SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
Descargar para leer sin conexión
บทคัดย่อ
โครงงานการสืบค้นข้อมูล
“ ขอสักเพลง”
ผู้จัดทา นางสาว สโรชา อนทวงศ์ ม.6/1 เลขที่ 10
ข้อมูลอ้างอิง 1.เรื่อง แต่งเพลง
http://wentali.exteen.com/20101011/entry-1
สาระสาคัญของการแต่งเพลงคือการเล่าเรื่องเรื่องหนึ่งที่มันแสนจะธรรมดาให้คนคนหนึ่งประทับใจและ
อินไปกับมัน ในความหมายของเรื่องธรรมดาๆ นั้นคือ อาจจะเป็นเรื่องความรักของคุณในสักช่วงชีวิตหนึ่ง
ซึ่งที่ยกตัวอย่างแบบนี้เพราะเรื่องความรักมักจะเป็นเรื่องที่ถูกนามาเขียนบ่อยที่สุดในจานวนเนื้อหาเพลงทั้ง
โลก หรือถ้าคุณรันทดในเรื่องความรักจริงๆ ก็ลองเล่าเรื่องเรื่องหนึ่งเพื่อให้เพื่อนคุณสักคนมีกาลังใจในการ
ต่อสู้กับชีวิตของเขาต่อไป ซึ่งถ้ามันทาให้เพื่อนคุณคนนั้นอินและมีกาลังใจขึ้นมาได้นั่นก็คือคุณก็มีแววจะ
เป็นนักแต่งเพลงได้ แต่ในอีกมุมนึงการแต่งเพลงก็มีหลายรูปแบบ ถ้าคุณเป็นคนที่อยากแต่งเพลงแบบแต่ง
ทั้งเนื้อทั้งทานองด้วยกัน ความรู้เรื่องดนตรี ทักษะในด้านการเล่นดนตรีก็สาคัญขึ้นมาทันที อย่างเช่นพี่เสก
โลโซ พี่เสือ ธนพล
เทคนิคในการแต่งเพลง
1. ควรเขียนให้มีสัมผัส จริงๆแล้วในปัจจุบัน เพลงที่คานึงถึงสัมผัสมีน้อยลงมากครับ เดี๋ยวนี้ มีแต่เพลง
ที่แต่งตามใจฉันไม่สนใจสัมผัส ทั้งที่การมีสัมผัส ช่วยให้เพลงจาง่าย ฟังลื่นไหลเป็นธรรมชาติ อันนี้
ผมเดาว่า เป็นเพราะรูปแบบของคนสมัยนี้เปลี่ยนไปคนที่เข้าใจในเรื่องสัมผัสมีน้อยลง จึงไม่คิดว่ามัน
เป็นเรื่องสาคัญและไม่ให้ความสนใจ ซึ่งมันก็ไม่ใช่เรื่องผิดครับ ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
เพลงที่เพราะหลายๆเพลง ก็ไม่มีสัมผัสเช่นกัน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ความจริงในเรื่องของคาสัมผัส ช่วยให้
จาง่ายและฟังลื่นไหล ก็ยังคงเป็นความจริงอยู่ดี และผมคิดว่า นี่ก็เป็นเทคนิคอย่างหนึ่ง ที่ทาให้เพลง
ฟังดูเป็นธรรมชาติอีกด้วย
2. ย้ายจุดสัมผัสให้เป็น เช่น “ฉันโง่ใช่ไหม ที่งมงายยอมทนอย่างนี้เป็นคนดีที่เธอไม่แคร์ ตามใจเธอ ไม่
เห็นเธอดูแล มีแต่ทาให้ช้าใจ อยู่ได้ทุกวัน ฉันโง่ใช่ไหม ที่ยังคงงมงายอย่างนี้ยอมเป็นคนที่เธอไม่
แคร์" เลื่อนสัมผัสก็เป็นอีกวิธีนึงครับ ที่เราจะสร้างสรรค์ประโยค อย่างที่เราอยากได้ยินได้
3. เลือกใช้สระง่ายๆ เลือกใช้สระไอ สระอา สระอี สระอา หรือลากเสียงให้ยาวขึ้นเช่น สระไอ เป็น สระ
อาย / อา เป็น อาม / อัน เป้ น อาน เหล่านี้ไม่ใช่กฎข้อบังคับนะครับ แต่เป็นเทคนิคในการเพิ่มตัวเลือกของ
คาสัมผัสให้มากขึ้น ทาให้เรามีคาให้เลือกใช้มากขึ้นครับ
4. อย่าใช้คาซ้าเยอะ ภาษาไทยเรามีข้อดีอย่างหนึ่งครับ คือมีหลายคาที่ให้ความหมายเดียวกัน เราสามารถ
เลือกและหาคาเหล่านั้นมาใช้แทนกันได้เราไม่ควรจะใช้คาซ้าเยอะครับ เพราะจะทาให้เรื่องดูน่าเบื่อ
อย่างเช่นคาว่าพระจันทร์ ก็ยังมีคาว่า เดือน อีก พระอาทิตย์ก็มี ตะวัน ฯลฯ เราสามารถเติมคาเข้าไปใน
คลังคาในสมองของเราก็ด้วยการอ่านหนังสือเยอะๆครับ อ่านเยอะๆ ฟังเยอะๆ เราก็จะมีคาสะสมเยอะ
ช่วยให้เพลงของเรา ดูดีขึ้นอีกจมเลย
5. เขียนถูกโน๊ต (ครบโน๊ต ไม่เพี๊ยน ไม่เหน่อ ถูกคาสั้น-ยาว) เราต้องเขียนให้ถูกโน๊ต ครบ โน๊ต ไม่เพี๊ยน
ไม่เหน่อครับ เราควรจะให้ความเคารพเมโลดี้ ถ้าไม่จาเป็นจริงๆ เราไม่ควรจะแก้เมโลดี้ครับ ยกเว้นในบาง
กรณี เราสามารถเสนอความคิดเห็นเราได้ว่าอยากให้เพิ่มหรือ ลดตรงไหน แต่ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาจะ
แก้เมโลดี้เขาอย่างเดียวนะครับ มันไม่ใช่มารยาท เขียนให้ครบโน๊ตก็คือ ในแต่ละท่อนมีกี่โน๊ต หรือมีเสียง
อยู่กีครั้ง เราก็ควรจะเขียนให้ได้ตามนั้น เช่นในประโยคหนึ่งมี เมโลดี้อยู่ 7 ตัว เราก็ควรจะเขียนให้ได้
เสียงในภาษา 7 เสียง หรือที่เรียกว่า 7 พยางค์ก็ได้
6. คิดคาจากเมโลดี้เด่นๆ เราฟังเมโลดี้ในเพลง เสียงไหนที่มันสะดุดหูเรา เราชอบและเกิดไอเดีย เรา
สามารถเอาตรงนั้นมาขยายเป็นเพลงได้ครับ นี่ก็เป็นอีกเทคนิคหนึ่ง ที่ช่วยให้เราแต่งเพลงง่ายขึ้น
7. คิดท่อน Hook ก่อน อันนี้เป็นวิธีที่ได้ผลค่อนข้างดีกับตัวผมเลยครับ เป็นวิธีของครูผมที่แนะนามา เรา
ฟัง Hook ก่อนเลย จามันให้ขึ้นใจ ฟังเสียงหัว Hook แล้ว List คาออกมาดูว่า คาใดที่น่าสนใจ และเรื่องราว
ที่เราจะมาสร้างต่อมันแข็งแรง ให้เลือกออกมาสร้างเป็นเรื่องและเขียนเป็นเพลง
8. ล้อคา ล้อโน๊ต การล้อคา ล้อโน๊ต จะทาให้เพลง สละสลวยจาง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น เพลง “นินจา”
ของคริสติน่า ตรงท่อน “เดี๋ยวผลุบ เดี่ยวโผล่ ไม่โผล่ ก็ผลุบ ไม่ผลุบ ก็โผล่” โน๊ตค่อนข้างชัดเจน ก็ใช้คา
ล้อโน๊ตตามไปเลย ทาให้เพลง สละสลวย จาง่ายขึ้นด้วย
9. เล่นคา เป็นการเล่นเสียงตัวอักษรหรือคาที่เหมือนกัน เช่นในเพลง “ลานเทสะเทือน” จะเล่นตัวอักษร ท
กับ ถ อย่างในประโยคที่ว่า “เสียงลมพัดตึง เคล้าคลึงยอดตอง คิดถึงเนื้อทอง สาวลั่นทม เจ้าจากลานเท
.....”
10. ใช้คาขัดแย้งกันมาเล่าเรื่อง
11. ใช้สานวน หรือการเปรียบเทียบ การใช้สานวนเปรียบเทียบ ก็คือการที่เรา หาสานวน หรือการ
เปรียบเทียบใส่ไว้ในประโยค ไม่ว่าจะเป็น ทั้งเรื่อง / ทั้งพล็อต ของมัน หรือจะเป็นเฉพาะบางจุด ก็ถือว่า
เป็นอีกทางหนึ่ง ที่หลุดออกจากเพลงเดิมๆได้ครับ เป็นการเพิ่มเสน่ห์ให้กับเพลงอีกด้วย การเปรียบเทียบ
มีหลายอย่าง
12. หาประโยคมีน้าหนัก หรือประโยคเด็ดๆมาไว้ในเพลงบ้าง คือเราควรจะหาคาหรือประโยคเด็ดๆ มา
สอดแทรกในเพลง จะช่วยทาให้เพลงกินใจขึ้นเยอะครับ เช่นเพลง
13. เขียนเป็นธีม (Theme) บางครั้งบางเพลงก็ไม่มีเรื่องราวอะไรมากมาย วิธีหนึ่งที่ทาให้เพลงเราน่าสนใจ
คือใช้วิธีการเขียนแบบเป็น ธีม (Theme) ก็ช่วยเพิ่มสเน่ห์ได้ครับ การเขียนแบบเป็น Theme ก็คือการที่เราเอา
เรื่องนั้นๆ เป็นตัวตั้งต้นเช่นเพลง “น้องเอ๊ย” ก็ถือว่าเป็นการเขียนโดยใช้ Theme
14. เขียนเป็นพล็อต (Plot) เขียนเป็นพล็อต หรือคิดเป็นพล็อต ก็คือการที่เราเขียนเรื่อง หรือสิ่งที่เราอยากจะ
เล่าก่อน โดยที่เราไม่คานึงถึงความยาวหรือสิ่งใดๆเท่าไหร่ แล้วเราค่อยมาดูใจความ หรืออะไรสักอย่างที่
อาจจะพบเจอ “ของดี” ในขณะที่เราเล่าไปเรื่อยๆ และเราก็หยิบหรือเอาจุดนั้นมาเป็นเพลง บางทีเราอาจจะ
กาหนดเหมือนเรื่องสั้น หรือหนังเรื่องหนึ่งไปเลยก็ได้ว่าเรื่องของเรามีกี่คนคนไหนรักคนไหน อะไรเกิดขึ้น
บ้าง เรื่องเป็นอย่างไร แล้วเราค่อยตัดทอนเอา หรือสรุปเอามาใช้ พล็อตมันสาคัญตรงที่ ถ้าคุณได้พล็อตที่
แข็งแรง และเคลียร์ ก็จะง่ายต่อการเขียน แต่ถ้าพล็อตไม่ชัด ก็จะไม่มีประเด็นในการเล่าเรื่อง เราต้องยอมรับ
ว่า เพลงก็คือการสื่อสารชนิดหนึ่ง ในวงกว้าง ถ้าเรื่องมันไม่เป็น Mass คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจ ก็ถือว่าเพลงนั้น
ไม่ดี ไม่ประสบความสาเร็จในการสื่อสาร เพราะฉะนั้นแล้ว พล็อตก็เป็นเรื่องสาคัญเรื่องหนึ่ง ที่เราไม่ควร
มองข้าม
15. อ่านอารมณ์ของเมโลดี้ เราต้องฟังเมโลดี้ แล้วอ่านอารมณ์ให้ออกครับ ว่ามันเป็นเพลงด้านไหน บวก
(เพลงสนุก มีความสุข) หรือ ลบ (เพลงที่เศร้า แค้น เสียใจ) หรือกลางๆ เพลงที่ บวก หรือ ลบ จะไม่ยาก
เท่าไหร่ เพราะจะชัดเจนเลยว่าเพลงไปทิศทางไหน สุข หรือ เศร้าแต่เพลงที่มักจะมีปัญหาสาหรับนักแต่ง
เพลงใหม่ๆก็คือเพลง กลางๆ เพราะว่า มันสามารถฟังไปทาง สุขเหงาๆ เศร้าๆเหงาๆหรือ คิดถึงแบบเหงาๆ
ได้แต่จริงๆแล้ว เพลงไม่กี่เพลงเท่านั้นครับ เป็นได้ทั้ง 2 ทาง เพลงส่วนมากที่ออกกลางๆ จะมีทิศทางของ
มันอยู่แล้ว เราต้องใช้ประสบการณ์ ตีโจทย์ให้ออกครับ ว่าเพลงมันไปทางไหน จากนั้น ก็ต้องหาเรื่องและ
ระดับคาที่พอดีกับเพลง ตรงนี้เทคนิคที่จะอ่านอารมณ์ให้ออก ต้องอาศัยความรู้เรื่องดนตรีบ้างครับแต่หากไม่
มีความรู้เรื่องดนตรี ก็ต้องลองหลับตาฟังแล้ววัดดวงเอา เรื่องแบบนี้มีผิดถูกได้เป็นเรื่องปรกติ ผมมองว่าต้อง
อาศัยประสบการณ์ถึงจะอ่านได้ขาด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเราก็ต้องฟังโปรดิวเซอร์นะครับ ว่าต้องการเพลง
ประมาณไหน ทิศทางไหน ถือเอาการคุยกัน การประชุมกันเป็นสาคัญ เพราะเมื่อเมโลดี้ออกมาแล้ว เราคิดว่า
เป็นอารมณ์หนึ่ง แต่การเรียบเรียง หรือ Arrange เพลง เมื่อเสร็จแล้ว อาจจะออกมาแล้วให้ความรู้สึกอีก
อารมณ์นึงเลยก็ได้
16. วางแผนการเล่าเรื่อง เรื่องนี้เป็นหัวใจสาคัญเลยก็ว่าได้ครับ เนื่องจากอย่างที่เคยว่าไว้เพลงถือเป็นการ
สื่อสารชนิดหนึ่ง เมื่อเราสื่อสารในวงกว้าง เพลงจึงควรจะเป็นเรื่องที่ทุกคน หรือคนส่วนมากเข้าใจได้ไม่ใช่
ว่าเข้าใจอยู่เพียงคนเดียว หรือเข้าใจเพียงเฉพาะบางกลุ่ม ยกเว้นว่า เราทาเพลง หรือแต่งเพลงเพื่อฟังคนเดียว
หรือเฉพาะกลุ่มนั้นๆ แต่ถ้าหากเราต้องการสื่อสารให้คนส่วนมากเข้าใจ การวางแผนการเล่าเรื่องเป็นสิ่ง
สาคัญ
สรุปแล้ว การแต่งเพลงนั้นต้องเขียนยังไงถึงโดน เขียนยังไงถึงดังเป็นเพลงฮิตนั้น เรื่องนี้คงสอนกันไม่ได้
แต่เรื่องการเล่นดนตรีนั้นสอนกันได้ทุกอย่างไม่ใช่พรสววรค์จะเป็นตัวกาหนดทั้งหมด แต่การสังเกตตัวคุณ
เองนั้นเป็นการสอนตัวเองที่ดีที่สุด แต่ไม่ใช่การไปเรียนแต่งเพลงจะไม่ดี เพราะอย่างน้อยมันก็อาจจะช่วยทา
ให้คุณจัดระเบียบและวิธีคิดในการเรียบเรียงความสาคัญในเรื่องเรื่องนั้นที่คุณอยากจะเล่าออกมาได้แต่มัน
ไม่ใช่การไปเรียนนั้นจะทาให้คุณเป็นนักแต่งเพลงที่เก่ง หรือ เป็นเจ้าของเพลงฮิตได้
เริ่มจากวันนี้ถ้าคุณคิดว่าคุณอยากเป็นนักแต่งเพลง ขอให้ลองพูดคุยกับเพื่อนๆ หรือ คนในครอบครัวคุณ
ก่อน ลองเล่าเรื่องราวง่ายๆ ให้เขาฟัง ลองดูอาการและสอบถามถึงสาระที่คุณพยายามจะสื่อออกไป ว่ามันทา
ให้เขาเหล่านั้นประทับใจหรืออยากจะฟังมันอีกซ้าๆเชื่อว่าทุกคนเป็นนักแต่งเพลงได้ถ้าคุณพูดภาษาไทยได้
ถ้าคุณเขียนภาษาไทยได้ถ้าคุณสร้างความประทับใจให้หลายๆ คนจากคาพูดคุณได้และ ถ้าคุณเป็นคนพูดรู้
เรื่อง
โครงงานการสืบค้นข้อมูล เรื่องนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกคนที่อยากจะ
เป็น “นักแต่งเพลง” ด้วยใจรักในเสียงเพลง และ หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อ
zomyoop
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 

La actualidad más candente (19)

ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

Similar a แต่งเพลง

Similar a แต่งเพลง (8)

นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 

แต่งเพลง

  • 1. บทคัดย่อ โครงงานการสืบค้นข้อมูล “ ขอสักเพลง” ผู้จัดทา นางสาว สโรชา อนทวงศ์ ม.6/1 เลขที่ 10 ข้อมูลอ้างอิง 1.เรื่อง แต่งเพลง http://wentali.exteen.com/20101011/entry-1 สาระสาคัญของการแต่งเพลงคือการเล่าเรื่องเรื่องหนึ่งที่มันแสนจะธรรมดาให้คนคนหนึ่งประทับใจและ อินไปกับมัน ในความหมายของเรื่องธรรมดาๆ นั้นคือ อาจจะเป็นเรื่องความรักของคุณในสักช่วงชีวิตหนึ่ง ซึ่งที่ยกตัวอย่างแบบนี้เพราะเรื่องความรักมักจะเป็นเรื่องที่ถูกนามาเขียนบ่อยที่สุดในจานวนเนื้อหาเพลงทั้ง โลก หรือถ้าคุณรันทดในเรื่องความรักจริงๆ ก็ลองเล่าเรื่องเรื่องหนึ่งเพื่อให้เพื่อนคุณสักคนมีกาลังใจในการ ต่อสู้กับชีวิตของเขาต่อไป ซึ่งถ้ามันทาให้เพื่อนคุณคนนั้นอินและมีกาลังใจขึ้นมาได้นั่นก็คือคุณก็มีแววจะ เป็นนักแต่งเพลงได้ แต่ในอีกมุมนึงการแต่งเพลงก็มีหลายรูปแบบ ถ้าคุณเป็นคนที่อยากแต่งเพลงแบบแต่ง ทั้งเนื้อทั้งทานองด้วยกัน ความรู้เรื่องดนตรี ทักษะในด้านการเล่นดนตรีก็สาคัญขึ้นมาทันที อย่างเช่นพี่เสก โลโซ พี่เสือ ธนพล เทคนิคในการแต่งเพลง 1. ควรเขียนให้มีสัมผัส จริงๆแล้วในปัจจุบัน เพลงที่คานึงถึงสัมผัสมีน้อยลงมากครับ เดี๋ยวนี้ มีแต่เพลง ที่แต่งตามใจฉันไม่สนใจสัมผัส ทั้งที่การมีสัมผัส ช่วยให้เพลงจาง่าย ฟังลื่นไหลเป็นธรรมชาติ อันนี้ ผมเดาว่า เป็นเพราะรูปแบบของคนสมัยนี้เปลี่ยนไปคนที่เข้าใจในเรื่องสัมผัสมีน้อยลง จึงไม่คิดว่ามัน เป็นเรื่องสาคัญและไม่ให้ความสนใจ ซึ่งมันก็ไม่ใช่เรื่องผิดครับ ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย เพลงที่เพราะหลายๆเพลง ก็ไม่มีสัมผัสเช่นกัน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ความจริงในเรื่องของคาสัมผัส ช่วยให้ จาง่ายและฟังลื่นไหล ก็ยังคงเป็นความจริงอยู่ดี และผมคิดว่า นี่ก็เป็นเทคนิคอย่างหนึ่ง ที่ทาให้เพลง ฟังดูเป็นธรรมชาติอีกด้วย 2. ย้ายจุดสัมผัสให้เป็น เช่น “ฉันโง่ใช่ไหม ที่งมงายยอมทนอย่างนี้เป็นคนดีที่เธอไม่แคร์ ตามใจเธอ ไม่ เห็นเธอดูแล มีแต่ทาให้ช้าใจ อยู่ได้ทุกวัน ฉันโง่ใช่ไหม ที่ยังคงงมงายอย่างนี้ยอมเป็นคนที่เธอไม่ แคร์" เลื่อนสัมผัสก็เป็นอีกวิธีนึงครับ ที่เราจะสร้างสรรค์ประโยค อย่างที่เราอยากได้ยินได้
  • 2. 3. เลือกใช้สระง่ายๆ เลือกใช้สระไอ สระอา สระอี สระอา หรือลากเสียงให้ยาวขึ้นเช่น สระไอ เป็น สระ อาย / อา เป็น อาม / อัน เป้ น อาน เหล่านี้ไม่ใช่กฎข้อบังคับนะครับ แต่เป็นเทคนิคในการเพิ่มตัวเลือกของ คาสัมผัสให้มากขึ้น ทาให้เรามีคาให้เลือกใช้มากขึ้นครับ 4. อย่าใช้คาซ้าเยอะ ภาษาไทยเรามีข้อดีอย่างหนึ่งครับ คือมีหลายคาที่ให้ความหมายเดียวกัน เราสามารถ เลือกและหาคาเหล่านั้นมาใช้แทนกันได้เราไม่ควรจะใช้คาซ้าเยอะครับ เพราะจะทาให้เรื่องดูน่าเบื่อ อย่างเช่นคาว่าพระจันทร์ ก็ยังมีคาว่า เดือน อีก พระอาทิตย์ก็มี ตะวัน ฯลฯ เราสามารถเติมคาเข้าไปใน คลังคาในสมองของเราก็ด้วยการอ่านหนังสือเยอะๆครับ อ่านเยอะๆ ฟังเยอะๆ เราก็จะมีคาสะสมเยอะ ช่วยให้เพลงของเรา ดูดีขึ้นอีกจมเลย 5. เขียนถูกโน๊ต (ครบโน๊ต ไม่เพี๊ยน ไม่เหน่อ ถูกคาสั้น-ยาว) เราต้องเขียนให้ถูกโน๊ต ครบ โน๊ต ไม่เพี๊ยน ไม่เหน่อครับ เราควรจะให้ความเคารพเมโลดี้ ถ้าไม่จาเป็นจริงๆ เราไม่ควรจะแก้เมโลดี้ครับ ยกเว้นในบาง กรณี เราสามารถเสนอความคิดเห็นเราได้ว่าอยากให้เพิ่มหรือ ลดตรงไหน แต่ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาจะ แก้เมโลดี้เขาอย่างเดียวนะครับ มันไม่ใช่มารยาท เขียนให้ครบโน๊ตก็คือ ในแต่ละท่อนมีกี่โน๊ต หรือมีเสียง อยู่กีครั้ง เราก็ควรจะเขียนให้ได้ตามนั้น เช่นในประโยคหนึ่งมี เมโลดี้อยู่ 7 ตัว เราก็ควรจะเขียนให้ได้ เสียงในภาษา 7 เสียง หรือที่เรียกว่า 7 พยางค์ก็ได้ 6. คิดคาจากเมโลดี้เด่นๆ เราฟังเมโลดี้ในเพลง เสียงไหนที่มันสะดุดหูเรา เราชอบและเกิดไอเดีย เรา สามารถเอาตรงนั้นมาขยายเป็นเพลงได้ครับ นี่ก็เป็นอีกเทคนิคหนึ่ง ที่ช่วยให้เราแต่งเพลงง่ายขึ้น 7. คิดท่อน Hook ก่อน อันนี้เป็นวิธีที่ได้ผลค่อนข้างดีกับตัวผมเลยครับ เป็นวิธีของครูผมที่แนะนามา เรา ฟัง Hook ก่อนเลย จามันให้ขึ้นใจ ฟังเสียงหัว Hook แล้ว List คาออกมาดูว่า คาใดที่น่าสนใจ และเรื่องราว ที่เราจะมาสร้างต่อมันแข็งแรง ให้เลือกออกมาสร้างเป็นเรื่องและเขียนเป็นเพลง 8. ล้อคา ล้อโน๊ต การล้อคา ล้อโน๊ต จะทาให้เพลง สละสลวยจาง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น เพลง “นินจา” ของคริสติน่า ตรงท่อน “เดี๋ยวผลุบ เดี่ยวโผล่ ไม่โผล่ ก็ผลุบ ไม่ผลุบ ก็โผล่” โน๊ตค่อนข้างชัดเจน ก็ใช้คา ล้อโน๊ตตามไปเลย ทาให้เพลง สละสลวย จาง่ายขึ้นด้วย 9. เล่นคา เป็นการเล่นเสียงตัวอักษรหรือคาที่เหมือนกัน เช่นในเพลง “ลานเทสะเทือน” จะเล่นตัวอักษร ท กับ ถ อย่างในประโยคที่ว่า “เสียงลมพัดตึง เคล้าคลึงยอดตอง คิดถึงเนื้อทอง สาวลั่นทม เจ้าจากลานเท .....” 10. ใช้คาขัดแย้งกันมาเล่าเรื่อง 11. ใช้สานวน หรือการเปรียบเทียบ การใช้สานวนเปรียบเทียบ ก็คือการที่เรา หาสานวน หรือการ เปรียบเทียบใส่ไว้ในประโยค ไม่ว่าจะเป็น ทั้งเรื่อง / ทั้งพล็อต ของมัน หรือจะเป็นเฉพาะบางจุด ก็ถือว่า
  • 3. เป็นอีกทางหนึ่ง ที่หลุดออกจากเพลงเดิมๆได้ครับ เป็นการเพิ่มเสน่ห์ให้กับเพลงอีกด้วย การเปรียบเทียบ มีหลายอย่าง 12. หาประโยคมีน้าหนัก หรือประโยคเด็ดๆมาไว้ในเพลงบ้าง คือเราควรจะหาคาหรือประโยคเด็ดๆ มา สอดแทรกในเพลง จะช่วยทาให้เพลงกินใจขึ้นเยอะครับ เช่นเพลง 13. เขียนเป็นธีม (Theme) บางครั้งบางเพลงก็ไม่มีเรื่องราวอะไรมากมาย วิธีหนึ่งที่ทาให้เพลงเราน่าสนใจ คือใช้วิธีการเขียนแบบเป็น ธีม (Theme) ก็ช่วยเพิ่มสเน่ห์ได้ครับ การเขียนแบบเป็น Theme ก็คือการที่เราเอา เรื่องนั้นๆ เป็นตัวตั้งต้นเช่นเพลง “น้องเอ๊ย” ก็ถือว่าเป็นการเขียนโดยใช้ Theme 14. เขียนเป็นพล็อต (Plot) เขียนเป็นพล็อต หรือคิดเป็นพล็อต ก็คือการที่เราเขียนเรื่อง หรือสิ่งที่เราอยากจะ เล่าก่อน โดยที่เราไม่คานึงถึงความยาวหรือสิ่งใดๆเท่าไหร่ แล้วเราค่อยมาดูใจความ หรืออะไรสักอย่างที่ อาจจะพบเจอ “ของดี” ในขณะที่เราเล่าไปเรื่อยๆ และเราก็หยิบหรือเอาจุดนั้นมาเป็นเพลง บางทีเราอาจจะ กาหนดเหมือนเรื่องสั้น หรือหนังเรื่องหนึ่งไปเลยก็ได้ว่าเรื่องของเรามีกี่คนคนไหนรักคนไหน อะไรเกิดขึ้น บ้าง เรื่องเป็นอย่างไร แล้วเราค่อยตัดทอนเอา หรือสรุปเอามาใช้ พล็อตมันสาคัญตรงที่ ถ้าคุณได้พล็อตที่ แข็งแรง และเคลียร์ ก็จะง่ายต่อการเขียน แต่ถ้าพล็อตไม่ชัด ก็จะไม่มีประเด็นในการเล่าเรื่อง เราต้องยอมรับ ว่า เพลงก็คือการสื่อสารชนิดหนึ่ง ในวงกว้าง ถ้าเรื่องมันไม่เป็น Mass คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจ ก็ถือว่าเพลงนั้น ไม่ดี ไม่ประสบความสาเร็จในการสื่อสาร เพราะฉะนั้นแล้ว พล็อตก็เป็นเรื่องสาคัญเรื่องหนึ่ง ที่เราไม่ควร มองข้าม 15. อ่านอารมณ์ของเมโลดี้ เราต้องฟังเมโลดี้ แล้วอ่านอารมณ์ให้ออกครับ ว่ามันเป็นเพลงด้านไหน บวก (เพลงสนุก มีความสุข) หรือ ลบ (เพลงที่เศร้า แค้น เสียใจ) หรือกลางๆ เพลงที่ บวก หรือ ลบ จะไม่ยาก เท่าไหร่ เพราะจะชัดเจนเลยว่าเพลงไปทิศทางไหน สุข หรือ เศร้าแต่เพลงที่มักจะมีปัญหาสาหรับนักแต่ง เพลงใหม่ๆก็คือเพลง กลางๆ เพราะว่า มันสามารถฟังไปทาง สุขเหงาๆ เศร้าๆเหงาๆหรือ คิดถึงแบบเหงาๆ ได้แต่จริงๆแล้ว เพลงไม่กี่เพลงเท่านั้นครับ เป็นได้ทั้ง 2 ทาง เพลงส่วนมากที่ออกกลางๆ จะมีทิศทางของ มันอยู่แล้ว เราต้องใช้ประสบการณ์ ตีโจทย์ให้ออกครับ ว่าเพลงมันไปทางไหน จากนั้น ก็ต้องหาเรื่องและ ระดับคาที่พอดีกับเพลง ตรงนี้เทคนิคที่จะอ่านอารมณ์ให้ออก ต้องอาศัยความรู้เรื่องดนตรีบ้างครับแต่หากไม่ มีความรู้เรื่องดนตรี ก็ต้องลองหลับตาฟังแล้ววัดดวงเอา เรื่องแบบนี้มีผิดถูกได้เป็นเรื่องปรกติ ผมมองว่าต้อง อาศัยประสบการณ์ถึงจะอ่านได้ขาด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเราก็ต้องฟังโปรดิวเซอร์นะครับ ว่าต้องการเพลง ประมาณไหน ทิศทางไหน ถือเอาการคุยกัน การประชุมกันเป็นสาคัญ เพราะเมื่อเมโลดี้ออกมาแล้ว เราคิดว่า เป็นอารมณ์หนึ่ง แต่การเรียบเรียง หรือ Arrange เพลง เมื่อเสร็จแล้ว อาจจะออกมาแล้วให้ความรู้สึกอีก อารมณ์นึงเลยก็ได้
  • 4. 16. วางแผนการเล่าเรื่อง เรื่องนี้เป็นหัวใจสาคัญเลยก็ว่าได้ครับ เนื่องจากอย่างที่เคยว่าไว้เพลงถือเป็นการ สื่อสารชนิดหนึ่ง เมื่อเราสื่อสารในวงกว้าง เพลงจึงควรจะเป็นเรื่องที่ทุกคน หรือคนส่วนมากเข้าใจได้ไม่ใช่ ว่าเข้าใจอยู่เพียงคนเดียว หรือเข้าใจเพียงเฉพาะบางกลุ่ม ยกเว้นว่า เราทาเพลง หรือแต่งเพลงเพื่อฟังคนเดียว หรือเฉพาะกลุ่มนั้นๆ แต่ถ้าหากเราต้องการสื่อสารให้คนส่วนมากเข้าใจ การวางแผนการเล่าเรื่องเป็นสิ่ง สาคัญ สรุปแล้ว การแต่งเพลงนั้นต้องเขียนยังไงถึงโดน เขียนยังไงถึงดังเป็นเพลงฮิตนั้น เรื่องนี้คงสอนกันไม่ได้ แต่เรื่องการเล่นดนตรีนั้นสอนกันได้ทุกอย่างไม่ใช่พรสววรค์จะเป็นตัวกาหนดทั้งหมด แต่การสังเกตตัวคุณ เองนั้นเป็นการสอนตัวเองที่ดีที่สุด แต่ไม่ใช่การไปเรียนแต่งเพลงจะไม่ดี เพราะอย่างน้อยมันก็อาจจะช่วยทา ให้คุณจัดระเบียบและวิธีคิดในการเรียบเรียงความสาคัญในเรื่องเรื่องนั้นที่คุณอยากจะเล่าออกมาได้แต่มัน ไม่ใช่การไปเรียนนั้นจะทาให้คุณเป็นนักแต่งเพลงที่เก่ง หรือ เป็นเจ้าของเพลงฮิตได้ เริ่มจากวันนี้ถ้าคุณคิดว่าคุณอยากเป็นนักแต่งเพลง ขอให้ลองพูดคุยกับเพื่อนๆ หรือ คนในครอบครัวคุณ ก่อน ลองเล่าเรื่องราวง่ายๆ ให้เขาฟัง ลองดูอาการและสอบถามถึงสาระที่คุณพยายามจะสื่อออกไป ว่ามันทา ให้เขาเหล่านั้นประทับใจหรืออยากจะฟังมันอีกซ้าๆเชื่อว่าทุกคนเป็นนักแต่งเพลงได้ถ้าคุณพูดภาษาไทยได้ ถ้าคุณเขียนภาษาไทยได้ถ้าคุณสร้างความประทับใจให้หลายๆ คนจากคาพูดคุณได้และ ถ้าคุณเป็นคนพูดรู้ เรื่อง โครงงานการสืบค้นข้อมูล เรื่องนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกคนที่อยากจะ เป็น “นักแต่งเพลง” ด้วยใจรักในเสียงเพลง และ หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย