SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 119
Descargar para leer sin conexión
แผนการดาเนินงานและงบประมาณ
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
สิงหาคม ๒๕๖๒
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๒
สารบัญ
หน้า
๑. บทสรุปผู้บริหาร ๓
๒. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลัก ๕
๓. เป้าหมายการดาเนินงานปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ๖
๔. กลยุทธ์ สวทช. ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๗ ๖
๕. สรุปผลดาเนินงานที่สาคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๗
๖. แผนและเป้าหมายการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๔
๖.๑ กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ๑๔
๖.๒ กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Research Development Innovation : RDI) ๖๓
๖.๓ กลุ่มสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ๙๐
๖.๔ กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน ๙๔
๖.๕ กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม ๙๖
๖.๖ กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย
๖.๗ กลุ่มบริหาร สนับสนุน และบริการกลาง (Shared Services)
๑๐๔
๑๐๖
๗. แผนทรัพยากรประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐๙
๗.๑ บุคลากร ๑๐๙
๗.๒ งบประมาณ ๑๐๙
๘. เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สาคัญของ สวทช. ปี ๒๕๖๓ ๑๑๔
๘.๑ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สาคัญของ สวทช. ๑๑๔
๘.๒ ค่าเป้าหมายการปฏิบัติงานที่ได้ตกลงไว้กับหน่วยงานภายนอก ๑๑๕
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๓
๑. บทสรุปผู้บริหาร
สวทช. ดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ ๖ (ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ซึ่งได้รับอนุมัติจาก
คณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ และมีกาหนดการ
เสนอแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๓ (ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๗) เพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๒ โดยสาระสาคัญของแผนกลยุทธ์
ฉบับทบทวนนี้ สวทช. มุ่งเน้นการวิจัยและสร้างนวัตกรรมในสาขาที่ สวทช. มีความเชี่ยวชาญ และพัฒนา
ขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของ สวทช. ในสาขาที่ตอบสนองต่อโจทย์ประเทศ และรองรับแนวโน้มการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต รวมถึงการผลักดันให้ภาครัฐและเอกชนมีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาและ
สร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้วยการปรับปรุงกลไกสนับสนุนการลงทุนในด้านนวัตกรรม สร้างการเชื่อมโยงกับพันธมิตร
ในภูมิภาค ภาคี สถาบันการศึกษา ในการนา วทน. ไปขยายผลในภูมิภาค สร้าง showcase ของประเทศในพื้นที่
EECi, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้ ตลอดจนเพิ่มสมรรถภาพในการปรับตัวขององค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
ผลการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน สวทช. มีผลดาเนินการตามตัวชี้วัด
ที่สาคัญ ได้แก่ (๑) สร้างมูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้
ประโยชน์ จานวน ๒๐,๘๑๕ ล้านบาท หรือ ๓.๐๙ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ (๒) การพัฒนาเขต
นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) ร้อยละ ๗๔.๐๗ ของแผน (๓) มีสัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย
เท่ากับร้อยละ ๑๗.๘๔ (๔) ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการนาไปใช้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๗.๙๒ จากปีที่ผ่านมา
(๕) มีการปรับ สวทช. เข้าสู่โครงสร้างกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๔๙.๒๕ ของแผน (๖) มีความสามารถขององค์กร
ในการบริหาร กากับและประเมินผล ที่สอดคล้องกับระบบของกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๖๙.๕๐ ของแผน
แผนการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามกลุ่มภารกิจของ สวทช. ดังนี้ (๑) กลุ่มวิจัย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) การสร้างขีดความสามารถการพัฒนาเทคโนโลยีในสาขาที่มีความ
เชี่ยวชาญให้อยู่ในระดับแนวหน้า เพื่อนาไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับภาคอุตสาหกรรม หรือตอบโจทย์การพัฒนา
ประเทศด้วยการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรม ใน ๕ สาขาเทคโนโลยีหลัก (Research Pillars) ได้แก่
(๑) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) (๒) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์
และวิศวกรรม (Materials and Engineering Technology) (๓) เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศ
(Electronics and Information Technology) (๔) นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี (Nanoscience and
Nanotechnology) และ (๕) เทคโนโลยีพลังงาน (Energy Technology) ร่วมกับกลุ่มเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์
ความต้องการประเทศในปัจจุบัน (Agenda–based) ได้แก่ (๑) การพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์และเทคโนโลยี
สิ่งอานวยความสะดวก (Medical Devices and Assistive Technology) และ (๒) เทคโนโลยีที่ใช้ได้ทั้งแง่มุมสร้าง
เสริมความมั่นคงของประเทศ (Dual-Use Technology) ตลอดจนการพัฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (National S & T Infrastructure) และโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพ
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๔
ของประเทศ (National Quality Infrastructure) (๒) กลุ่มบริหาร การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Research
Development Innovation : RDI) เป็นกลุ่มสนับสนุนและบริหารงานวิจัยขนาดใหญ่ เพื่อตอบโจทย์หรือแก้ปัญหา
ที่สาคัญของประเทศใน ๑๐ กลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย หรือ Technology Development Groups (๑๐ TDGs)
รวมทั้งผลักดันให้เกิดการใช้นวัตกรรมตามความต้องการของรัฐ พัฒนาโจทย์วิจัยร่วมกับบริษัทขนาดใหญ่/บริษัท
ข้ามชาติ/รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพการวิจัยและส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย (๓) กลุ่มสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนากลไกใหม่ ๆ เพื่อสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมสาหรับผู้ประกอบการ
(๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน การพัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ด้วยองค์ความรู้ด้าน วทน.
เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในชุมชนแบบองค์รวม ผ่านกลไกความร่วมมือกับภาครัฐในท้องถิ่น อาทิ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (อปท.) และมหาวิทยาลัยเชิงพื้นที่ เป็นต้น (๕) กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม บริหารจัดการ
และพัฒนากลไกการดาเนินงานในเขตนวัตกรรมของประเทศ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย
ในการจัดตั้งเขตนวัตกรรมแต่ละแห่งที่เกิดขึ้น (๖) กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย การพัฒนาและส่งเสริม
ผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว และ ท) เพิ่มจานวนบุคลากรวิจัยโดยการพัฒนาและ
ส่งเสริมอาชีพนักวิจัย รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กและเยาวชนที่สนใจเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (๗) กลุ่มบริหาร
สนับสนุน และบริการกลาง (Shared Services) สนับสนุนการดาเนินงานของ สวทช. ภายใต้ภารกิจ และ
โครงสร้างที่เปลี่ยนไป เพื่อให้เกิดการบริหารแบบระบบการจัดการหลายระบบ (Multi-management System)
เพื่อให้การบริหารองค์กรดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ คล่องตัว และเกิดประสิทธิผลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สวทช. มีแผนงบประมาณรายจ่าย จานวน ๙,๕๗๗ ล้านบาท แยกเป็นรายจ่าย
ค่าบุคลากร ๒,๔๐๖ ล้านบาท รายจ่ายเพื่อการดาเนินงาน ๔,๙๗๑ ล้านบาท และรายจ่ายค่าก่อสร้างและครุภัณฑ์
อุดหนุนเฉพาะกิจ ๒,๒๐๐ ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีแผนงบประมาณรายจ่ายสารองอื่นๆ เช่น เงินการลงทุนใน
บริษัทร่วมทุน Holding Company เงินกู้ดอกเบี้ยต่า เงินเพิ่มพิเศษ และรายจ่ายฉุกเฉิน จานวน ๖๔๖ ล้านบาท
คาดการณ์รายรับจากการดาเนินงานของ สวทช. จานวน ๒,๕๐๐ ล้านบาท และมีแผนอัตรากาลังคน จานวน
๓,๓๘๐ คน โดยมีเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สาคัญของ สวทช. ในปี ๒๕๖๓ ตามแพลตฟอร์มภายใต้ยุทธ์ศาสตร์
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ดังนี้ แพลตฟอร์มที่ ๑ การพัฒนากาลังคนและ
สถาบันความรู้ (๑) จานวนบุคลากรภาคอุตสาหกรรมที่ได้รับการ Reskill ๒๒๐ หลักสูตร ๑๓,๐๐๐ คน-วัน (๒)
จานวนนักศึกษา ปริญญาโท/เอก ที่ร่วมทางานวิจัยกับ สวทช. ๒๒๐ คน แพลตฟอร์มที่ ๒ การตอบโจทย์ท้าทาย
ของสังคม (๓) สัดส่วนทรัพย์สินทางปัญญาต่อบุคลากรวิจัย ๒๗ คาขอ/๑๐๐ คน/ปี แพลตฟอร์มที่ ๓ การเพิ่มขีด
ความสามารถการแข่งขัน (๔) มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไป
ใช้ประโยชน์ ๓๔,๘๐๐ ล้านบาท (๕) มูลค่าการลงทุนด้าน ว และ ท ในภาคการผลิต ภาคบริการ และภาค
เกษตรกรรม ๒๑,๕๐๐ ล้านบาท (๖) จานวนผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอนาคต ๒๐๐ ราย (๗) การให้บริการ
วิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสากล ๓,๕๐๐ รายการ (๘) นวัตกรรมใหม่ที่นาไปสู่เชิงพาณิชย์ ๓๐๐ Active
Licenses และแพลตฟอร์มที่ ๔ การพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้า (๙) การนาผลงานวิจัยและองค์ความรู้
ไปประยุกต์ใช้ในภาคเกษตรกรรมและสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ๘๐ เรื่อง ๘,๐๐๐ คน
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๕
๒. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลัก
๑ วิสัยทัศน์
สวทช. เป็นพันธมิตรร่วมทางที่ดีสู่สังคมฐานความรู้ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒. พันธกิจ
สวทช. มุ่งสร้างเสริมการวิจัย พัฒนา ออกแบบ และวิศวกรรม จนสามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์
พร้อมส่งเสริมด้านการพัฒนากาลังคน และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จาเป็น เพื่อสร้าง
ขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยจัดให้มีระบบบริหารจัดการภายในที่มี
ประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน
๓. ค่านิยมหลัก
N = Nation First คานึงถึงประโยชน์ของชาติและส่วนรวมเป็นหลัก มีจิตสานึกและ
ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเสียสละ คิดถึงทิศทางของส่วนรวม
S = Science and Technology Excellence การยึดมั่นในการสร้างความเป็นเลิศในทุกสิ่งที่ทา อันเกิดจากการ
ใฝ่รู้ ริเริ่มและสร้างสรรค์ ด้วยมาตรฐานสูงสุด
T = Team Work การทางานเป็นทีมที่พร้อมช่วยเหลือกัน ด้วยความเข้าใจห่วงใย
ซึ่งกันและกัน และการสื่อสารสองทางเพื่อเป้าหมายเดียวกัน
กล้าวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ เปิดใจ รับฟัง มีน้าใจ ห่วงใย พร้อม
แบ่งปัน
D = Deliverability ความมุ่งมั่นที่จะส่งมอบงานที่มีคุณภาพ ตรงตามคามั่นสัญญาเพื่อ
ความพึงพอใจของลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก มุ่งเน้นผลลัพธ์
มีความมุ่งมั่น กระตือรือร้น ยึดถือคามั่นสัญญา มีความคล่องตัว
A = Accountability and Integrity เป็นมากกว่าความรับผิดชอบ เพราะหมายถึง ความมีจริยธรรม
โปร่งใส มีวินัยต่อกฎระเบียบ กติกา กล้ายืนหยัด ทาในสิ่งที่ถูกต้อง
และความซื่อสัตย์ต่อองค์กรและสายงานอาชีพ
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๖
๓. เป้าหมายการดาเนินงานปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
 สร้างผลงานวิจัยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศคิดเป็นมูลค่าไม่ต่ากว่า ๕ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของ สวทช. ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
 ผลักดันให้เกิดการลงทุนในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของภาคการผลิต ภาคบริการ และ
ภาคเกษตรกรรม เพิ่มขึ้นเป็น ๒ เท่าของการลงทุน ปี ๒๕๕๙
๔. กลยุทธ์ สวทช. ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๗
๑. วิจัยและสร้างนวัตกรรมในสาขาที่ สวทช. มีความเชี่ยวชาญ และพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี
ของ สวทช. ในสาขาที่ตอบสนองต่อโจทย์ประเทศ และรองรับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ในอนาคต ผ่านกลไกการบริหารงานวิจัย กลไกการสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศ และกลไกสื่อสาร
ด้าน วทน. ที่มีประสิทธิภาพ
๒. ผลักดันให้ภาครัฐและเอกชนมีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้วยการ
ปรับปรุงกลไกสนับสนุนการลงทุนในด้านนวัตกรรม อาทิ กลไก startup/spin-off, holding co., ITAP,
TTRS กลไกบัญชีนวัตกรรม กลไก RDI for government demand กลไกเชื่อมโยงกับบริษัทในเขต
นวัตกรรมต่าง ๆ ของ สวทช. และ BOI
๓. เชื่อมโยงกับพันธมิตรในภูมิภาค ภาคี สถาบันการศึกษา ในการนา วทน. ไปขยายผลในภูมิภาค
สร้าง showcase ของประเทศในพื้นที่ EECi, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้ ผ่านกลไก อาทิ
การจัดตั้ง national research lab ในภูมิภาค เขตนวัตกรรมต่าง ๆ (EECi, TSP, SWP, RSPs, FI, etc.)
การเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมหาวิทยาลัยในพื้นที่ กลไกพัฒนาบุคลากรวิจัย
๔. เพิ่มสมรรถภาพในการปรับตัวขององค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เช่น การปรับเพิ่มรายได้จาก
แหล่งอื่นเพื่อลดการพึ่งพางบประมาณแผ่นดิน ระบบบริหารคุณภาพงานวิจัย ระบบการประเมินผล
ให้เชื่อมโยงกับลักษณะการสร้างงาน การเตรียมกาลังคน การสร้างเส้นทางอาชีพ รวมถึงการเสริมสร้าง
ความผูกพันของบุคลากร และการมีส่วนร่วม
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๗
๕. สรุปผลดาเนินงานที่สาคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สวทช. ดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๒ (พ.ศ. ๒๕๖๒ -
๒๕๖๖) มุ่งเน้นการดาเนินงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) โดยดาเนินงานร่วมกับพันธมิตร
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสร้างนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์และ
เชื่อมโยงผลงานวิจัยและพัฒนาตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ประเทศ พร้อมสร้างความเข้มแข็งระบบบริหารจัดการภายใน
เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ สร้างและสะสมองค์ความรู้และนวัตกรรมขององค์กร เพื่อสร้างผลงานที่นาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ก่อให้เกิดผลกระทบในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน ตามตัวชี้วัดเป้าหมายของแผนกลยุทธ์
(๑) มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ๔.๖ เท่า
ของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยปี ๒๕๖๐-๒๕๖๒ หรือประมาณ ๓๐,๐๐๐ ล้านบาท (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) มีคอนซอร์เทียมใน BIOPOLIS, ARIPOLIS และ SPACE INNOPOLIS
ไม่น้อยกว่า ๖ คอนซอร์เทียม นาต้นแบบระบบเกษตรสมัยใหม่ไปใช้ใน ๕๐ ชุมชน พัฒนาบุคลากรภาคเกษตรให้เป็น
เกษตรกรสมัยใหม่ ๘๐ คน พัฒนาบุคลากรวิจัยและนักเรียนในพื้นที่ ๒,๐๐๐ คน และยกระดับความสามารถ
เทคโนโลยี SMEs และ startup ในพื้นที่ ๑๐๐ ราย (๓) สัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕
(๔) ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการนาไปใช้ประโยชน์ มีจานวนสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ์สะสม เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๐
จากปีที่ผ่านมา (๕) การปรับ สวทช. เข้าสู่กระทรวงใหม่ มีกลไกการกากับดูแลที่สอดคล้องกับหลักการของ
กระทรวงใหม่ และ (๖) ความสามารถขององค์กรในการบริหาร กากับและประเมินผล ที่สอดคล้องกับกระทรวงใหม่
มีการทางานแบบบูรณาการ (cross-discipline) โดย ณ สิ้นเดือนมิถุนายน ๒๕๖๒ (๙ เดือน) สวทช.
มีผลการดาเนินงานที่สาคัญโดยสรุปตามกลุ่มภารกิจ ดังนี้
๑. กลุ่มวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) แบ่งการดาเนินงานออกเป็น
(๑) การพัฒนาขีดความสามารถด้าน วทน. ของ ๕ หน่วยวิจัยหลักที่เป็นความเชี่ยวชาญของ สวทช.
(Research Pillars) และ ๒ หน่วยวิจัยเพื่อตอบโจทย์อุตสาหกรรมที่มุ่งเน้น (Focus Center)
ซึ่งประกอบด้วย ๑๒ Research Sub Pillars และ ๒๘ Research Groups จากการดาเนินงาน สวทช.
มีบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่มี SCIE ๑๑๑ ฉบับ มีการยื่นขอจดทรัพย์สินทางปัญญา
๑๔๔ คาขอ ผลงานวิจัยและนักวิจัยของ สวทช. ได้รับรางวัลและเกียรติยศ ๔๓ รางวัล สร้างมูลค่า
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ๒๐,๘๑๕ ล้านบาท รวมถึงผลักดันให้เกิดการลงทุนด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรมของภาคการผลิตและบริการ ๒,๔๓๓ ล้านบาท โดยมีตัวอย่างผลงานวิจัยฯ ดังนี้
- เทคโนโลยีการปรับปรุงการผลิตไข่พาสเจอร์ไรส์ ไบโอเทค สวทช. ร่วมกับบริษัทเอกชนศึกษา
ผลกระทบของปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสมบัติทางเคมี กายภาพ และสมบัติ
เชิงหน้าที่ของผลิตภัณฑ์ไข่ขาวเหลว ไข่รวมเหลว และไข่แดงเหลว อาทิ สมบัติการเกิดเจล สมบัติ
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๘
การเกิดฟอง และสมบัติด้านอิมัลชัน เพื่อให้สามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตไข่พาสเจอร์ไรส์ได้อย่าง
เหมาะสม และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่มีความหลากหลาย จากองค์ความรู้
ดังกล่าวสามารถนาไปต่อยอด เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ไข่ขาวเหลวพาสเจอร์ไรส์ ไข่รวมเหลว
พาสเจอร์ไรส์ ออมเลตพาสเจอร์ไรส์ ออมเลตแช่แข็งไส้กะเพรากุ้ง ออมเลตแช่แข็งไส้ครีมเห็ด และ
ไข่หวานญี่ปุ่น เป็นต้น โดยผลงานวิจัยดังกล่าวช่วยพัฒนามาตรฐานการผลิต รักษาส่วนแบ่งทาง
การตลาด คิดเป็นมูลค่าผลกระทบทางเศรษฐกิจ ๒๓ ล้านบาทต่อปี
- ชุดแบตเตอรี่สาหรับการใช้งานด้านความมั่นคง เนื่องจากการทางานของยุทโธปกรณ์ต้องอาศัย
พลังงานจากแบตเตอรี่เป็นหลัก แต่ปัจจุบันแบตเตอรี่ที่มาพร้อมยุทโธปกรณ์มักชารุดเนื่องจากใช้งาน
มานาน และไม่สามารถจัดซื้อมาทดแทนได้ รวมทั้งยังมีราคาสูง ด้วยเหตุนี้ เอ็มเทค และเนคเทค
สวทช. จึงร่วมกับสานักงานวิจัยและพัฒนาการทางทหารกองทัพบก วิจัยและพัฒนาชุดแบตเตอรี่
ที่สามารถใช้งานแทนแบตเตอรี่ชุดเดิมที่ชารุดได้ โดยมีความจุเพิ่มขึ้น ๓ เท่า ทาให้มีอายุการใช้งาน
ต่อการชาร์จ ๑ ครั้งเพิ่มขึ้นจาก ๑ วันเป็น ๓ วัน ชุดแบตเตอรี่ดังกล่าวผ่านมาตรฐานการทดสอบ
คุณสมบัติ และความปลอดภัยของแบตเตอรี่ รวมถึงมาตรฐานทางการทหาร และมีราคาลดลง
ประมาณ ๔ เท่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการถ่ายทอดเทคโนโลยี
- TPMAP หรือ Thai People Map and Analytics Platform คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการ
พัฒนาคนแบบชี้เป้า ซึ่งพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai Poverty
Map and Analytics Platform) เดิมให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างขึ้นแต่ยังคงความสามารถ
ของระบบเดิมในการชี้เป้าความยากจน โดยเป็นการทางานร่วมกันระหว่าง เนคเทค สวทช. สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม (ดศ.) ด้วยเทคโนโลยี Big Data Analytics ตรวจสอบและดูความสัมพันธ์ของข้อมูลในหลายมิติ
เพื่อจะกาหนดนโยบายและวิธีการให้ความช่วยเหลือที่ถูกกลุ่มเป้าหมาย และตรงกับบริบทของพื้นที่
มากที่สุด รูปแบบของระบบเป็น Analytics Model ทางเศรษฐศาสตร์ที่สามารถบูรณาการข้อมูล
ภาครัฐเพื่อคัดกรองและชี้เป้าผู้ด้อยโอกาส ทาให้ทราบว่าผู้ด้อยโอกาสจริง ๆ เป็นใครและมีจานวน
เท่าใด เพื่อช่วยให้รัฐบาลให้ความช่วยเหลือพื้นฐานในด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ
(การมีงานทาและรายได้) ด้านความเป็นอยู่ และการเข้าถึงบริการรัฐได้ตรงจุดมากที่สุด รวมทั้ง
TPMAP ยังสามารถระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด
ประเทศ ทาให้การแก้ปัญหาความยากจนตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น โดยสามารถเข้าถึงระบบผ่าน
เว็บไซต์ https://www.tpmap.in.th ปัจจุบันมีจังหวัดต่าง ๆ ติดต่อขอใช้ข้อมูล อาทิ จังหวัดปทุมธานี
ที่นาข้อมูลไปใช้ชี้เป้าครัวเรือนที่ยากจน และจังหวัดสมุทรสงครามที่ใช้ข้อมูลเชิงลึกเพื่อลงพื้นที่จริง
แก้ปัญหาความยากจน เป็นต้น
- ไฮโดรเจลอาหารลูกกุ้งสูตรไร้ปลาป่น นาโนเทค สวทช. ร่วมกับบริษัทบานตะไท จากัด วิจัยและ
พัฒนาสูตรอาหารเลี้ยงลูกกุ้งแบบไร้ปลาป่น ใช้เทคโนโลยีการกักเก็บสารสาคัญในโครงสร้างแบบเจล
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๙
เพิ่มความสามารถดูดซึมให้กับลูกกุ้ง ยืดอายุให้ไม่เน่าเสียเร็ว และกระตุ้นการเจริญเติบโตของสัตว์น้า
ตอบโจทย์ความมั่นคงทางอาหารตามข้อกาหนดของสหภาพยุโรป (EU) ที่ลดการใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดิบ
ในการผลิตอาหารสัตว์น้า สูตรอาหารเลี้ยงลูกกุ้งแบบไร้ปลาป่นในรูปแบบไฮโดรเจลนี้ใช้กากถั่ว
แทนปลาป่น ซึ่งกากถั่วเป็นแหล่งโปรตีนที่มีคุณสมบัติตรงตามข้อกาหนดของ EU อีกทั้งยังย่อยง่าย
สามารถดูดซึมได้ทันที พร้อมทั้งสามารถเติมสารสาคัญอื่นและไขมันที่จะช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโต
ของสัตว์น้าได้มากกว่าอาหารที่มีในท้องตลาด นอกจากนี้เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย
กระบวนการผลิตใหม่สามารถเติมกรดอะมิโน เอนไซม์ ฮอร์โมน วัคซีน และโพรไบโอติกส์ ลงไปโดยไม่
สลายไประหว่างกระบวนการผลิตอีกด้วย ปัจจุบันอาหารเลี้ยงลูกกุ้งแบบไร้ปลาป่นในรูปแบบไฮโดรเจล
มีวางจาหน่ายแล้ว การพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าวช่วยให้ผู้ประกอบการไทยสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ
เข้าถึงตลาดใหม่ และขายได้ในราคาสูงขึ้น โดยคิดเป็นมูลค่าผลกระทบทางเศรษฐกิจ (ในปี ๒๕๖๑)
จานวน ๑๖ ล้านบาท
(๒) การพัฒนาและบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTI)
โดย สวทช. ได้จัดตั้ง ๕ หน่วยงาน ได้แก่ ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) ศูนย์โอมิกส์แห่งชาติ
(NOC) ศูนย์ทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพื่อการคานวณขั้นสูง (ThaiSC) ศูนย์ระบบไซเบอร์-กายภาพ (CPS)
และสถาบันเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (TIIS) ตัวอย่างการให้บริการที่สาคัญ ได้แก่
NBT จัดเก็บข้อมูล DNA barcode จุลินทรีย์ ๕๐๗ สายพันธุ์ พืชสมุนไพร ๖๘๘ ตัวอย่าง และจัดเก็บข้อมูล
ลาดับเบสทั้งจีโนม เอ็กซ์โซม และสนิปจีโนไทป์ของประชากรไทย จานวน ๒,๑๓๕ ราย NOC พัฒนาวิธีการ
แสดงออกของยีนด้วยวิธี RNA sequence เพื่อใช้ศึกษาการตอบสนองต่อสภาวะแวดล้องของปะการังและ
อ้อย และให้บริการทางเทคนิคด้าน Genotyping/Sequencing ส่วน ThaiSC ให้บริการทรัพยากร
การคานวณระบบ TARA จานวน ๘.๗๒ ล้านชั่วโมงคานวณ โดยมีโครงการใช้บริการทรัพยากรการคานวณ
จานวน ๗๑ โครงการ และมีหน่วยงานใช้บริการมากกว่า ๑๕ หน่วยงาน CPS ให้คาปรึกษาด้านระบบ
ไซเบอร์-กายภาพ/IoT กับ ๗ หน่วยงานเอกชน และให้บริการ Cloud Platform NETPIE สาหรับผู้ใช้งาน
IoT จานวน ๒๗,๐๔๖ ราย และ TIIS ส่งเสริมให้องค์กรภาครัฐและเอกชนมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนผ่าน
โครงการรับจ้างวิจัยให้กับ ๔ หน่วยงาน โดยใช้เทคนิคการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ
(Eco efficiency) และแนวคิดการประเมินวัฏจักรชีวิตและการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ผลิตภัณฑ์
เป็นเครื่องมือด้านสิ่งแวดล้อมในการดาเนินงาน เป็นต้น
(๓) การพัฒนาการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ (NQI) โดยให้บริการวิเคราะห์และ
ทดสอบ ๓๒,๓๒๐ รายการ มีตัวอย่างบริการวิเคราะห์ทดสอบ เช่น ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) จัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบแบตเตอรี่ระดับแพ็คตามมาตรฐาน UN ECE R100
ที่อาคารกลุ่มนวัตกรรม ๒ (Tower A) เฟส ๒ เพื่อดาเนินงานร่วมกับบริษัทเมอร์เซเดส-เบนซ์ แมนูแฟคเจอริ่ง
(ประเทศไทย) จากัด ในการทดสอบชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้าต่าง ๆ พร้อมกับจะมีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือด้านการวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีและสนับสนุนการทดสอบแบตเตอรี่ในยานยนต์
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๐
ไฟฟ้าระหว่าง สวทช. และบริษัทเมอร์เซเดส-เบนซ์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จากัด เมื่อวันที่
๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ โดยมอบให้ PTEC สวทช. เป็นศูนย์ทดสอบเแบตเตอรี่ในยานยนต์ไฟฟ้าแห่งแรก
ในประเทศไทยและอาเซียน โดยพร้อมเริ่มดาเนินการทดสอบและป้อนสู่สายการผลิตภายในปีนี้ และมีการ
ทดสอบใหม่ที่เปิดให้บริการ ได้แก่ ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในบ้านและเซรามิกอุตสาหกรรม (CTEC)
ได้รับการแต่งตั้งจากสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ให้เป็นหน่วยทดสอบก๊อกน้า
สาหรับเครื่องสุขภัณฑ์ และฝักบัวอาบน้า เฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มให้บริการตั้งแต่เดือนมิถุนายน
๒๕๖๒ เป็นต้น
๒. กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Research Development Innovation : RDI) สวทช.
สนับสนุนและบริหารงานวิจัยที่เน้นการตอบโจทย์หรือแก้ปัญหาที่สาคัญของประเทศ ใน ๑๐ กลุ่มเทคโนโลยี
เป้าหมาย หรือ Technology Development Groups (10 TDGs) ผลักดันให้เกิดการใช้นวัตกรรมตาม
ความต้องการของรัฐ พัฒนาโจทย์วิจัยร่วมกับบริษัทขนาดใหญ่/บริษัทข้ามชาติ/รัฐวิสาหกิจ โดยมี
การดาเนินการร่วมกันแล้ว จานวน ๒ หน่วยงาน สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านสุขภาพและการแพทย์ และ
ด้านพลังงาน สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน วทน. กับ Malaysian Industry-Government Group
for High Technology (MIGHT) และ Standard and Industrial Research Institute of Malaysia (SIRIM)
ประเทศมาเลเซีย รวมถึงการพัฒนาคุณภาพการวิจัยและส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย ได้จัดทาแนวทาง
การบริหารคุณภาพการวิจัย อาทิ แนวทางการมีชื่อในผลงานวิจัยและหน่วยงานรับคาปรึกษา และพัฒนา
จริยธรรมทางการวิจัย รวมทั้งพัฒนาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ โดยมีตัวอย่างผลงานวิจัยตามกลุ่ม
เทคโนโลยีเป้าหมาย ดังนี้
- แอปพลิเคชันแอลดีคีย์บอร์ด (ภายใต้กลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย Medical Devices and Implants)
เป็นแอปพลิเคชันที่ทางานเสมือนคีย์บอร์ดภาษาไทยบนสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตบนระบบปฏิบัติการ
แอนดรอยด์ ที่พัฒนาโดยทีมวิจัยของศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์
(A-MED) สวทช. แอปพลิเคชันแอลดีคีย์บอร์ด มีความแตกต่างจากคีย์บอร์ดทั่วไป คือ มีปุ่มสัญลักษณ์
ตัวอักษร LD ทางด้านล่างซ้ายเพื่อใช้สาหรับการค้นหาคาศัพท์ไทย เหมาะสาหรับบุคคลที่บกพร่อง
ทางการเรียนรู้ด้านการเขียนภาษาไทย เมื่อกดที่ปุ่มตัวอักษร LD จะแสดงรายการคาศัพท์ที่ถูกต้อง
หรือคาศัพท์ใกล้เคียงให้ผู้ใช้เลือก ซึ่งเป็นรายการคาที่คาดว่าจะเป็นคาที่ผู้ใช้ต้องการพิมพ์ นอกจากนี้
ยังมีปุ่มกดฟังเสียงอ่านออกเสียงคาศัพท์ และแสดงความหมายของคาพร้อมเสียงอ่านเพื่อให้ผู้ใช้งานได้
เรียนรู้ก่อนกดเลือกคาศัพท์ที่ต้องการ แอปพลิเคชันแอลดีคีย์บอร์ด เหมาะสาหรับการใช้งานบน
สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตที่มีหน้าจอขนาด ๕.๕ นิ้วขึ้นไป บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ๕.๐ เป็นต้นไป
ที่มีหน่วยความจา ๒ กิกะไบต์ และใช้พื้นที่ในการจัดเก็บประมาณ ๔๐ เมกะไบต์ ปัจจุบันอยู่ระหว่าง
ทดสอบการใช้งาน ( trial version) ที่สถาบันราชานุกูล โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลเด็ก
- โรงเรือนอัจฉริยะ (ภายใต้กลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย Precision Agriculture) คือ โรงเรือนปลูกพืชที่มี
ระบบอัตโนมัติควบคุมอุณหภูมิ การให้น้า ปุ๋ย ให้เหมาะสมกับชนิดของพืช โดยพัฒนาเทคโนโลยี
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๑
เซ็นเซอร์สาหรับการทาเกษตร ต่อยอดสู่ “โรงเรือนอัจฉริยะ” โดยนักวิจัยศูนย์เทคโนโลยี
ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) สวทช. เป็นการใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ ระบบ Internet of Things
(IoT) และระบบควบคุมมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชผักในระบบโรงเรือนที่ถูกออกแบบ
ให้ควบคุมสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งด้านแสง อุณหภูมิ ความชื้น ให้ตรงกับความต้องการของพืช
โดยผู้ใช้งานสามารถควบคุมและติดตามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คุณสมบัติของโรงเรือน
อัจฉริยะ ประกอบด้วย โรงเรือนสองชั้นแบบน็อคดาวน์ (ต่อประกอบ) ขนาดกว้าง ๖ เมตร ยาว ๒๐
เมตร สูง ๕.๖ เมตร ระบบเซ็นเซอร์ตรวจวัดสภาวะแวดล้อม (เซ็นเซอร์วัดความชื้นดิน เซ็นเซอร์
ควบคุมแสง และเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ) ที่ทางานควบคู่กับระบบควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ในโรงเรือน
พัดลมระบายอากาศในโรงเรือน เมื่ออุณหภูมิใต้หลังคาสูงเกินกว่าค่าที่ผู้ใช้กาหนดพัดลมจะทางานโดย
อัตโนมัติ และระบบควบคุมและติดตามข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้อุปกรณ์สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต
และคอมพิวเตอร์ ทาให้ตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ หรือนามาเป็นข้อมูลการทานายล่วงหน้าเพื่อการ
ผลิตพืชที่แม่นยา
๓. กลุ่มสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน สวทช. มีกลไกสนับสนุนเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ภาคเอกชนลงทุน
ด้านวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพิ่มขึ้น การถ่ายทอดเทคโนโลยี สู่ภาคการผลิตและบริการ ๙๘ รายการ ให้กับ
หน่วยงานต่าง ๆ ๑๔๗ หน่วยงาน บัญชีนวัตกรรมไทย สานักงบประมาณประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมแล้ว
จานวนทั้งสิ้น ๓๐๓ ผลงาน บริการรับรองการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมเพื่อยกเว้นภาษี ๓๐๐ เปอร์เซ็นต์
มีการรับรอง ๓๑๖ โครงการ มูลค่า ๑,๔๔๒.๐๖ ล้านบาท โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม หรือ ITAP สนับสนุน SMEs จานวน ๑,๒๗๒ ราย และการพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพศักยภาพ
ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ๔,๘๕๑ คน และการพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพศักยภาพ
ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ๒,๘๘๕ คน นอกจากนี้ สวทช ยังมีการพัฒนากลไกใหม่ ๆ เพื่อสร้าง
ระบบนิเวศนวัตกรรมสาหรับผู้ประกอบการ อาทิ การสร้างธุรกิจสตาร์ทอัพจากผลงานของ สวทช. การพัฒนา
ผู้ประกอบการฐานนวัตกรรรม การพัฒนากลไก Thailand Technology Rating System (TTRS)
เพื่อประเมินศักยภาพของผู้ประกอบการ การพัฒนาบุคลากรเพื่ออุตสาหกรรมแห่งอนาคต รวมถึงการพัฒนา
supply chain ของอุตสาหกรรมแห่งอนาคต โดยมีตัวอย่างผลงานที่ SMEs ได้รับการสนับสนุนฯ ดังนี้
- กราโนล่าพาวเวอร์บาร์ เป็นการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนจาก “กล้วยอบกรอบ” ต่อยอด
เป็น “กราโนล่าพาวเวอร์บาร์” ที่ให้พลังงานสูงตอบโจทย์กลุ่มคนรักสุขภาพ โดย ITAP สวทช. ร่วมกับ
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สนับสนุนผู้ประกอบการห้างหุ้นส่วนจากัดมองดอยน่าน
ที่ได้รับรองมาตรฐาน PRIMARY GMP พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เหมาะสม จากเดิมที่ขายกล้วยอบกรอบถุงละ ๑๐ บาท เป็นถุงละ
๒๕ บาท ปรับเปลี่ยนรูปแบบ และเพิ่มคุณประโยชน์ให้กับผลิตภัณฑ์ด้วยการนาเศษกล้วยอบกรอบ
ที่เหลือมาผสมกับธัญพืชเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ กราโนล่าแบบแท่ง
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๒
เป็นขนมที่พกพาสะดวก สามารถนาไปผสมนมทานเป็นอาหารเช้าได้ ทาให้คนในชุมชนมีงานทา
มีรายได้จากการปลูกและขายกล้วย และช่วยให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีรายได้จากการแกะกล้วยอีกด้วย
- การพัฒนาระบบผลิตน้ามันปาล์มอย่างยั่งยืน ผู้ประกอบการผลิตน้ามันปาล์มประสบปัญหาการ
สูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ประกอบกับยังไม่มีการควบคุมการผลิตที่ดี และต้องการความรู้
ด้านเทคโนโลยีในการผลิต เช่น การผลิตเมล็ดในปาล์ม อีกทั้งเครื่องจักรยังไม่สามารถผลิตได้เต็ม
ประสิทธิภาพ ITAP จึงให้บริการให้คาปรึกษาในการพัฒนาระบบการผลิต การวางแผน การจัดการ
รวมทั้งพัฒนาระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกัน และเทคนิคการติดตั้ง ดูแลรักษาเครื่องจักร ช่วยให้
ผู้ประกอบการมีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มมากขึ้นอย่างชัดเจน โดยสามารถผลิตน้ามันปาล์มดิบ
(CPO) เพิ่มขึ้นร้อยละ ๐.๒๕ หรือ ๘๕ ตันต่อปี หรือคิดเป็นกาไรที่เพิ่มขึ้นกว่า ๒ ล้านบาทต่อปี และ
เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น ๐.๔๓ ล้านบาทต่อปี
๔. กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน สวทช. พัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ความสามารถเข้าสู่
ประเทศไทย ๔.๐ ด้วยองค์ความรู้ด้าน วทน. พัฒนาชุมชนต้นแบบเกษตรอัจฉริยะ ๙๙ ชุมชน ด้วยอุปกรณ์
ด้าน Smart Farm ยกระดับคุณภาพชีวิตในชุมชนแบบองค์รวม ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ผ่านกลไกความ
ร่วมมือกับภาครัฐในท้องถิ่น อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน ๔๖ แห่ง คัดเลือกพื้นที่นาร่อง
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่น จานวน ๗ พื้นที่ และส่งเสริมให้เกิดการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร
จานวน ๒๘ แห่ง มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเกษตรกร ๒๘๑ ชุมชน ใน ๔๑ จังหวัด มีเกษตรกรได้รับ
ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยี จานวน ๗,๓๔๑ คน และพัฒนาทักษะบุคลากร จานวน ๗๔๙ คน โดยมี
ตัวอย่างผลงานการพัฒนาและขยายผลเกษตรอัจฉริยะ ดังนี้
- ถ่ายทอดเทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติก ให้แก่วิสาหกิจชุมชนผักสดผลไม้แปรรูป อาเภอพนม-
สารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่งผลให้กลุ่มวิสาหกิจฯ ลดระยะเวลาในการปลูกต้นหอม (หอมแบ่ง)
จาก ๔๐ วัน เป็น ๓๐ วัน และทาให้น้าหนักของผลิตภัณฑ์ดีขึ้นประมาณ ๒-๓ ขีดต่อต้น สามารถเพิ่ม
จานวนรอบในการปลูกได้จาก ๕ รอบต่อปี เป็น ๑๐ รอบต่อปี รวมทั้งเพิ่มรายได้เฉลี่ยให้แก่วิสาหกิจฯ
จานวน ๑๒,๐๐๐-๑๖,๐๐๐ บาทต่อรอบต่อโรงเรือน
- ถ่ายทอดเทคโนโลยีควบคุมการให้น้าอัจฉริยะในสวนทุเรียน ที่สวนทุเรียนบัวแก้ว อาเภอวังจันทร์
จังหวัดระยอง ช่วยให้เกษตรกรสามารถให้น้าทุเรียนได้เพียงพอตามความต้องการ และสามารถ
บริหารจัดการการให้น้า ปุ๋ย และสารเคมีได้จากการติดตามข้อมูลสภาวะอากาศ ส่งผลให้น้าหนัก
ทุเรียนต่อลูกเพิ่มขึ้น จานวนผลผลิตต่อต้นเพิ่มขึ้น ลดการร่วงของลูก ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
จากเดิม ๗.๘๐ ล้านบาท (๕๐ ไร่)
๕. กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม สวทช. ให้บริการพื้นที่เช่าแก่บริษัทเอกชนที่สนใจจะทางานวิจัย
พัฒนา หรือให้บริการเทคนิคในอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย
จานวน ๑๕๐ ราย รวมทั้งได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบหลักของโครงการ EECi ขับเคลื่อนกิจกรรม
หลักของ BIOPOLIS และ ALIPOLIS ณ วังจันทร์วัลเลย์ จังหวัดระยอง อาทิ การออกแบบและก่อสร้างกลุ่ม
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๓
อาคาร EECi Phase 1A พัฒนาระบบโรงเรือนปฏิบัติการ Plant Phenomics System เพื่อการหา
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการผลิตพืช เพื่อรองรับอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ และพัฒนาแพลตฟอร์มเชื่อมโยง
ข้อมูลสภาพแวดล้อมทางด้านการเกษตร ผ่านโมเดลนาร่องในโครงการการจัดการเกษตรแปลงใหญ่สาหรับอ้อย
โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อขยายผลในพื้นที่ EEC รองรับอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และ
ระบบอัจฉริยะ นอกจากนี้ สวทช. ยังได้รับมอบหมายให้บริหารและดาเนินงานเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food
Innopolis) เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ เป็นศูนย์บริการแบบครบวงจรด้านวิจัยพัฒนาและ
นวัตกรรมให้บริษัทอาหารในอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ผ่านแพลตฟอร์มบริการทั้ง
๘ แพลตฟอร์ม โดยให้บริการเชื่อมโยงและอานวยความสะดวกผู้ประกอบการในการทาธุรกิจนวัตกรรม
อาหาร จานวน ๔๕ ราย
๖. กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย สวทช. พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เข้าสู่อาชีพนักวิจัย ผ่านการสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักเรียน นิสิต นักศึกษา ตั้งแต่ระดับ
มัธยมจนถึงระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาตรี-เอก) รวม ๔๕๓ คน และสนับสนุนนักศึกษาและบุคลากรวิจัยทั้งใน
และต่างประเทศเข้าร่วมงานในห้องปฏิบัติการของศูนย์แห่งชาติ จานวน ๔๒๐ คน รวมทั้งดึงดูดผู้เรียนเพื่อไป
ประกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์ ผ่านการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี จานวน ๔,๗๘๗ คน อาทิ ค่ายก้าวแรกสู่เส้นทางนักวิทย์ ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
เพื่อจุดประกายเส้นทางสู่อาชีพนักวิจัย และค่ายต่อกล้าให้เติมใหญ่ เสริมศักยภาพในการพัฒนาต่อยอดผลงาน
ของเยาวชนในโครงการต่อกล้าให้เติบใหญ่ รุ่นที่ ๗ และโครงการเสริมสร้างทักษะด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช
สาหรับเยาวชนไทย เพื่อฝึกฝนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช ภายใต้
การดูแลและให้คาปรึกษาของนักวิจัย สวทช. เป็นต้น
๗. ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด Balanced Scorecard (BSC) ได้แก่ (๑) สร้างมูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ จานวน ๒๐,๘๑๕ ล้านบาท หรือเท่ากับ
๓.๐๙ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวันออก (EECi) ร้อยละ ๗๔.๐๗ ของแผน (๓) มีสัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย เท่ากับร้อยละ ๑๗.๘๔
(๔) ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการนาไปใช้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๗.๙๒ จากปีที่ผ่านมา (๕) มีการปรับ
สวทช. เข้าสู่โครงสร้างกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๔๙.๒๕ ของแผน (๖) มีความสามารถขององค์กรในการ
บริหาร กากับและประเมินผล ที่สอดคล้องกับระบบของกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๖๙.๕๐ ของแผน
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๔
๖. แผนและเป้าหมายการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นการดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๓ (ปี ๒๕๖๓ -
๒๕๖๗) โดยสาระสาคัญของแผนกลยุทธ์ฉบับทบทวนนี้ สวทช. มุ่งเน้นการวิจัยและสร้างนวัตกรรมในสาขาที่ สวทช.
มีความเชี่ยวชาญ และพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของ สวทช. ในสาขาที่ตอบสนองต่อโจทย์ประเทศ และ
รองรับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต รวมถึงการผลักดันให้ภาครัฐและเอกชนมีการลงทุนในการ
วิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้วยการปรับปรุงกลไกสนับสนุนการลงทุนในด้านนวัตกรรม สร้างการ
เชื่อมโยงกับพันธมิตรในภูมิภาค ภาคี สถาบันการศึกษา ในการนา วทน. ไปขยายผลในภูมิภาค สร้าง showcase
ของประเทศในพื้นที่ EECi, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้ ตลอดจนเพิ่มสมรรถภาพในการปรับตัวขององค์กร
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ตาม ๗ กลุ่มภารกิจ สวทช. ซึ่งประกอบด้วย (๑) กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม (วทน.) (๒) กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (RDI Management) (๓) กลุ่มสร้างเสริม
ความสามารถในการแข่งขัน (๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน (๕) กลุ่มบริหารและส่งเสริม
เขตนวัตกรรม (๖) กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย และ (๗) กลุ่มบริหารและสนับสนุน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๖.๑ กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.)
เป้าหมาย เพื่อสร้างขีดความสามารถการพัฒนาเทคโนโลยีให้อยู่ในระดับแนวหน้า หรือสร้างความเข้มแข็ง
ในสาขาความเชี่ยวชาญอย่างชัดเจน เพื่อนาไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับภาคอุตสาหกรรม หรือตอบโจทย์การพัฒนา
ประเทศด้วยการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรม ใน ๕ สาขาเทคโนโลยีหลัก (Pillars) ได้แก่ (๑) วิทยาศาสตร์
ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) (๒) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์และวิศวกรรม
(Materials and Engineering Technology) (๓) เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศ (Electronics and
Information Technology) (๔) นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี (Nanoscience and Nanotechnology)
และ (๕) เทคโนโลยีพลังงาน (Energy Technology) รวมถึงงานตามวาระแห่งชาติ (Agenda Based) ตลอดจน
การพัฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (National S & T Infrastructure)
และ โครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ (National Quality Infrastructure)
๖.๑.๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) เป้าหมายเพื่อ
พัฒนา เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร การพัฒนาพันธุ์ พืช สัตว์ และสัตว์น้า ให้ได้พันธุ์ดี การจัดการระบบการเพาะปลูกพืช
การเพาะเลี้ยงสัตว์อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรม ที่ตอบโจทย์ความต้องการของ
ภาคอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมส่วนผสมฟังก์ชั่น (เช่น อุตสาหกรรมอาหารเสริม โปรไบโอติก และ
เครื่องสาอางเพื่อการรักษา) อุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี อุตสาหกรรมการตรวจวินิจฉัยทางชีวภาพ และ อุตสาหกรรม
สุขภาพและความงาม โดยแผนการดาเนินงาน และผลงานส่งมอบ ดังนี้
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๕
แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓
การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชออกแบบได้ ได้แก่ ข้าว และมะเขือเทศ
เพิ่มประสิทธิภาพการปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์
ที่มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น ต้านทานแมลง
- มะเขือเทศผลใหญ่ต้านทานต่อโรคใบหงิกเหลือง
และโรคเหี่ยวเขียว ๑-๒ สายพันธุ์
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกและการจัดการพืชสมัยใหม่
ใช้เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืชให้ได้พันธุ์ดีภายใต้
ระบบปลอดโรค ด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
(tissue culture)
- สับปะรดลูกผสม ๑ สายพันธุ์
- กระบวนการผลิตต้นพันธุ์ขมิ้นชันปลอดโรคด้วยการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเจริญ และวิธีการทดสอบความ
ปลอดโรคแบบรวดเร็วด้วย PCR based ร่วมกับ
ELISA
พัฒนาเทคโนโลยีการปลูกพืชใน Plant Factory
ซึ่งเป็นการปลูกพืชที่สะอาดและมีความปลอดภัยสูง
มีปริมาณสารสาคัญสม่าเสมอ ปราศจากการ
ปนเปื้อนของโลหะหนักและปลอดโรค
- ระบบ Plant Factory ที่เลือกใช้แสง/ธาตุอาหาร
ที่เหมาะสมในระยะ vegetative และระยะ
reproductive กึ่งอัตโนมัติ สาหรับปลูกฟ้าทะลายโจร
- เทคโนโลยีการขยายพันธุ์ใบบัวบกในระบบ
bioreactor
การวิจัยและพัฒนาระบบเลี้ยงสัตว์น้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
พัฒนาต้นแบบระบบเพาะเลี้ยงสัตว์น้าแบบ
หมุนเวียนเชิงพาณิชย์
- ระบบบาบัดสาเร็จรูปสาหรับบ่อเลี้ยงปลาแบบ
น้าหมุนเวียนที่สามารถผลิตออกจาหน่ายเชิงพาณิชย์
- ระบบบ่อเลี้ยงกุ้งระบบปิด ความหนาแน่นสูง ที่มี
ระบบบาบัดไนตริฟิเคชัน
พัฒนาระบบการอนุบาลลูกกุ้งแบบอัตโนมัติ - ต้นแบบระบบผลิตโคพีพอดปลอดเชื้อก่อโรคและ
การใช้โคพีพอดเป็นอาหารลูกกุ้งวัยอ่อน
- ระบบผลิตแพลงก์ตอนสัตว์เชิงอุตสาหกรรมสาหรับ
ใช้เป็นอาหารสัตว์น้าวัยอ่อน
การวิจัยและพัฒนาชุดตรวจด้านการเกษตร อาหาร และการแพทย์
วิจัยและพัฒนาชุดตรวจโรคสัตว์ สาหรับตรวจโรค
ใน กุ้ง ปลานิล และปลากะพง
- ต้นแบบภาคสนาม LAMP-nanogold สาหรับเชื้อ
EHP ในกุ้ง และเชื้อทิลาเปียเลคไวรัส (TiLV) ในปลานิล
- molecular & biochemical markers ต่อการ
ตอบสนองของสารอาหารในลูกกุ้ง
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๖
แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓
วิจัยและพัฒนาชุดตรวจโรคพืช - ต้นแบบภาคสนามชุดตรวจเชื้อ Phytoplasma
ในใบอ้อยด้วยเทคนิค LAMP
- สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: Multiplex PCR for
Begomovirus
- ต้นแบบ MAb-ELISA for CGMMV
- สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: Hybridoma screening
using bead array (Aac)
วิจัยและพัฒนาชุดตรวจเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค
สารพิษและสารตกค้างในอาหาร
- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี DNA-based strip test
สาหรับตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารในลักษณะ
multiplex detection
- ต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการชุดตรวจ
microarray strip test สาหรับตรวจหาสารพิษจาก
เชื้อราในลักษณะ multiplex detection
- Magnetophotonic assay for detection of
Listeria monocytogenes
- กระบวนการผลิต peptide จาก phage display
เพื่อใช้ในการตรวจสารพิษตกค้างในอาหาร
(Fumonisins และ Zearalenone)
วิจัยและชุดตรวจทางการแพทย์ โรคอุบัติซ้า/
อุบัติใหม่ ที่มีความไวและความจาเพาะสูง
- ทรัพย์สินทางปัญญา: LAMP-biosensor สาหรับ
เชื้อวัณโรคดื้อยา MDT-TB
- ต้นแบบภาคสนาม Real-time LAMP สาหรับ
biomarker โรคไตอักเสบ
- ต้นแบบงานประดิษฐ์การตรวจวัณโรคในลิงด้วยวิธี
MAPIA (Multi-antigens print immunoassay)
- ต้นแบบงานประดิษฐ์การตรวจวัณโรคในลิงด้วยวิธี
ELISA
- กรรมวิธีการตรวจคัดกรองผู้ที่เคยได้รับการติดเชื้อ
โรคไข้เลือดออก (antiboty to NS1 protein)
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๗
แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓
การวิจัยและพัฒนาสารประกอบในอาหารฟังก์ชั่นและอาหารฟังก์ชั่น
วิจัยและพัฒนาโปรตีนเชิงหน้าที่ (Functional
Proteins) ที่มีคุณสมบัติแตกต่างจากโปรตีนทั่วไป
และมีคุณสมบัติในการยังยั้งแบคทีเรียที่เป็นปัญหา
ในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
- เปปไทด์ออกฤทธิ์จากสาหร่ายสไปรูลิน่า เพื่อใช้เป็น
แหล่งโปรตีนทดแทนและสารเสริมอาหารในคนและ
สัตว์ โดยใช้ฐานข้อมูลจาก SpirPep
- ผลทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรค
และทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง
ด้วยโปรตีนไฮโดรไลเซทเตรียมจากเมล็ดข้าว
- สูตรส่วนผสมของโปรตีนไข่ขาวสาหรับใช้ใน
ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และในระบบเพาะเลี้ยงปศุสัตว์
(TRL9)
- กร ะบว นการ ผ ลิ ต Hydrolyzed Egg Shell
Membrane โดยมีข้อมูลสาคัญด้านเคมีกายภาพ
และความปลอดภัยทางชีวภาพในการขอ
ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ (TRL9)
- ได้ข้อมูลสาหรับขอใบอนุญาตกรมปศุสัตว์และยื่นใบ
ขออนุญาตต่อกรมปศุสัตว์ เพื่อผลิตเอนไซม์น้าสูตร
เข้มข้นสาหรับเป็นสารเสริมชีวภาพสาหรับสัตว์
(TRL8)
- ผลิตอาหารและใช้ทดสอบประสิทธิภาพในการ
ยับยั้งหรือลดอัตราการตายของกุ้งและปลาที่ติดเชื้อ
แบคทีเรียในระดับห้องปฏิบัติการ
- ต้นแบบกระบวนการผลิตภัณฑ์เอนไซม์น้าเข้มข้น
A-zyme F1 ในระดับ ๑๐๐ ลิตร (TRL7)
วิจัยและพัฒนาไขมันเชิงหน้าที่ (Functional
Lipids) จากแหล่งใหม่ ๆ เช่น จุลินทรีย์ วัสดุเศษ
เหลือจากการแปรรูป เพื่อประยุกต์ใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์
- ข้อมูลผลการทดสอบประสิทธิภาพ และข้อมูลด้าน
ความปลอดภัยของสารเติมแต่งในอาหารสัตว์เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมสารอาหารในระดับ
ภาคสนาม (TRL7)
- ได้ conceptual design ของสายการผลิตและ
เครื่องมือสาหรับการผลิตการผลิต GLA จากเชื้อรา
รวมทั้งข้อมูลด้านต้นทุนของผลิตภัณฑ์
แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๘
แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓
วิจัยและพัฒนาคาร์โบไฮเดรตเชิงหน้าที่ (Functional
Carbohydrates)
- กลุ่ม starch based นาข้าวหรือมันสาปะหลัง
มาปรับโครงสร้างให้มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น
กลูเต็น
- กลุ่ม non starch based ได้จากวัสดุเหลือทิ้ง
จากอุตสาหกรรมหรือน้าตาล นามาดัดแปลงให้
ได้คุณสมบัติตามต้องการ เพื่อใช้ในการปรับ
เนื้อสัมผัสอาหาร
กลุ่ม starch based
- ต้นแบบสูตรแป้งผสม โดยใช้ฟลาวมันสาปะหลัง
แบบปราศจากไข่และนม
- ต้นแบบ resistant maltodextrin เพื่อใช้ในอาหาร
ผู้ป่วย/ อาหารเพื่อสุขภาพ ด้วยเทคโนโลยีการ
ดัดแปรแป้งด้วยความร้อนร่วมกับกรด
- กระบวนการผลิต modified starch แบบ green
process ด้วยเทคโนโลยีการดัดแปรแป้งด้วยกรด
อินทรีย์ร่วมกับความร้อนแบบแห้ง
กลุ่ม non starch based
- ผลการทดสอบประสิทธิภาพและการใช้งาน
ผลิตภัณฑ์ พรีไบโอติกจากกากมะพร้าวในฟาร์ม
ปศุสัตว์ (TRL6)
- วิจั ยแล ะพัฒ นาจุ ลินทรี ย์เชิงหน้าที่
(Functional Microbes) เพื่อให้มีคุณสมบัติ
เป็นโปรไบโอติก
โปรไบโอติก
- ต้นเชื้อโปรไบโอติกที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อ E.coli
ภาคสนาม (TRL6)
- ผลิตภัณฑ์สารเสริมชีวนะสาหรับอาหารสัตว์ พร้อม
จัดจาหน่าย (TRL9)
- ทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ โปรไบโอติกใน
อาหารสัตว์ ในระดับภาคสนาม โดยศึกษาการเพิ่ม
ภูมิคุ้มกันและอัตราการรอดของสัตว์ (TRL6)
- ข้อมูลการตรวจเอกลักษณ์ของ สปีชีส์ทั้งทางฟีโนไทป์
และจีโนไทป์และด้านความปลอดภัยของสายพันธุ์ยีสต์
สาหรับนาไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร
Starter cultures
- ต้นเชื้อที่เหมาะสมในการหมักมันสาปะหลัง และ
เป็นอาหารสัตว์ระดับภาคสนาม (TRL6)
- ต้นแบบผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์เสริมกาบาและสูตร
อาหารระดับห้องปฏิบัติการ (TRL 4)
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562

Más contenido relacionado

Similar a แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562

ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
Bunsasi
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
NIMT
 
Thailand ICT2020
Thailand ICT2020Thailand ICT2020
Thailand ICT2020
ICT2020
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
i_cavalry
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
guestad02e0
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
KKU Library
 
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
AmIndy Thirawut
 

Similar a แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562 (20)

Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
Annual Report 2009
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
 
Thailand ICT2020
Thailand ICT2020Thailand ICT2020
Thailand ICT2020
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology Industry
 
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 
NSTDA Annual Report-2010
NSTDA Annual Report-2010NSTDA Annual Report-2010
NSTDA Annual Report-2010
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
 
Nstda annual 2009
Nstda annual 2009Nstda annual 2009
Nstda annual 2009
 
Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) / สิงหาคม 2562

  • 2. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒ สารบัญ หน้า ๑. บทสรุปผู้บริหาร ๓ ๒. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลัก ๕ ๓. เป้าหมายการดาเนินงานปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ๖ ๔. กลยุทธ์ สวทช. ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๗ ๖ ๕. สรุปผลดาเนินงานที่สาคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๗ ๖. แผนและเป้าหมายการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๔ ๖.๑ กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ๑๔ ๖.๒ กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Research Development Innovation : RDI) ๖๓ ๖.๓ กลุ่มสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ๙๐ ๖.๔ กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน ๙๔ ๖.๕ กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม ๙๖ ๖.๖ กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย ๖.๗ กลุ่มบริหาร สนับสนุน และบริการกลาง (Shared Services) ๑๐๔ ๑๐๖ ๗. แผนทรัพยากรประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐๙ ๗.๑ บุคลากร ๑๐๙ ๗.๒ งบประมาณ ๑๐๙ ๘. เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สาคัญของ สวทช. ปี ๒๕๖๓ ๑๑๔ ๘.๑ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สาคัญของ สวทช. ๑๑๔ ๘.๒ ค่าเป้าหมายการปฏิบัติงานที่ได้ตกลงไว้กับหน่วยงานภายนอก ๑๑๕
  • 3. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓ ๑. บทสรุปผู้บริหาร สวทช. ดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ ๖ (ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ซึ่งได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ และมีกาหนดการ เสนอแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๓ (ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๗) เพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๒ โดยสาระสาคัญของแผนกลยุทธ์ ฉบับทบทวนนี้ สวทช. มุ่งเน้นการวิจัยและสร้างนวัตกรรมในสาขาที่ สวทช. มีความเชี่ยวชาญ และพัฒนา ขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของ สวทช. ในสาขาที่ตอบสนองต่อโจทย์ประเทศ และรองรับแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต รวมถึงการผลักดันให้ภาครัฐและเอกชนมีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาและ สร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้วยการปรับปรุงกลไกสนับสนุนการลงทุนในด้านนวัตกรรม สร้างการเชื่อมโยงกับพันธมิตร ในภูมิภาค ภาคี สถาบันการศึกษา ในการนา วทน. ไปขยายผลในภูมิภาค สร้าง showcase ของประเทศในพื้นที่ EECi, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้ ตลอดจนเพิ่มสมรรถภาพในการปรับตัวขององค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ผลการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน สวทช. มีผลดาเนินการตามตัวชี้วัด ที่สาคัญ ได้แก่ (๑) สร้างมูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ จานวน ๒๐,๘๑๕ ล้านบาท หรือ ๓.๐๙ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ (๒) การพัฒนาเขต นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) ร้อยละ ๗๔.๐๗ ของแผน (๓) มีสัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย เท่ากับร้อยละ ๑๗.๘๔ (๔) ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการนาไปใช้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๗.๙๒ จากปีที่ผ่านมา (๕) มีการปรับ สวทช. เข้าสู่โครงสร้างกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๔๙.๒๕ ของแผน (๖) มีความสามารถขององค์กร ในการบริหาร กากับและประเมินผล ที่สอดคล้องกับระบบของกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๖๙.๕๐ ของแผน แผนการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามกลุ่มภารกิจของ สวทช. ดังนี้ (๑) กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) การสร้างขีดความสามารถการพัฒนาเทคโนโลยีในสาขาที่มีความ เชี่ยวชาญให้อยู่ในระดับแนวหน้า เพื่อนาไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับภาคอุตสาหกรรม หรือตอบโจทย์การพัฒนา ประเทศด้วยการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรม ใน ๕ สาขาเทคโนโลยีหลัก (Research Pillars) ได้แก่ (๑) วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) (๒) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ และวิศวกรรม (Materials and Engineering Technology) (๓) เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศ (Electronics and Information Technology) (๔) นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี (Nanoscience and Nanotechnology) และ (๕) เทคโนโลยีพลังงาน (Energy Technology) ร่วมกับกลุ่มเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ ความต้องการประเทศในปัจจุบัน (Agenda–based) ได้แก่ (๑) การพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์และเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก (Medical Devices and Assistive Technology) และ (๒) เทคโนโลยีที่ใช้ได้ทั้งแง่มุมสร้าง เสริมความมั่นคงของประเทศ (Dual-Use Technology) ตลอดจนการพัฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (National S & T Infrastructure) และโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพ
  • 4. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔ ของประเทศ (National Quality Infrastructure) (๒) กลุ่มบริหาร การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Research Development Innovation : RDI) เป็นกลุ่มสนับสนุนและบริหารงานวิจัยขนาดใหญ่ เพื่อตอบโจทย์หรือแก้ปัญหา ที่สาคัญของประเทศใน ๑๐ กลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย หรือ Technology Development Groups (๑๐ TDGs) รวมทั้งผลักดันให้เกิดการใช้นวัตกรรมตามความต้องการของรัฐ พัฒนาโจทย์วิจัยร่วมกับบริษัทขนาดใหญ่/บริษัท ข้ามชาติ/รัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพการวิจัยและส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย (๓) กลุ่มสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนากลไกใหม่ ๆ เพื่อสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมสาหรับผู้ประกอบการ (๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน การพัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ด้วยองค์ความรู้ด้าน วทน. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในชุมชนแบบองค์รวม ผ่านกลไกความร่วมมือกับภาครัฐในท้องถิ่น อาทิ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) และมหาวิทยาลัยเชิงพื้นที่ เป็นต้น (๕) กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม บริหารจัดการ และพัฒนากลไกการดาเนินงานในเขตนวัตกรรมของประเทศ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ในการจัดตั้งเขตนวัตกรรมแต่ละแห่งที่เกิดขึ้น (๖) กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย การพัฒนาและส่งเสริม ผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว และ ท) เพิ่มจานวนบุคลากรวิจัยโดยการพัฒนาและ ส่งเสริมอาชีพนักวิจัย รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กและเยาวชนที่สนใจเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (๗) กลุ่มบริหาร สนับสนุน และบริการกลาง (Shared Services) สนับสนุนการดาเนินงานของ สวทช. ภายใต้ภารกิจ และ โครงสร้างที่เปลี่ยนไป เพื่อให้เกิดการบริหารแบบระบบการจัดการหลายระบบ (Multi-management System) เพื่อให้การบริหารองค์กรดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ คล่องตัว และเกิดประสิทธิผลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สวทช. มีแผนงบประมาณรายจ่าย จานวน ๙,๕๗๗ ล้านบาท แยกเป็นรายจ่าย ค่าบุคลากร ๒,๔๐๖ ล้านบาท รายจ่ายเพื่อการดาเนินงาน ๔,๙๗๑ ล้านบาท และรายจ่ายค่าก่อสร้างและครุภัณฑ์ อุดหนุนเฉพาะกิจ ๒,๒๐๐ ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีแผนงบประมาณรายจ่ายสารองอื่นๆ เช่น เงินการลงทุนใน บริษัทร่วมทุน Holding Company เงินกู้ดอกเบี้ยต่า เงินเพิ่มพิเศษ และรายจ่ายฉุกเฉิน จานวน ๖๔๖ ล้านบาท คาดการณ์รายรับจากการดาเนินงานของ สวทช. จานวน ๒,๕๐๐ ล้านบาท และมีแผนอัตรากาลังคน จานวน ๓,๓๘๐ คน โดยมีเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สาคัญของ สวทช. ในปี ๒๕๖๓ ตามแพลตฟอร์มภายใต้ยุทธ์ศาสตร์ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ดังนี้ แพลตฟอร์มที่ ๑ การพัฒนากาลังคนและ สถาบันความรู้ (๑) จานวนบุคลากรภาคอุตสาหกรรมที่ได้รับการ Reskill ๒๒๐ หลักสูตร ๑๓,๐๐๐ คน-วัน (๒) จานวนนักศึกษา ปริญญาโท/เอก ที่ร่วมทางานวิจัยกับ สวทช. ๒๒๐ คน แพลตฟอร์มที่ ๒ การตอบโจทย์ท้าทาย ของสังคม (๓) สัดส่วนทรัพย์สินทางปัญญาต่อบุคลากรวิจัย ๒๗ คาขอ/๑๐๐ คน/ปี แพลตฟอร์มที่ ๓ การเพิ่มขีด ความสามารถการแข่งขัน (๔) มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไป ใช้ประโยชน์ ๓๔,๘๐๐ ล้านบาท (๕) มูลค่าการลงทุนด้าน ว และ ท ในภาคการผลิต ภาคบริการ และภาค เกษตรกรรม ๒๑,๕๐๐ ล้านบาท (๖) จานวนผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอนาคต ๒๐๐ ราย (๗) การให้บริการ วิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐานสากล ๓,๕๐๐ รายการ (๘) นวัตกรรมใหม่ที่นาไปสู่เชิงพาณิชย์ ๓๐๐ Active Licenses และแพลตฟอร์มที่ ๔ การพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้า (๙) การนาผลงานวิจัยและองค์ความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในภาคเกษตรกรรมและสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ๘๐ เรื่อง ๘,๐๐๐ คน
  • 5. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕ ๒. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลัก ๑ วิสัยทัศน์ สวทช. เป็นพันธมิตรร่วมทางที่ดีสู่สังคมฐานความรู้ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒. พันธกิจ สวทช. มุ่งสร้างเสริมการวิจัย พัฒนา ออกแบบ และวิศวกรรม จนสามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์ พร้อมส่งเสริมด้านการพัฒนากาลังคน และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จาเป็น เพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยจัดให้มีระบบบริหารจัดการภายในที่มี ประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน ๓. ค่านิยมหลัก N = Nation First คานึงถึงประโยชน์ของชาติและส่วนรวมเป็นหลัก มีจิตสานึกและ ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเสียสละ คิดถึงทิศทางของส่วนรวม S = Science and Technology Excellence การยึดมั่นในการสร้างความเป็นเลิศในทุกสิ่งที่ทา อันเกิดจากการ ใฝ่รู้ ริเริ่มและสร้างสรรค์ ด้วยมาตรฐานสูงสุด T = Team Work การทางานเป็นทีมที่พร้อมช่วยเหลือกัน ด้วยความเข้าใจห่วงใย ซึ่งกันและกัน และการสื่อสารสองทางเพื่อเป้าหมายเดียวกัน กล้าวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ เปิดใจ รับฟัง มีน้าใจ ห่วงใย พร้อม แบ่งปัน D = Deliverability ความมุ่งมั่นที่จะส่งมอบงานที่มีคุณภาพ ตรงตามคามั่นสัญญาเพื่อ ความพึงพอใจของลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก มุ่งเน้นผลลัพธ์ มีความมุ่งมั่น กระตือรือร้น ยึดถือคามั่นสัญญา มีความคล่องตัว A = Accountability and Integrity เป็นมากกว่าความรับผิดชอบ เพราะหมายถึง ความมีจริยธรรม โปร่งใส มีวินัยต่อกฎระเบียบ กติกา กล้ายืนหยัด ทาในสิ่งที่ถูกต้อง และความซื่อสัตย์ต่อองค์กรและสายงานอาชีพ
  • 6. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖ ๓. เป้าหมายการดาเนินงานปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔  สร้างผลงานวิจัยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศคิดเป็นมูลค่าไม่ต่ากว่า ๕ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของ สวทช. ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔  ผลักดันให้เกิดการลงทุนในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของภาคการผลิต ภาคบริการ และ ภาคเกษตรกรรม เพิ่มขึ้นเป็น ๒ เท่าของการลงทุน ปี ๒๕๕๙ ๔. กลยุทธ์ สวทช. ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑. วิจัยและสร้างนวัตกรรมในสาขาที่ สวทช. มีความเชี่ยวชาญ และพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี ของ สวทช. ในสาขาที่ตอบสนองต่อโจทย์ประเทศ และรองรับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ในอนาคต ผ่านกลไกการบริหารงานวิจัย กลไกการสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศ และกลไกสื่อสาร ด้าน วทน. ที่มีประสิทธิภาพ ๒. ผลักดันให้ภาครัฐและเอกชนมีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้วยการ ปรับปรุงกลไกสนับสนุนการลงทุนในด้านนวัตกรรม อาทิ กลไก startup/spin-off, holding co., ITAP, TTRS กลไกบัญชีนวัตกรรม กลไก RDI for government demand กลไกเชื่อมโยงกับบริษัทในเขต นวัตกรรมต่าง ๆ ของ สวทช. และ BOI ๓. เชื่อมโยงกับพันธมิตรในภูมิภาค ภาคี สถาบันการศึกษา ในการนา วทน. ไปขยายผลในภูมิภาค สร้าง showcase ของประเทศในพื้นที่ EECi, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้ ผ่านกลไก อาทิ การจัดตั้ง national research lab ในภูมิภาค เขตนวัตกรรมต่าง ๆ (EECi, TSP, SWP, RSPs, FI, etc.) การเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมหาวิทยาลัยในพื้นที่ กลไกพัฒนาบุคลากรวิจัย ๔. เพิ่มสมรรถภาพในการปรับตัวขององค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เช่น การปรับเพิ่มรายได้จาก แหล่งอื่นเพื่อลดการพึ่งพางบประมาณแผ่นดิน ระบบบริหารคุณภาพงานวิจัย ระบบการประเมินผล ให้เชื่อมโยงกับลักษณะการสร้างงาน การเตรียมกาลังคน การสร้างเส้นทางอาชีพ รวมถึงการเสริมสร้าง ความผูกพันของบุคลากร และการมีส่วนร่วม
  • 7. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๗ ๕. สรุปผลดาเนินงานที่สาคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สวทช. ดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๒ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๖) มุ่งเน้นการดาเนินงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) โดยดาเนินงานร่วมกับพันธมิตร ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสร้างนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์และ เชื่อมโยงผลงานวิจัยและพัฒนาตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ประเทศ พร้อมสร้างความเข้มแข็งระบบบริหารจัดการภายใน เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ สร้างและสะสมองค์ความรู้และนวัตกรรมขององค์กร เพื่อสร้างผลงานที่นาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ก่อให้เกิดผลกระทบในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน ตามตัวชี้วัดเป้าหมายของแผนกลยุทธ์ (๑) มูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ๔.๖ เท่า ของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยปี ๒๕๖๐-๒๕๖๒ หรือประมาณ ๓๐,๐๐๐ ล้านบาท (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) มีคอนซอร์เทียมใน BIOPOLIS, ARIPOLIS และ SPACE INNOPOLIS ไม่น้อยกว่า ๖ คอนซอร์เทียม นาต้นแบบระบบเกษตรสมัยใหม่ไปใช้ใน ๕๐ ชุมชน พัฒนาบุคลากรภาคเกษตรให้เป็น เกษตรกรสมัยใหม่ ๘๐ คน พัฒนาบุคลากรวิจัยและนักเรียนในพื้นที่ ๒,๐๐๐ คน และยกระดับความสามารถ เทคโนโลยี SMEs และ startup ในพื้นที่ ๑๐๐ ราย (๓) สัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕ (๔) ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการนาไปใช้ประโยชน์ มีจานวนสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ์สะสม เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๐ จากปีที่ผ่านมา (๕) การปรับ สวทช. เข้าสู่กระทรวงใหม่ มีกลไกการกากับดูแลที่สอดคล้องกับหลักการของ กระทรวงใหม่ และ (๖) ความสามารถขององค์กรในการบริหาร กากับและประเมินผล ที่สอดคล้องกับกระทรวงใหม่ มีการทางานแบบบูรณาการ (cross-discipline) โดย ณ สิ้นเดือนมิถุนายน ๒๕๖๒ (๙ เดือน) สวทช. มีผลการดาเนินงานที่สาคัญโดยสรุปตามกลุ่มภารกิจ ดังนี้ ๑. กลุ่มวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) แบ่งการดาเนินงานออกเป็น (๑) การพัฒนาขีดความสามารถด้าน วทน. ของ ๕ หน่วยวิจัยหลักที่เป็นความเชี่ยวชาญของ สวทช. (Research Pillars) และ ๒ หน่วยวิจัยเพื่อตอบโจทย์อุตสาหกรรมที่มุ่งเน้น (Focus Center) ซึ่งประกอบด้วย ๑๒ Research Sub Pillars และ ๒๘ Research Groups จากการดาเนินงาน สวทช. มีบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่มี SCIE ๑๑๑ ฉบับ มีการยื่นขอจดทรัพย์สินทางปัญญา ๑๔๔ คาขอ ผลงานวิจัยและนักวิจัยของ สวทช. ได้รับรางวัลและเกียรติยศ ๔๓ รางวัล สร้างมูลค่า ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ๒๐,๘๑๕ ล้านบาท รวมถึงผลักดันให้เกิดการลงทุนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของภาคการผลิตและบริการ ๒,๔๓๓ ล้านบาท โดยมีตัวอย่างผลงานวิจัยฯ ดังนี้ - เทคโนโลยีการปรับปรุงการผลิตไข่พาสเจอร์ไรส์ ไบโอเทค สวทช. ร่วมกับบริษัทเอกชนศึกษา ผลกระทบของปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสมบัติทางเคมี กายภาพ และสมบัติ เชิงหน้าที่ของผลิตภัณฑ์ไข่ขาวเหลว ไข่รวมเหลว และไข่แดงเหลว อาทิ สมบัติการเกิดเจล สมบัติ
  • 8. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๘ การเกิดฟอง และสมบัติด้านอิมัลชัน เพื่อให้สามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตไข่พาสเจอร์ไรส์ได้อย่าง เหมาะสม และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่มีความหลากหลาย จากองค์ความรู้ ดังกล่าวสามารถนาไปต่อยอด เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ไข่ขาวเหลวพาสเจอร์ไรส์ ไข่รวมเหลว พาสเจอร์ไรส์ ออมเลตพาสเจอร์ไรส์ ออมเลตแช่แข็งไส้กะเพรากุ้ง ออมเลตแช่แข็งไส้ครีมเห็ด และ ไข่หวานญี่ปุ่น เป็นต้น โดยผลงานวิจัยดังกล่าวช่วยพัฒนามาตรฐานการผลิต รักษาส่วนแบ่งทาง การตลาด คิดเป็นมูลค่าผลกระทบทางเศรษฐกิจ ๒๓ ล้านบาทต่อปี - ชุดแบตเตอรี่สาหรับการใช้งานด้านความมั่นคง เนื่องจากการทางานของยุทโธปกรณ์ต้องอาศัย พลังงานจากแบตเตอรี่เป็นหลัก แต่ปัจจุบันแบตเตอรี่ที่มาพร้อมยุทโธปกรณ์มักชารุดเนื่องจากใช้งาน มานาน และไม่สามารถจัดซื้อมาทดแทนได้ รวมทั้งยังมีราคาสูง ด้วยเหตุนี้ เอ็มเทค และเนคเทค สวทช. จึงร่วมกับสานักงานวิจัยและพัฒนาการทางทหารกองทัพบก วิจัยและพัฒนาชุดแบตเตอรี่ ที่สามารถใช้งานแทนแบตเตอรี่ชุดเดิมที่ชารุดได้ โดยมีความจุเพิ่มขึ้น ๓ เท่า ทาให้มีอายุการใช้งาน ต่อการชาร์จ ๑ ครั้งเพิ่มขึ้นจาก ๑ วันเป็น ๓ วัน ชุดแบตเตอรี่ดังกล่าวผ่านมาตรฐานการทดสอบ คุณสมบัติ และความปลอดภัยของแบตเตอรี่ รวมถึงมาตรฐานทางการทหาร และมีราคาลดลง ประมาณ ๔ เท่า ปัจจุบันอยู่ระหว่างการถ่ายทอดเทคโนโลยี - TPMAP หรือ Thai People Map and Analytics Platform คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการ พัฒนาคนแบบชี้เป้า ซึ่งพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai Poverty Map and Analytics Platform) เดิมให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างขึ้นแต่ยังคงความสามารถ ของระบบเดิมในการชี้เป้าความยากจน โดยเป็นการทางานร่วมกันระหว่าง เนคเทค สวทช. สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม (ดศ.) ด้วยเทคโนโลยี Big Data Analytics ตรวจสอบและดูความสัมพันธ์ของข้อมูลในหลายมิติ เพื่อจะกาหนดนโยบายและวิธีการให้ความช่วยเหลือที่ถูกกลุ่มเป้าหมาย และตรงกับบริบทของพื้นที่ มากที่สุด รูปแบบของระบบเป็น Analytics Model ทางเศรษฐศาสตร์ที่สามารถบูรณาการข้อมูล ภาครัฐเพื่อคัดกรองและชี้เป้าผู้ด้อยโอกาส ทาให้ทราบว่าผู้ด้อยโอกาสจริง ๆ เป็นใครและมีจานวน เท่าใด เพื่อช่วยให้รัฐบาลให้ความช่วยเหลือพื้นฐานในด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ (การมีงานทาและรายได้) ด้านความเป็นอยู่ และการเข้าถึงบริการรัฐได้ตรงจุดมากที่สุด รวมทั้ง TPMAP ยังสามารถระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ ทาให้การแก้ปัญหาความยากจนตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น โดยสามารถเข้าถึงระบบผ่าน เว็บไซต์ https://www.tpmap.in.th ปัจจุบันมีจังหวัดต่าง ๆ ติดต่อขอใช้ข้อมูล อาทิ จังหวัดปทุมธานี ที่นาข้อมูลไปใช้ชี้เป้าครัวเรือนที่ยากจน และจังหวัดสมุทรสงครามที่ใช้ข้อมูลเชิงลึกเพื่อลงพื้นที่จริง แก้ปัญหาความยากจน เป็นต้น - ไฮโดรเจลอาหารลูกกุ้งสูตรไร้ปลาป่น นาโนเทค สวทช. ร่วมกับบริษัทบานตะไท จากัด วิจัยและ พัฒนาสูตรอาหารเลี้ยงลูกกุ้งแบบไร้ปลาป่น ใช้เทคโนโลยีการกักเก็บสารสาคัญในโครงสร้างแบบเจล
  • 9. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๙ เพิ่มความสามารถดูดซึมให้กับลูกกุ้ง ยืดอายุให้ไม่เน่าเสียเร็ว และกระตุ้นการเจริญเติบโตของสัตว์น้า ตอบโจทย์ความมั่นคงทางอาหารตามข้อกาหนดของสหภาพยุโรป (EU) ที่ลดการใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดิบ ในการผลิตอาหารสัตว์น้า สูตรอาหารเลี้ยงลูกกุ้งแบบไร้ปลาป่นในรูปแบบไฮโดรเจลนี้ใช้กากถั่ว แทนปลาป่น ซึ่งกากถั่วเป็นแหล่งโปรตีนที่มีคุณสมบัติตรงตามข้อกาหนดของ EU อีกทั้งยังย่อยง่าย สามารถดูดซึมได้ทันที พร้อมทั้งสามารถเติมสารสาคัญอื่นและไขมันที่จะช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโต ของสัตว์น้าได้มากกว่าอาหารที่มีในท้องตลาด นอกจากนี้เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย กระบวนการผลิตใหม่สามารถเติมกรดอะมิโน เอนไซม์ ฮอร์โมน วัคซีน และโพรไบโอติกส์ ลงไปโดยไม่ สลายไประหว่างกระบวนการผลิตอีกด้วย ปัจจุบันอาหารเลี้ยงลูกกุ้งแบบไร้ปลาป่นในรูปแบบไฮโดรเจล มีวางจาหน่ายแล้ว การพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าวช่วยให้ผู้ประกอบการไทยสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ เข้าถึงตลาดใหม่ และขายได้ในราคาสูงขึ้น โดยคิดเป็นมูลค่าผลกระทบทางเศรษฐกิจ (ในปี ๒๕๖๑) จานวน ๑๖ ล้านบาท (๒) การพัฒนาและบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTI) โดย สวทช. ได้จัดตั้ง ๕ หน่วยงาน ได้แก่ ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) ศูนย์โอมิกส์แห่งชาติ (NOC) ศูนย์ทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพื่อการคานวณขั้นสูง (ThaiSC) ศูนย์ระบบไซเบอร์-กายภาพ (CPS) และสถาบันเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (TIIS) ตัวอย่างการให้บริการที่สาคัญ ได้แก่ NBT จัดเก็บข้อมูล DNA barcode จุลินทรีย์ ๕๐๗ สายพันธุ์ พืชสมุนไพร ๖๘๘ ตัวอย่าง และจัดเก็บข้อมูล ลาดับเบสทั้งจีโนม เอ็กซ์โซม และสนิปจีโนไทป์ของประชากรไทย จานวน ๒,๑๓๕ ราย NOC พัฒนาวิธีการ แสดงออกของยีนด้วยวิธี RNA sequence เพื่อใช้ศึกษาการตอบสนองต่อสภาวะแวดล้องของปะการังและ อ้อย และให้บริการทางเทคนิคด้าน Genotyping/Sequencing ส่วน ThaiSC ให้บริการทรัพยากร การคานวณระบบ TARA จานวน ๘.๗๒ ล้านชั่วโมงคานวณ โดยมีโครงการใช้บริการทรัพยากรการคานวณ จานวน ๗๑ โครงการ และมีหน่วยงานใช้บริการมากกว่า ๑๕ หน่วยงาน CPS ให้คาปรึกษาด้านระบบ ไซเบอร์-กายภาพ/IoT กับ ๗ หน่วยงานเอกชน และให้บริการ Cloud Platform NETPIE สาหรับผู้ใช้งาน IoT จานวน ๒๗,๐๔๖ ราย และ TIIS ส่งเสริมให้องค์กรภาครัฐและเอกชนมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนผ่าน โครงการรับจ้างวิจัยให้กับ ๔ หน่วยงาน โดยใช้เทคนิคการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco efficiency) และแนวคิดการประเมินวัฏจักรชีวิตและการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ผลิตภัณฑ์ เป็นเครื่องมือด้านสิ่งแวดล้อมในการดาเนินงาน เป็นต้น (๓) การพัฒนาการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ (NQI) โดยให้บริการวิเคราะห์และ ทดสอบ ๓๒,๓๒๐ รายการ มีตัวอย่างบริการวิเคราะห์ทดสอบ เช่น ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) จัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบแบตเตอรี่ระดับแพ็คตามมาตรฐาน UN ECE R100 ที่อาคารกลุ่มนวัตกรรม ๒ (Tower A) เฟส ๒ เพื่อดาเนินงานร่วมกับบริษัทเมอร์เซเดส-เบนซ์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จากัด ในการทดสอบชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้าต่าง ๆ พร้อมกับจะมีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือด้านการวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีและสนับสนุนการทดสอบแบตเตอรี่ในยานยนต์
  • 10. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๐ ไฟฟ้าระหว่าง สวทช. และบริษัทเมอร์เซเดส-เบนซ์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จากัด เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ โดยมอบให้ PTEC สวทช. เป็นศูนย์ทดสอบเแบตเตอรี่ในยานยนต์ไฟฟ้าแห่งแรก ในประเทศไทยและอาเซียน โดยพร้อมเริ่มดาเนินการทดสอบและป้อนสู่สายการผลิตภายในปีนี้ และมีการ ทดสอบใหม่ที่เปิดให้บริการ ได้แก่ ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในบ้านและเซรามิกอุตสาหกรรม (CTEC) ได้รับการแต่งตั้งจากสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ให้เป็นหน่วยทดสอบก๊อกน้า สาหรับเครื่องสุขภัณฑ์ และฝักบัวอาบน้า เฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มให้บริการตั้งแต่เดือนมิถุนายน ๒๕๖๒ เป็นต้น ๒. กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Research Development Innovation : RDI) สวทช. สนับสนุนและบริหารงานวิจัยที่เน้นการตอบโจทย์หรือแก้ปัญหาที่สาคัญของประเทศ ใน ๑๐ กลุ่มเทคโนโลยี เป้าหมาย หรือ Technology Development Groups (10 TDGs) ผลักดันให้เกิดการใช้นวัตกรรมตาม ความต้องการของรัฐ พัฒนาโจทย์วิจัยร่วมกับบริษัทขนาดใหญ่/บริษัทข้ามชาติ/รัฐวิสาหกิจ โดยมี การดาเนินการร่วมกันแล้ว จานวน ๒ หน่วยงาน สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านสุขภาพและการแพทย์ และ ด้านพลังงาน สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน วทน. กับ Malaysian Industry-Government Group for High Technology (MIGHT) และ Standard and Industrial Research Institute of Malaysia (SIRIM) ประเทศมาเลเซีย รวมถึงการพัฒนาคุณภาพการวิจัยและส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย ได้จัดทาแนวทาง การบริหารคุณภาพการวิจัย อาทิ แนวทางการมีชื่อในผลงานวิจัยและหน่วยงานรับคาปรึกษา และพัฒนา จริยธรรมทางการวิจัย รวมทั้งพัฒนาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ โดยมีตัวอย่างผลงานวิจัยตามกลุ่ม เทคโนโลยีเป้าหมาย ดังนี้ - แอปพลิเคชันแอลดีคีย์บอร์ด (ภายใต้กลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย Medical Devices and Implants) เป็นแอปพลิเคชันที่ทางานเสมือนคีย์บอร์ดภาษาไทยบนสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตบนระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ ที่พัฒนาโดยทีมวิจัยของศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) สวทช. แอปพลิเคชันแอลดีคีย์บอร์ด มีความแตกต่างจากคีย์บอร์ดทั่วไป คือ มีปุ่มสัญลักษณ์ ตัวอักษร LD ทางด้านล่างซ้ายเพื่อใช้สาหรับการค้นหาคาศัพท์ไทย เหมาะสาหรับบุคคลที่บกพร่อง ทางการเรียนรู้ด้านการเขียนภาษาไทย เมื่อกดที่ปุ่มตัวอักษร LD จะแสดงรายการคาศัพท์ที่ถูกต้อง หรือคาศัพท์ใกล้เคียงให้ผู้ใช้เลือก ซึ่งเป็นรายการคาที่คาดว่าจะเป็นคาที่ผู้ใช้ต้องการพิมพ์ นอกจากนี้ ยังมีปุ่มกดฟังเสียงอ่านออกเสียงคาศัพท์ และแสดงความหมายของคาพร้อมเสียงอ่านเพื่อให้ผู้ใช้งานได้ เรียนรู้ก่อนกดเลือกคาศัพท์ที่ต้องการ แอปพลิเคชันแอลดีคีย์บอร์ด เหมาะสาหรับการใช้งานบน สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตที่มีหน้าจอขนาด ๕.๕ นิ้วขึ้นไป บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ๕.๐ เป็นต้นไป ที่มีหน่วยความจา ๒ กิกะไบต์ และใช้พื้นที่ในการจัดเก็บประมาณ ๔๐ เมกะไบต์ ปัจจุบันอยู่ระหว่าง ทดสอบการใช้งาน ( trial version) ที่สถาบันราชานุกูล โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลเด็ก - โรงเรือนอัจฉริยะ (ภายใต้กลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย Precision Agriculture) คือ โรงเรือนปลูกพืชที่มี ระบบอัตโนมัติควบคุมอุณหภูมิ การให้น้า ปุ๋ย ให้เหมาะสมกับชนิดของพืช โดยพัฒนาเทคโนโลยี
  • 11. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๑ เซ็นเซอร์สาหรับการทาเกษตร ต่อยอดสู่ “โรงเรือนอัจฉริยะ” โดยนักวิจัยศูนย์เทคโนโลยี ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) สวทช. เป็นการใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ ระบบ Internet of Things (IoT) และระบบควบคุมมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชผักในระบบโรงเรือนที่ถูกออกแบบ ให้ควบคุมสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งด้านแสง อุณหภูมิ ความชื้น ให้ตรงกับความต้องการของพืช โดยผู้ใช้งานสามารถควบคุมและติดตามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คุณสมบัติของโรงเรือน อัจฉริยะ ประกอบด้วย โรงเรือนสองชั้นแบบน็อคดาวน์ (ต่อประกอบ) ขนาดกว้าง ๖ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สูง ๕.๖ เมตร ระบบเซ็นเซอร์ตรวจวัดสภาวะแวดล้อม (เซ็นเซอร์วัดความชื้นดิน เซ็นเซอร์ ควบคุมแสง และเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ) ที่ทางานควบคู่กับระบบควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ในโรงเรือน พัดลมระบายอากาศในโรงเรือน เมื่ออุณหภูมิใต้หลังคาสูงเกินกว่าค่าที่ผู้ใช้กาหนดพัดลมจะทางานโดย อัตโนมัติ และระบบควบคุมและติดตามข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้อุปกรณ์สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ ทาให้ตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ หรือนามาเป็นข้อมูลการทานายล่วงหน้าเพื่อการ ผลิตพืชที่แม่นยา ๓. กลุ่มสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน สวทช. มีกลไกสนับสนุนเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ภาคเอกชนลงทุน ด้านวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพิ่มขึ้น การถ่ายทอดเทคโนโลยี สู่ภาคการผลิตและบริการ ๙๘ รายการ ให้กับ หน่วยงานต่าง ๆ ๑๔๗ หน่วยงาน บัญชีนวัตกรรมไทย สานักงบประมาณประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมแล้ว จานวนทั้งสิ้น ๓๐๓ ผลงาน บริการรับรองการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมเพื่อยกเว้นภาษี ๓๐๐ เปอร์เซ็นต์ มีการรับรอง ๓๑๖ โครงการ มูลค่า ๑,๔๔๒.๐๖ ล้านบาท โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม หรือ ITAP สนับสนุน SMEs จานวน ๑,๒๗๒ ราย และการพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพศักยภาพ ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ๔,๘๕๑ คน และการพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพศักยภาพ ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ๒,๘๘๕ คน นอกจากนี้ สวทช ยังมีการพัฒนากลไกใหม่ ๆ เพื่อสร้าง ระบบนิเวศนวัตกรรมสาหรับผู้ประกอบการ อาทิ การสร้างธุรกิจสตาร์ทอัพจากผลงานของ สวทช. การพัฒนา ผู้ประกอบการฐานนวัตกรรรม การพัฒนากลไก Thailand Technology Rating System (TTRS) เพื่อประเมินศักยภาพของผู้ประกอบการ การพัฒนาบุคลากรเพื่ออุตสาหกรรมแห่งอนาคต รวมถึงการพัฒนา supply chain ของอุตสาหกรรมแห่งอนาคต โดยมีตัวอย่างผลงานที่ SMEs ได้รับการสนับสนุนฯ ดังนี้ - กราโนล่าพาวเวอร์บาร์ เป็นการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนจาก “กล้วยอบกรอบ” ต่อยอด เป็น “กราโนล่าพาวเวอร์บาร์” ที่ให้พลังงานสูงตอบโจทย์กลุ่มคนรักสุขภาพ โดย ITAP สวทช. ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สนับสนุนผู้ประกอบการห้างหุ้นส่วนจากัดมองดอยน่าน ที่ได้รับรองมาตรฐาน PRIMARY GMP พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เหมาะสม จากเดิมที่ขายกล้วยอบกรอบถุงละ ๑๐ บาท เป็นถุงละ ๒๕ บาท ปรับเปลี่ยนรูปแบบ และเพิ่มคุณประโยชน์ให้กับผลิตภัณฑ์ด้วยการนาเศษกล้วยอบกรอบ ที่เหลือมาผสมกับธัญพืชเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ กราโนล่าแบบแท่ง
  • 12. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๒ เป็นขนมที่พกพาสะดวก สามารถนาไปผสมนมทานเป็นอาหารเช้าได้ ทาให้คนในชุมชนมีงานทา มีรายได้จากการปลูกและขายกล้วย และช่วยให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีรายได้จากการแกะกล้วยอีกด้วย - การพัฒนาระบบผลิตน้ามันปาล์มอย่างยั่งยืน ผู้ประกอบการผลิตน้ามันปาล์มประสบปัญหาการ สูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ประกอบกับยังไม่มีการควบคุมการผลิตที่ดี และต้องการความรู้ ด้านเทคโนโลยีในการผลิต เช่น การผลิตเมล็ดในปาล์ม อีกทั้งเครื่องจักรยังไม่สามารถผลิตได้เต็ม ประสิทธิภาพ ITAP จึงให้บริการให้คาปรึกษาในการพัฒนาระบบการผลิต การวางแผน การจัดการ รวมทั้งพัฒนาระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกัน และเทคนิคการติดตั้ง ดูแลรักษาเครื่องจักร ช่วยให้ ผู้ประกอบการมีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มมากขึ้นอย่างชัดเจน โดยสามารถผลิตน้ามันปาล์มดิบ (CPO) เพิ่มขึ้นร้อยละ ๐.๒๕ หรือ ๘๕ ตันต่อปี หรือคิดเป็นกาไรที่เพิ่มขึ้นกว่า ๒ ล้านบาทต่อปี และ เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น ๐.๔๓ ล้านบาทต่อปี ๔. กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน สวทช. พัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ความสามารถเข้าสู่ ประเทศไทย ๔.๐ ด้วยองค์ความรู้ด้าน วทน. พัฒนาชุมชนต้นแบบเกษตรอัจฉริยะ ๙๙ ชุมชน ด้วยอุปกรณ์ ด้าน Smart Farm ยกระดับคุณภาพชีวิตในชุมชนแบบองค์รวม ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ผ่านกลไกความ ร่วมมือกับภาครัฐในท้องถิ่น อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน ๔๖ แห่ง คัดเลือกพื้นที่นาร่อง ในการขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่น จานวน ๗ พื้นที่ และส่งเสริมให้เกิดการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร จานวน ๒๘ แห่ง มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเกษตรกร ๒๘๑ ชุมชน ใน ๔๑ จังหวัด มีเกษตรกรได้รับ ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยี จานวน ๗,๓๔๑ คน และพัฒนาทักษะบุคลากร จานวน ๗๔๙ คน โดยมี ตัวอย่างผลงานการพัฒนาและขยายผลเกษตรอัจฉริยะ ดังนี้ - ถ่ายทอดเทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติก ให้แก่วิสาหกิจชุมชนผักสดผลไม้แปรรูป อาเภอพนม- สารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่งผลให้กลุ่มวิสาหกิจฯ ลดระยะเวลาในการปลูกต้นหอม (หอมแบ่ง) จาก ๔๐ วัน เป็น ๓๐ วัน และทาให้น้าหนักของผลิตภัณฑ์ดีขึ้นประมาณ ๒-๓ ขีดต่อต้น สามารถเพิ่ม จานวนรอบในการปลูกได้จาก ๕ รอบต่อปี เป็น ๑๐ รอบต่อปี รวมทั้งเพิ่มรายได้เฉลี่ยให้แก่วิสาหกิจฯ จานวน ๑๒,๐๐๐-๑๖,๐๐๐ บาทต่อรอบต่อโรงเรือน - ถ่ายทอดเทคโนโลยีควบคุมการให้น้าอัจฉริยะในสวนทุเรียน ที่สวนทุเรียนบัวแก้ว อาเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ช่วยให้เกษตรกรสามารถให้น้าทุเรียนได้เพียงพอตามความต้องการ และสามารถ บริหารจัดการการให้น้า ปุ๋ย และสารเคมีได้จากการติดตามข้อมูลสภาวะอากาศ ส่งผลให้น้าหนัก ทุเรียนต่อลูกเพิ่มขึ้น จานวนผลผลิตต่อต้นเพิ่มขึ้น ลดการร่วงของลูก ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จากเดิม ๗.๘๐ ล้านบาท (๕๐ ไร่) ๕. กลุ่มบริหารและส่งเสริมเขตนวัตกรรม สวทช. ให้บริการพื้นที่เช่าแก่บริษัทเอกชนที่สนใจจะทางานวิจัย พัฒนา หรือให้บริการเทคนิคในอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย จานวน ๑๕๐ ราย รวมทั้งได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบหลักของโครงการ EECi ขับเคลื่อนกิจกรรม หลักของ BIOPOLIS และ ALIPOLIS ณ วังจันทร์วัลเลย์ จังหวัดระยอง อาทิ การออกแบบและก่อสร้างกลุ่ม
  • 13. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๓ อาคาร EECi Phase 1A พัฒนาระบบโรงเรือนปฏิบัติการ Plant Phenomics System เพื่อการหา สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการผลิตพืช เพื่อรองรับอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ และพัฒนาแพลตฟอร์มเชื่อมโยง ข้อมูลสภาพแวดล้อมทางด้านการเกษตร ผ่านโมเดลนาร่องในโครงการการจัดการเกษตรแปลงใหญ่สาหรับอ้อย โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อขยายผลในพื้นที่ EEC รองรับอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และ ระบบอัจฉริยะ นอกจากนี้ สวทช. ยังได้รับมอบหมายให้บริหารและดาเนินงานเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ เป็นศูนย์บริการแบบครบวงจรด้านวิจัยพัฒนาและ นวัตกรรมให้บริษัทอาหารในอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ผ่านแพลตฟอร์มบริการทั้ง ๘ แพลตฟอร์ม โดยให้บริการเชื่อมโยงและอานวยความสะดวกผู้ประกอบการในการทาธุรกิจนวัตกรรม อาหาร จานวน ๔๕ ราย ๖. กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย สวทช. พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เข้าสู่อาชีพนักวิจัย ผ่านการสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักเรียน นิสิต นักศึกษา ตั้งแต่ระดับ มัธยมจนถึงระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาตรี-เอก) รวม ๔๕๓ คน และสนับสนุนนักศึกษาและบุคลากรวิจัยทั้งใน และต่างประเทศเข้าร่วมงานในห้องปฏิบัติการของศูนย์แห่งชาติ จานวน ๔๒๐ คน รวมทั้งดึงดูดผู้เรียนเพื่อไป ประกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์ ผ่านการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวน ๔,๗๘๗ คน อาทิ ค่ายก้าวแรกสู่เส้นทางนักวิทย์ ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา เพื่อจุดประกายเส้นทางสู่อาชีพนักวิจัย และค่ายต่อกล้าให้เติมใหญ่ เสริมศักยภาพในการพัฒนาต่อยอดผลงาน ของเยาวชนในโครงการต่อกล้าให้เติบใหญ่ รุ่นที่ ๗ และโครงการเสริมสร้างทักษะด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช สาหรับเยาวชนไทย เพื่อฝึกฝนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช ภายใต้ การดูแลและให้คาปรึกษาของนักวิจัย สวทช. เป็นต้น ๗. ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด Balanced Scorecard (BSC) ได้แก่ (๑) สร้างมูลค่าผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ จานวน ๒๐,๘๑๕ ล้านบาท หรือเท่ากับ ๓.๐๙ เท่าของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ (๒) การพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (EECi) ร้อยละ ๗๔.๐๗ ของแผน (๓) มีสัดส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย เท่ากับร้อยละ ๑๗.๘๔ (๔) ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีการนาไปใช้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๗.๙๒ จากปีที่ผ่านมา (๕) มีการปรับ สวทช. เข้าสู่โครงสร้างกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๔๙.๒๕ ของแผน (๖) มีความสามารถขององค์กรในการ บริหาร กากับและประเมินผล ที่สอดคล้องกับระบบของกระทรวงใหม่ ร้อยละ ๖๙.๕๐ ของแผน
  • 14. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๔ ๖. แผนและเป้าหมายการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นการดาเนินงานภายใต้แผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับทบทวน ๖.๓ (ปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๗) โดยสาระสาคัญของแผนกลยุทธ์ฉบับทบทวนนี้ สวทช. มุ่งเน้นการวิจัยและสร้างนวัตกรรมในสาขาที่ สวทช. มีความเชี่ยวชาญ และพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของ สวทช. ในสาขาที่ตอบสนองต่อโจทย์ประเทศ และ รองรับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต รวมถึงการผลักดันให้ภาครัฐและเอกชนมีการลงทุนในการ วิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้วยการปรับปรุงกลไกสนับสนุนการลงทุนในด้านนวัตกรรม สร้างการ เชื่อมโยงกับพันธมิตรในภูมิภาค ภาคี สถาบันการศึกษา ในการนา วทน. ไปขยายผลในภูมิภาค สร้าง showcase ของประเทศในพื้นที่ EECi, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้ ตลอดจนเพิ่มสมรรถภาพในการปรับตัวขององค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ตาม ๗ กลุ่มภารกิจ สวทช. ซึ่งประกอบด้วย (๑) กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม (วทน.) (๒) กลุ่มบริหารการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (RDI Management) (๓) กลุ่มสร้างเสริม ความสามารถในการแข่งขัน (๔) กลุ่มสร้างเสริมขีดความสามารถเกษตรชุมชน (๕) กลุ่มบริหารและส่งเสริม เขตนวัตกรรม (๖) กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย และ (๗) กลุ่มบริหารและสนับสนุน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๖.๑ กลุ่มวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) เป้าหมาย เพื่อสร้างขีดความสามารถการพัฒนาเทคโนโลยีให้อยู่ในระดับแนวหน้า หรือสร้างความเข้มแข็ง ในสาขาความเชี่ยวชาญอย่างชัดเจน เพื่อนาไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับภาคอุตสาหกรรม หรือตอบโจทย์การพัฒนา ประเทศด้วยการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรม ใน ๕ สาขาเทคโนโลยีหลัก (Pillars) ได้แก่ (๑) วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) (๒) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์และวิศวกรรม (Materials and Engineering Technology) (๓) เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศ (Electronics and Information Technology) (๔) นาโนศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี (Nanoscience and Nanotechnology) และ (๕) เทคโนโลยีพลังงาน (Energy Technology) รวมถึงงานตามวาระแห่งชาติ (Agenda Based) ตลอดจน การพัฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (National S & T Infrastructure) และ โครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ (National Quality Infrastructure) ๖.๑.๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และเทคโนโลยีชีวภาพ (Bioscience and Biotechnology) เป้าหมายเพื่อ พัฒนา เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร การพัฒนาพันธุ์ พืช สัตว์ และสัตว์น้า ให้ได้พันธุ์ดี การจัดการระบบการเพาะปลูกพืช การเพาะเลี้ยงสัตว์อย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรม ที่ตอบโจทย์ความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมส่วนผสมฟังก์ชั่น (เช่น อุตสาหกรรมอาหารเสริม โปรไบโอติก และ เครื่องสาอางเพื่อการรักษา) อุตสาหกรรมไบโอรีไฟเนอรี อุตสาหกรรมการตรวจวินิจฉัยทางชีวภาพ และ อุตสาหกรรม สุขภาพและความงาม โดยแผนการดาเนินงาน และผลงานส่งมอบ ดังนี้
  • 15. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๕ แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓ การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชออกแบบได้ ได้แก่ ข้าว และมะเขือเทศ เพิ่มประสิทธิภาพการปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์ ที่มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น ต้านทานแมลง - มะเขือเทศผลใหญ่ต้านทานต่อโรคใบหงิกเหลือง และโรคเหี่ยวเขียว ๑-๒ สายพันธุ์ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกและการจัดการพืชสมัยใหม่ ใช้เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืชให้ได้พันธุ์ดีภายใต้ ระบบปลอดโรค ด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (tissue culture) - สับปะรดลูกผสม ๑ สายพันธุ์ - กระบวนการผลิตต้นพันธุ์ขมิ้นชันปลอดโรคด้วยการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเจริญ และวิธีการทดสอบความ ปลอดโรคแบบรวดเร็วด้วย PCR based ร่วมกับ ELISA พัฒนาเทคโนโลยีการปลูกพืชใน Plant Factory ซึ่งเป็นการปลูกพืชที่สะอาดและมีความปลอดภัยสูง มีปริมาณสารสาคัญสม่าเสมอ ปราศจากการ ปนเปื้อนของโลหะหนักและปลอดโรค - ระบบ Plant Factory ที่เลือกใช้แสง/ธาตุอาหาร ที่เหมาะสมในระยะ vegetative และระยะ reproductive กึ่งอัตโนมัติ สาหรับปลูกฟ้าทะลายโจร - เทคโนโลยีการขยายพันธุ์ใบบัวบกในระบบ bioreactor การวิจัยและพัฒนาระบบเลี้ยงสัตว์น้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาต้นแบบระบบเพาะเลี้ยงสัตว์น้าแบบ หมุนเวียนเชิงพาณิชย์ - ระบบบาบัดสาเร็จรูปสาหรับบ่อเลี้ยงปลาแบบ น้าหมุนเวียนที่สามารถผลิตออกจาหน่ายเชิงพาณิชย์ - ระบบบ่อเลี้ยงกุ้งระบบปิด ความหนาแน่นสูง ที่มี ระบบบาบัดไนตริฟิเคชัน พัฒนาระบบการอนุบาลลูกกุ้งแบบอัตโนมัติ - ต้นแบบระบบผลิตโคพีพอดปลอดเชื้อก่อโรคและ การใช้โคพีพอดเป็นอาหารลูกกุ้งวัยอ่อน - ระบบผลิตแพลงก์ตอนสัตว์เชิงอุตสาหกรรมสาหรับ ใช้เป็นอาหารสัตว์น้าวัยอ่อน การวิจัยและพัฒนาชุดตรวจด้านการเกษตร อาหาร และการแพทย์ วิจัยและพัฒนาชุดตรวจโรคสัตว์ สาหรับตรวจโรค ใน กุ้ง ปลานิล และปลากะพง - ต้นแบบภาคสนาม LAMP-nanogold สาหรับเชื้อ EHP ในกุ้ง และเชื้อทิลาเปียเลคไวรัส (TiLV) ในปลานิล - molecular & biochemical markers ต่อการ ตอบสนองของสารอาหารในลูกกุ้ง
  • 16. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๖ แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓ วิจัยและพัฒนาชุดตรวจโรคพืช - ต้นแบบภาคสนามชุดตรวจเชื้อ Phytoplasma ในใบอ้อยด้วยเทคนิค LAMP - สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: Multiplex PCR for Begomovirus - ต้นแบบ MAb-ELISA for CGMMV - สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: Hybridoma screening using bead array (Aac) วิจัยและพัฒนาชุดตรวจเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค สารพิษและสารตกค้างในอาหาร - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี DNA-based strip test สาหรับตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารในลักษณะ multiplex detection - ต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการชุดตรวจ microarray strip test สาหรับตรวจหาสารพิษจาก เชื้อราในลักษณะ multiplex detection - Magnetophotonic assay for detection of Listeria monocytogenes - กระบวนการผลิต peptide จาก phage display เพื่อใช้ในการตรวจสารพิษตกค้างในอาหาร (Fumonisins และ Zearalenone) วิจัยและชุดตรวจทางการแพทย์ โรคอุบัติซ้า/ อุบัติใหม่ ที่มีความไวและความจาเพาะสูง - ทรัพย์สินทางปัญญา: LAMP-biosensor สาหรับ เชื้อวัณโรคดื้อยา MDT-TB - ต้นแบบภาคสนาม Real-time LAMP สาหรับ biomarker โรคไตอักเสบ - ต้นแบบงานประดิษฐ์การตรวจวัณโรคในลิงด้วยวิธี MAPIA (Multi-antigens print immunoassay) - ต้นแบบงานประดิษฐ์การตรวจวัณโรคในลิงด้วยวิธี ELISA - กรรมวิธีการตรวจคัดกรองผู้ที่เคยได้รับการติดเชื้อ โรคไข้เลือดออก (antiboty to NS1 protein)
  • 17. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๗ แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓ การวิจัยและพัฒนาสารประกอบในอาหารฟังก์ชั่นและอาหารฟังก์ชั่น วิจัยและพัฒนาโปรตีนเชิงหน้าที่ (Functional Proteins) ที่มีคุณสมบัติแตกต่างจากโปรตีนทั่วไป และมีคุณสมบัติในการยังยั้งแบคทีเรียที่เป็นปัญหา ในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ - เปปไทด์ออกฤทธิ์จากสาหร่ายสไปรูลิน่า เพื่อใช้เป็น แหล่งโปรตีนทดแทนและสารเสริมอาหารในคนและ สัตว์ โดยใช้ฐานข้อมูลจาก SpirPep - ผลทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรค และทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง ด้วยโปรตีนไฮโดรไลเซทเตรียมจากเมล็ดข้าว - สูตรส่วนผสมของโปรตีนไข่ขาวสาหรับใช้ใน ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และในระบบเพาะเลี้ยงปศุสัตว์ (TRL9) - กร ะบว นการ ผ ลิ ต Hydrolyzed Egg Shell Membrane โดยมีข้อมูลสาคัญด้านเคมีกายภาพ และความปลอดภัยทางชีวภาพในการขอ ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ (TRL9) - ได้ข้อมูลสาหรับขอใบอนุญาตกรมปศุสัตว์และยื่นใบ ขออนุญาตต่อกรมปศุสัตว์ เพื่อผลิตเอนไซม์น้าสูตร เข้มข้นสาหรับเป็นสารเสริมชีวภาพสาหรับสัตว์ (TRL8) - ผลิตอาหารและใช้ทดสอบประสิทธิภาพในการ ยับยั้งหรือลดอัตราการตายของกุ้งและปลาที่ติดเชื้อ แบคทีเรียในระดับห้องปฏิบัติการ - ต้นแบบกระบวนการผลิตภัณฑ์เอนไซม์น้าเข้มข้น A-zyme F1 ในระดับ ๑๐๐ ลิตร (TRL7) วิจัยและพัฒนาไขมันเชิงหน้าที่ (Functional Lipids) จากแหล่งใหม่ ๆ เช่น จุลินทรีย์ วัสดุเศษ เหลือจากการแปรรูป เพื่อประยุกต์ใช้ใน อุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์ - ข้อมูลผลการทดสอบประสิทธิภาพ และข้อมูลด้าน ความปลอดภัยของสารเติมแต่งในอาหารสัตว์เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมสารอาหารในระดับ ภาคสนาม (TRL7) - ได้ conceptual design ของสายการผลิตและ เครื่องมือสาหรับการผลิตการผลิต GLA จากเชื้อรา รวมทั้งข้อมูลด้านต้นทุนของผลิตภัณฑ์
  • 18. แผนการดาเนินงานและงบประมาณของ สวทช. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๘ แผนการดาเนินงาน ผลงานส่งมอบปี ๒๕๖๓ วิจัยและพัฒนาคาร์โบไฮเดรตเชิงหน้าที่ (Functional Carbohydrates) - กลุ่ม starch based นาข้าวหรือมันสาปะหลัง มาปรับโครงสร้างให้มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น กลูเต็น - กลุ่ม non starch based ได้จากวัสดุเหลือทิ้ง จากอุตสาหกรรมหรือน้าตาล นามาดัดแปลงให้ ได้คุณสมบัติตามต้องการ เพื่อใช้ในการปรับ เนื้อสัมผัสอาหาร กลุ่ม starch based - ต้นแบบสูตรแป้งผสม โดยใช้ฟลาวมันสาปะหลัง แบบปราศจากไข่และนม - ต้นแบบ resistant maltodextrin เพื่อใช้ในอาหาร ผู้ป่วย/ อาหารเพื่อสุขภาพ ด้วยเทคโนโลยีการ ดัดแปรแป้งด้วยความร้อนร่วมกับกรด - กระบวนการผลิต modified starch แบบ green process ด้วยเทคโนโลยีการดัดแปรแป้งด้วยกรด อินทรีย์ร่วมกับความร้อนแบบแห้ง กลุ่ม non starch based - ผลการทดสอบประสิทธิภาพและการใช้งาน ผลิตภัณฑ์ พรีไบโอติกจากกากมะพร้าวในฟาร์ม ปศุสัตว์ (TRL6) - วิจั ยแล ะพัฒ นาจุ ลินทรี ย์เชิงหน้าที่ (Functional Microbes) เพื่อให้มีคุณสมบัติ เป็นโปรไบโอติก โปรไบโอติก - ต้นเชื้อโปรไบโอติกที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อ E.coli ภาคสนาม (TRL6) - ผลิตภัณฑ์สารเสริมชีวนะสาหรับอาหารสัตว์ พร้อม จัดจาหน่าย (TRL9) - ทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ โปรไบโอติกใน อาหารสัตว์ ในระดับภาคสนาม โดยศึกษาการเพิ่ม ภูมิคุ้มกันและอัตราการรอดของสัตว์ (TRL6) - ข้อมูลการตรวจเอกลักษณ์ของ สปีชีส์ทั้งทางฟีโนไทป์ และจีโนไทป์และด้านความปลอดภัยของสายพันธุ์ยีสต์ สาหรับนาไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร Starter cultures - ต้นเชื้อที่เหมาะสมในการหมักมันสาปะหลัง และ เป็นอาหารสัตว์ระดับภาคสนาม (TRL6) - ต้นแบบผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์เสริมกาบาและสูตร อาหารระดับห้องปฏิบัติการ (TRL 4)