอบตอสถาบันสูงสุด ๕.๑ ความรับผิดชอบตอสถาบันชาติ ๕.๑.๑ ศรัทธาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ๕.๑.๒ เคารพกฏหมายบานเมือง ๕.๑.๓ รูจักใชสิทธิและเสรีภาพอยางถูกตอง ๕.๑.๔ เสียภาษีอากรบํารุงรัฐ ๕.๑.๕ ซื่อสัตยสุจริต
  • 24. ๒๔ ๕.๑.๖ ขยันหมั่นเพียร ประกอบอาชีพสุจริต ๕.๑.๗ ไมตกเปนทาสยาเสพติดและอบายมุขมุกชนิด ๕.๑.๘ รักษาประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ ๕.๑.๙ รักษาทรัพยากรธรรมชาติของชาติ ๕.๑.๑๐เสียสละไมเห็นแกตัว ๕.๒ ความรับผิดชอบตอสถาบันศาสนา ๕.๒.๑ มีศรัทธามั่นคงในพระรัตนตรัย ๕.๒.๒ เอาใจใสศึกษาพระธรรมวินัยใหเขาใจถูกตอง ๕.๒.๓ ฝกฝนอบรมตนเองใหเครงครัดในศีล สมาธิ ปญญา ๕.๒.๔ รูจักบําเพ็ญบุญ คือ บริจาคทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ๕.๒.๕ ประพฤติสุจริตดวยกาย วาจา ใจ ไมตกเปนทาสอบายมุข ๕.๒.๖ ชวยเผยแผคําสั่งสอนของศาสนาแกผูอื่น ๕.๒.๗ ชวยปกปองสถาบันศาสนาไมใหใครทําลาย ๕.๒.๘ ชวยบํารุงและพัฒนาศาสนาสถาน ๕.๓ ความรับผิดชอบตอสถาบันมหากษัตริย ๕.๓.๑ ถวายความจงรักภักดีดวยความจริงใจ ๕.๓.๒ ไมกลาววาจาลวงละเมิด ๕.๓.๓ ประพฤติตนเปนพลเมืองดี ๕.๓.๔ รับสนองพระบรมราชโองการ ๕.๓.๕ ปกปองสถาบันไมใหใครลวงละเมิด ๕.๓.๖ ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาทโดยเครงครัด ประพฤติวัฒนธรรมของชาวพุทธ จุดประสงค ๑.เพื่อใหรูความหมายของคําวา"ประเพณี" และ "วัฒนธรรม" ๒.เพื่อใหรูและชื่นชอบประเพณีวัฒนธรรมชาวพุทธ ๓.เพื่อใหรูถึงผลดีของประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ ๔.เพื่อใหนําเอาประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ ไปปฏิบัติเปนกิจนิสัยในชีวิตประ จําวันได ความหมาย ๑.คําวา"ประเพณี" หมายถึง ขอกําหนด กิจกรรม แบบอยางที่ประพฤติปฏิบัติสีบตอ กันมา แบงเปน ๓ คือ จารีตประเพณี ขนบประเพณี ธรรมเนียมประเพณี
  • 25. ๒๕ ๒.คําวา "วัฒนธรรม" หมายถึง ลักษณะที่แสดงออกชี้ใหเห็นถึงความเจริญกาวหนา พฤติกรรมที่แสดงออกเปนไปเพื่อความเจริญ ความสงบสุขของสังคม ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ ๑. ไหวพระสวดมนต นั่งสมาธิ แผเมตตา กอนนอนทุกคืน ๒. ทําบุญตักบาตรทุกเชา ๓. เขาวัดทําบุญ บริจาคทาน รักษาศีล ฟงธรรม เจริญภาวนาทุกวันพระ ๔. แสดงความเคารพ เอื้อเฟอ ยําเกรงตอพระสงฆ ๕. รูจักทําบุญที่บานตามโอกาสตางๆ ๖. เขารวมกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา ๗. แสดงความเคารพตอปูชนียสถาน ๘. รวมพัฒนาและบํารุงศาสนาสถาน ๙. มีความกตัญูตอผูมีพระคุณ ๑๐.รูจักบําเพ็ญบุญทักษิณานุประทาน ๑๑.บวชสืบอายุพระพุทธศาสนา ผลดีของประเพณีวัฒนธรรม ๑. ตนเองมีความสุขที่ไดทําความดีเชนนั้น ๒. บัณฑิตสรรเสริญผูมีวัฒนธรรม ๓. ชื่อเสียงเกียรติคุณฟุงขจรไป ๔. แสดงถึงความกาวหนาของชาติ ๕. กอใหเกิดความสามัคคีของคนในชาติ ๖. แสดงออกถึงเอกลักษณชองชาติเปนพิเศษ ๗. เปนการเชิดชูเกียรติของชาติ ๘. เปนเครื่องขัดเกลาอุปนิสัยใหออนโยน ๙. เปนฐานรองรับคุณธรรมที่สูงยิ่งๆขึ้นไป วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา จุดประสงค ๑. เพื่อใหรูความหมายของคําวา "บุญ" ๒. เพื่อใหรูและเขาใจวิธีทําบุญในพระพุทธศาสนาทั้ง ๑๐ วิธี ๓. เพื่อใหนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม
  • 26. ๒๖ ๔. เพื่อใหสามารถชี้ชวนผูอื่นใหทําบุญไดถูกตองตามวิธีการของพระพุทธศาสนา วิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา ๑.ความหมาย คําวา "บุญ" หมายถึง -คุณชาติที่ชําระจิตใหสะอาดบริสุทธิ์ -การทําความดีดวย กาย วาจา ใจ -ความสุขกาย สบายใจ ๒.วิธีทําบุญ ในพระพุทธศาสนามีวิธีการทําบุญอยู ๑๐ วิธี คือ.- ๒.๑ ทานมัย บุญสําเร็จดวยการบริจาคทาน ๒.๒ สีลมัย บุญสําเร็จดวยการรักษาศีล ๒.๓ ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญภาวนา ๒.๔ อปจายนมัย บุญสําเร็จดวยการประพฤติออนนอมถอมตน ๒.๕ เวยยาวัจจมัย บุญสําเร็จดวยการชวยขวนขวายในกิจที่ชอบ ๒.๖ ปตติทานมัย บุญสําเร็จดวยการใหสวนบุญแกผูอื่น ๒.๗ ปตตานุโมทนามัย บุญสําเร็จดวยการอนุโมทนาสวนบุญ ๒.๘ ธัมมัสสวนามัย บุญสําเร็จดวยการฟงธรรม ๒.๙ ธัมมเทสนามัย บุญสําเร็จดวยการแสดงธรรม ๒.๑๐ ทิฏุชุกัมม บุญสําเร็จดวยการทําความเห็นใหตรง ๓.อานิสงสของการทําบุญ ๓.๑ ตนเองมีความปลื้มปติยินดี อิ่มใจ สุขใจ ๓.๒ บัณฑิตใครครวญแลวสรรเสริญ ๓.๓ เกียรติคุณฟุงขจรไป ๓.๔ มีความสุขสงบเย็นในชีวิต ๓.๕ ไมหลงทํากาลกิริยา ๓.๖ เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติ การเปนบุตรที่ดีของพอแม จุดประสงค ๑.เพื่อใหรูความหมายของคําวา "พอแม" และ "บุตรที่ด" ี ๒.เพื่อใหรูขอบขาย "หนาที่ของพอแมที่มีตอลูก" ๓.เพื่อใหรูและเขาใจถึง "คุณธรรม" และ "ความประเสริฐ" ของพอแม ๔.เพื่อใหรูและเขาใจถึง "ประเภทของบุตร" ๕.เพื่อใหรู "หนาที่ของบุตรที่ดีอันพึงมีตอพอแม" แลวนําไปปฏิบัติในชีวิตจริงได
  • 27. ๒๗ ๖.เพื่อใหรูถึงอานิสงสที่เกิดจากการเปนบุตรที่ดี การเปนบุตรที่ดีของพอแม ๑.ความหมายของคําวา "พอแม" ๑.๑ คําวา พอ หมายความวา ผูคุมครองปองกันอันตรายแกบุตร ๑.๒ คําวา แม หมายความวา ผูยังบุตรใหเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๒.หนาที่ของพอแมที่มีตอลูก ๒.๑ สอนใหลูกเวนจากความชั่ว ๒.๒ แนะนําลูกใหทําความดี ๒.๓ สงเสริมลูกใหไดรับการศึกษาเลาเรียนศิลปวิทยา ๒.๔ เลือกคูครองที่เหมาะสมใหลูก ๒.๕ แบงทรัพยใหในสมัยอันสมควร ๓.คุณธรรมของพอแม ๓.๑ เมตตา ปรารถนาใหลูกมีความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๓.๒ กรุณา มีความเอ็นดูชวยเหลือลูกใหพนทุกข ๓.๓ มุทิตา ชื่นชมยินดีเมื่อลูกประสบความสําเร็จในชีวิต ๓.๔ อุเบกขา เฝาดูความเปนอยูและความเปนไปของลูกอยูเสมอ ๔.ความประเสริฐของพอแม ๔.๑ เปนครูคนแรกของลูก ๔.๒ เปนพระพรหมของลูก ๔.๓ เปนพระอรหันตของลูก ๔.๔ เปนผูมีอุปการะมากและแสดงโลกนี้แกบุตร ๕.บุตรมีอยู ๓ ประเภท ๕.๑ อวชาตบุตร คือบุตรที่มีคุณธรรมต่ํากวาพอแม ๕.๒ อนุชาตบุตร คือบุตรที่มีคุณธรรมเสมอกับพอแม ๕.๓ อภิชาตบุตร คือบุตรที่มีคุณธรรมสูงกวาพอแม ๖.ความหมายของบุตรที่ดี ๖.๑ บุตรที่ดี คือ บุตรที่สามารถทําใหพอแมอิ่มใจ สบายใจ สุขใจ ๗.ขอวัตรปฏิบัติของบุตรที่ดี ๗.๑ ยกยองสรรเสริญคุณงามความดีของพอแม ๗.๒ บํารุงพอแมดวยปจจัย ๔ ๗.๓ สรางเกียรติและชื่อเสียงใหวงศสกุล ๗.๔ สืบทอดเจตนารมณของพอแม