SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
15 มกราคม 2553
                               เวลา 14.00 – 16.30 น.
                           ขอเชิญชมปรากฏการณ




                        สุริยุปราคาบางสวน
                       ณ บานวิทยาศาสตรสิรินธร
                     ดวงอาทิตยถูกบังมากทีสุด 58.0 %
                                          ่
                            เวลา 15:37:53 น.

จัดโดย ฝายสื่อสารวิทยาศาสตร สวทช.
สนับสนุนโดย ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา รังสิต และสถาบันวิจัยดาราศาสตร
แหงชาติ

สอบถามรายละเอียดเพิมเติมไดที่ ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช.
                      ่
โทรศัพท 0 2564 7000 ตอ 1461-2 โทรสาร 0 2564 7000 ตอ 1482 อีเมล thaismc@nstda.or.th
สุริยุปราคาแหงป 2553

                                                                                            ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช.
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คนไทยทั่วประเทศสามารถสังเกตเห็นได เปนสุริยุปราคาแบบบางสวน ตังแตเวลาประมาณ
                                                                   ้
14.00 – 17.00 น.พื้นที่ในเขตภาคเหนือจะเห็นดวงอาทิตยถูกบังมากกวาภาคอื่น จังหวัด
แมฮองสอนเห็นดวงอาทิตยถูกบังมากที่สุด 77.0%
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

         วันที่ 15 มกราคม 2553 จะเกิดปรากฏการณ
“สุริยุปราคาวงแหวน” ขึ้น โดยมีเสนทางแนวคราสวง
แหวนกวางกวา 300 กิโลเมตร โดยเริ่มตนที่ทวีปแอฟ
ริกา ผานประเทศสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ประเทศ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ยูกันดา เคนยา และ
โซมาเลีย แลวเขาสูมหาสมุทรอินเดีย ทวีปเอเชีย ผาน
บังกลาเทศ อินเดีย พมา และเขาสูประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ตลอดเสนทางของแนวคราสใชเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง 45 นาที สําหรับประเทศที่อยูใน
บริเวณที่เงามัวของดวงจันทรพาดผานเปนบริเวณกวาง ไดแก ยุโรปตะวันออก ทวีปแอฟริกา เอเชีย
(รวมทั้งประเทศไทย) และประเทศอินโดนีเซีย โดยจะสังเกตเห็นปรากฏการณครั้งนี้ไดเปนสุริยุปราคา
แบบบางสวน
                                                                             สําหรับในประเทศไทย
                                                                จะสังเกตปรากฏการณครั้งนี้ได
                                                                ทั่ว ทุกภูมิภาค               โดยแตล ะ
                                                                ภู มิ ภ า ค จ ะ เ ห็ น ใ น เ ว ล า ที่
                                                                แตกตางกัน ที่กรุงเทพฯ นั้น
                                                                ดวงจั น ทร จ ะเริ่ ม เคลื่ อ นเข า สู
                                                                สัมผัสที่ 1 ในเวลาประมาณ
                                                                14.00 น. และสิ้นสุดเหตุการณ
                                                                ในเวลา 16.58 น. โดยดวง
                                                                อาทิตยจะถูกดวงจันทรบังมาก
                                                                ที่สุดคิดเปนรอยละ 57.3 ของ
                                                                พื้ น ที่ ด วงอาทิ ต ย ที่ เ วลา 15.37
น. สวนพื้นที่ในภาคเหนือจะสังเกตเห็นปรากฏการณครั้งนี้นานที่สุดคือ ประมาณ 3 ชั่วโมง 6 นาที ที่
จังหวัดแมฮองสอน โดยดวงอาทิตยจะถูกดวงจันทรบดบังมากที่สุดคิดเปนรอยละ 77
           

           ตารางแสดงเวลาการเกิดสุริยุปราคาบางสวนในประเทศไทย 15 มกราคม 2553




        สํ า หรั บ พื้ น ที่ สั ง เกตการณ ภ ายในอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ป ระเทศไทย จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี จะ
สังเกตเห็นดวงจันทรเริ่มเขาสูสัมผัสที่ 1 ในเวลาประมาณ 14.00 น. และสิ้นสุดเหตุการณในเวลา 16.58 น.
โดยดวงอาทิตยจะถูกดวงจันทรบังมากที่สุดคิดเปนรอยละ 57.3 ของพื้นที่ดวงอาทิตยที่เวลา 15.37 น.
เชนเดียวกับการชมที่กรุงเทพฯ แตเวลาอาจจะตางกันเล็กนอยในเศษเสี้ยวของวินนาที
ขอมูลจาก สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ
                                                                                                 11/01/53
                                       //////////////////////////////////////////////

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1461-2 โทรสาร 0-2564-7000 ตอ 1482 อีเมล : thaismc@nstda.or.th

Más contenido relacionado

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Eclipse

  • 1. 15 มกราคม 2553 เวลา 14.00 – 16.30 น. ขอเชิญชมปรากฏการณ สุริยุปราคาบางสวน ณ บานวิทยาศาสตรสิรินธร ดวงอาทิตยถูกบังมากทีสุด 58.0 % ่ เวลา 15:37:53 น. จัดโดย ฝายสื่อสารวิทยาศาสตร สวทช. สนับสนุนโดย ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา รังสิต และสถาบันวิจัยดาราศาสตร แหงชาติ สอบถามรายละเอียดเพิมเติมไดที่ ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช. ่ โทรศัพท 0 2564 7000 ตอ 1461-2 โทรสาร 0 2564 7000 ตอ 1482 อีเมล thaismc@nstda.or.th
  • 2. สุริยุปราคาแหงป 2553 ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช. ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คนไทยทั่วประเทศสามารถสังเกตเห็นได เปนสุริยุปราคาแบบบางสวน ตังแตเวลาประมาณ ้ 14.00 – 17.00 น.พื้นที่ในเขตภาคเหนือจะเห็นดวงอาทิตยถูกบังมากกวาภาคอื่น จังหวัด แมฮองสอนเห็นดวงอาทิตยถูกบังมากที่สุด 77.0% ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วันที่ 15 มกราคม 2553 จะเกิดปรากฏการณ “สุริยุปราคาวงแหวน” ขึ้น โดยมีเสนทางแนวคราสวง แหวนกวางกวา 300 กิโลเมตร โดยเริ่มตนที่ทวีปแอฟ ริกา ผานประเทศสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ยูกันดา เคนยา และ โซมาเลีย แลวเขาสูมหาสมุทรอินเดีย ทวีปเอเชีย ผาน บังกลาเทศ อินเดีย พมา และเขาสูประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ตลอดเสนทางของแนวคราสใชเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง 45 นาที สําหรับประเทศที่อยูใน บริเวณที่เงามัวของดวงจันทรพาดผานเปนบริเวณกวาง ไดแก ยุโรปตะวันออก ทวีปแอฟริกา เอเชีย (รวมทั้งประเทศไทย) และประเทศอินโดนีเซีย โดยจะสังเกตเห็นปรากฏการณครั้งนี้ไดเปนสุริยุปราคา แบบบางสวน สําหรับในประเทศไทย จะสังเกตปรากฏการณครั้งนี้ได ทั่ว ทุกภูมิภาค โดยแตล ะ ภู มิ ภ า ค จ ะ เ ห็ น ใ น เ ว ล า ที่ แตกตางกัน ที่กรุงเทพฯ นั้น ดวงจั น ทร จ ะเริ่ ม เคลื่ อ นเข า สู สัมผัสที่ 1 ในเวลาประมาณ 14.00 น. และสิ้นสุดเหตุการณ ในเวลา 16.58 น. โดยดวง อาทิตยจะถูกดวงจันทรบังมาก ที่สุดคิดเปนรอยละ 57.3 ของ พื้ น ที่ ด วงอาทิ ต ย ที่ เ วลา 15.37
  • 3. น. สวนพื้นที่ในภาคเหนือจะสังเกตเห็นปรากฏการณครั้งนี้นานที่สุดคือ ประมาณ 3 ชั่วโมง 6 นาที ที่ จังหวัดแมฮองสอน โดยดวงอาทิตยจะถูกดวงจันทรบดบังมากที่สุดคิดเปนรอยละ 77  ตารางแสดงเวลาการเกิดสุริยุปราคาบางสวนในประเทศไทย 15 มกราคม 2553 สํ า หรั บ พื้ น ที่ สั ง เกตการณ ภ ายในอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ป ระเทศไทย จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี จะ สังเกตเห็นดวงจันทรเริ่มเขาสูสัมผัสที่ 1 ในเวลาประมาณ 14.00 น. และสิ้นสุดเหตุการณในเวลา 16.58 น. โดยดวงอาทิตยจะถูกดวงจันทรบังมากที่สุดคิดเปนรอยละ 57.3 ของพื้นที่ดวงอาทิตยที่เวลา 15.37 น. เชนเดียวกับการชมที่กรุงเทพฯ แตเวลาอาจจะตางกันเล็กนอยในเศษเสี้ยวของวินนาที ขอมูลจาก สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ 11/01/53 ////////////////////////////////////////////// สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1461-2 โทรสาร 0-2564-7000 ตอ 1482 อีเมล : thaismc@nstda.or.th