SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
1
ฉบับที่ 1 เดือน สิงหาคม 2558
วิสัยทัศน์การวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง
การสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง........................................1
สวทช. ในฐานะผู้บริหารการให้ทุนวิจัยด้านการคมนาคมระบบขนส่งทางราง.................2
การบริหารโปรแกรมวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง พ.ศ. 2556...............3
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ.........................11
ความร่วมมือด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบรางกับต่างประเทศ..............................12
การเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียม........................................................................4
การศึกษาแหล่งก�ำเนิดการเดินทางรูปแบบพิเศษของระบบรถไฟความเร็วสูง
ในประเทศไทย................................................................................................................5
การพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟและชุดทดสอบการท�ำงานของ
หัวรถจักร Alstom.........................................................................................................6
ความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการในระบบการคมนาคมขนส่ง
ทางรางศึกษากรณีการรถไฟแห่งประเทศไทย.................................................................7
การจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบราง...............................................................8
การพัฒนาระบบซ่อมบ�ำรุงและปฏิบัติการขนส่งระบบรางแบบรวม...........................10
ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2556
โครงการจัดตั้งสถาบันฯ และความร่วมมือด้านวิชาการกับต่างประเทศ
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
73/1 อาคาร สวทช. ถนนพระรามที่ 6
แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
จดหมายข่าว
เทคโนโลยีระบบราง
ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558
(Thailand Research Expo 2015)
Railway Technology Newsletter
(Thailand Research Expo 2015)
Railway Technology Newsletter
การสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง
โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ
เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
	 ในนามของเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) อันประกอบด้วยส�ำนักงานคณะ
กรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�ำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สวรส.)ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ(สวทน.)ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
(สพภ.) มีความยินดีที่ สวทช. ได้จัดท�ำจดหมายข่าว (Newsletter) ฉบับพิเศษส�ำหรับงานมหกรรมงานวิจัย
แห่งชาติ 2558 ขึ้น ขอเรียนว่า คอบช. ได้มีแนวทางความร่วมมือด้านการจัดสรรทุนวิจัยโดยการบริหาร
จัดการเพื่อการให้ทุนร่วมกันเป็นการบริหารภายใต้ “แผนงานวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ
พัฒนาประเทศ” ที่มุ่งเน้นให้สามารถแก้ไขปัญหาและขับเคลื่อนการพัฒนาไปในตามทิศทางเดียวกัน
ไม่ซ�้ำซ้อนและให้มองเห็นภาพรวมของงานวิจัยที่ยังไม่ครบถ้วนเพื่อให้ใช้งบประมาณของประเทศที่มีอยู่อย่าง
จ�ำกัด ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
	 คอบช. เริ่มต้นให้การสนับสนุนการวิจัยด้านการคมนาคมขนส่งระบบรางในปี 2556 เป็นต้นมา
โดยก�ำหนดให้ผลการวิจัยที่ได้ต้องมีเป้าหมายของผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์
ได้จริง โดยในระยะแรกได้ท�ำการส�ำรวจข้อมูลงานวิจัยและนักวิจัยที่เห็นว่ามีศักยภาพหรือมีความสนใจใน
ด้านนี้ โดยเฉพาะเกี่ยวกับวิศวกรรม เทคโนโลยี ต่อมาก็ขยายวงขึ้น โดยเห็นว่าการขนส่งระบบรางเป็นเพียง
โครงสร้างทางกายภาพหลักและจ�ำเป็นต้องมีโครงสร้างรอง เช่น ระบบคมนาคมอื่นที่ต้องมาเชื่อมต่อกับ
ระบบหลักโลจิสติกส์รวมไปถึงพัฒนาพื้นที่ชุมชนโดยรอบและระหว่างทางท�ำให้ได้วางแนวทางการวิจัยและ
เป้าหมายซึ่งครอบคลุมการใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ เชิงสังคมและชุมชน เชิงนโยบาย และเชิงวิชาการ
	 มีตัวชี้วัดที่แสดงถึงการบรรลุเป้าหมายใน
ระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในด้านความคุ้ม
ค่า ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลทั้งเชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ เวลา และต้นทุน ตลอดจนมีกลุ่ม
เป้าหมายชัดเจนที่จะน�ำผลผลิตจากงานวิจัยไป
ใช้ประโยชน์ และมีผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ
โดยตรงจากผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยนี้
	 ซึ่งก็ได้เชิญให้เข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัย
ในมิติที่ต่างๆกันไปที่ส�ำคัญคือหลังให้การวิจัยจะน�ำ
มาซึ่งความรู้อันจะท�ำให้ประเทศไทยสามารถพึ่ง
ตนเองได้ในอนาคต ซึ่งขณะนี้ได้มีผลงานวิจัยที่แล้ว
เสร็จและสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริงแล้ว
จ�ำนวน 6 โครงการ และยังมีงานวิจัยอีกจ�ำนวนหนึ่ง
ที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยี
ระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Web : http://www.thairailtech.or.th
E-mail : rail@nstda.or.th
Facebook : http://www.facebook.com/thairailtech
Tel : 0-2644-8150 ext. 81860
Fax : 0-2644-8072
เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
Thailand Research Organizations Network (TRON)
2
การบริหารงาน
การบริหารโครงการวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบรางในสวทช.อยู่ภายใต้การบริหาร
ของฝ่ายบริหารคลัสเตอร์โปรแกรมวิจัย (Cluster Program Management Office: CPMO) ซึ่งใน
ปี 2556 ประกอบด้วย 5 คลัสเตอร์ ได้แก่
1) คลัสเตอร์อาหารและการเกษตร
2) คลัสเตอร์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
3) คลัสเตอร์การแพทย์และสาธารณสุข
4) คลัสเตอร์ทรัพยากร ชุมชนและผู้ด้อยโอกาส
5) คลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ
ซึ่งแต่ละคลัสเตอร์ประกอบด้วยหลายโปรแกรมวิจัย(researchprogram)และแต่ละโปรแกรม
วิจัยประกอบด้วยหลายโครงการวิจัย (research project) ส�ำหรับการคมนาคมขนส่งระบบรางเป็น
โปรแกรมวิจัยหนึ่งในคลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ
โครงสร้างในการท�ำงานของ CPMO ประกอบไปด้วย
1) การบริหารคลัสเตอร์
ในแต่ละคลัสเตอร์จะมี ประธานคลัสเตอร์
(กรณีคลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ คือ
ดร. ชาตรี ศรีไพพรรณ ) ท�ำหน้าที่ในการบริหารให้เกิด
การก�ำหนดทิศทางและเป้าหมายของคลัสเตอร์ สวทช. ให้
สอดคล้องกับทิศทางของคลัสเตอร์ประเทศส่วนการบริหาร
โปรแกรมวิจัยภายใต้คลัสเตอร์ การเสนอแนะแนวนโยบาย
และแนวทางในการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหาร
โปรแกรมการคมนาคมขนส่งระบบราง (บอร์ด 2)
2) การบริหารจัดการโปรแกรมวิจัยภายใต้คลัสเตอร์
แต่ละโปรแกรมวิจัยมีเจ้าภาพ(กรณีโปรแกรมการคมนาคมขนส่งระบบรางคือนายนครจันทศร)
ท�ำหน้าที่ในการสร้างกลยุทธ์การด�ำเนินงานและถ่ายทอดเป็นกิจกรรมแผนงาน เงิน คน ของโปรแกรม
วิจัย รวมทั้งประสานงานและผลักดันให้เกิดโครงการวิจัย รวมถึงกิจกรรมอื่นๆ ตามแผนของโปรแกรม
โดยมีคณะอนุกรรมการเทคนิคที่ท�ำหน้าที่ในการช่วยพิจารณาความเหมาะสมของโครงการวิจัยในเชิง
เทคนิค
3) การบริหารทั่วไปภายใต้ CPMO
รับผิดชอบโดยผู้อ�ำนวยการ CPMO (น.ส.วลัยทิพย์ โชติวงศ์พิพัฒน์)
ท�ำหน้าที่ในการจัดระบบการสนับสนุนต่างๆ
สวทช. ในฐานะผู้บริหารการให้ทุนวิจัยด้านการคมนาคมระบบขนส่งทางราง
โดย ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
(ท�ำหน้าที่รองผู้อ�ำนวยการด้านบริหารจัดการการวิจัย)
นอกจากภารกิจในการบริหารทุนวิจัยมุ่งเป้าฯ
ร่วมกับ คอบช. แล้วยังมีโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนา
เทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ เป็นโครงการ
น�ำร่องซึ่งด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2554 และบรรดา
กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งสถาบันฯ
เช่น การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาองค์ความรู้ด้าน
ระบบราง เป็นต้น ก็อยู่ใน CPMO ด้วย โดยจัดเป็น
โครงการประเภทที่ไม่ใช่งานวิจัย (Non-research
Project) ทั้งนี้ในปี 2556 เป็นการใช้งบประมาณ
ในส่วนของPresidentInitiative(PI)และตั้งแต่ปี2557
เริ่มใช้งบประมาณของ CPMO จนกระทั่งปัจจุบัน
ผลส�ำเร็จของงานวิจัย
การวิจัยมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ประเทศก�ำหนดให้ผลการวิจัยที่ได้ต้องมีเป้าหมายของ
ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมสามารถน�ำไปใช้
ประโยชน์ได้จริงซึ่งในเล่มจะมีรายละเอียดความคืบหน้า
โดยย่อของงานวิจัยแต่ละงาน ส�ำหรับงานวิจัยที่ได้
ด�ำเนินการและส่งมอบให้ผู้ใช้ประโยชน์แล้ว เช่น
แผนงานวิจัยเรื่องความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้
บริการในระบบการคมนาคมขนส่งทางราง ศึกษากรณี
การรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยโครงการ
การศึกษาความต้องการความคาดหวังและความพึงพอใจ
ของผู้ใช้บริการในการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการ
รถไฟแห่งประเทศไทย และการศึกษารูปแบบการให้
บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการและ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ซึ่งได้ส่งมอบให้กับการรถไฟฯน�ำไปใช้เมื่อวันที่5มีนาคม
2558และโครงการพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟ
และชุดทดสอบการท�ำงานของหัวรถจักรAlstomซึ่งได้
ส่งมอบให้กับการรถไฟฯน�ำไปใช้เมื่อวันที่ 6 มีนาคม
2558 ส่วนงานวิจัยอื่น ขณะนี้ก�ำลังด�ำเนินการจวนแล้ว
เสร็จซึ่งจะได้ทยอยส่งมอบให้กับผู้ใช้ประโยชน์ต่อไป
ส่งมอบผลงานวิจัยให้กับการรถไฟแห่งประเทศไทย
3
การบริหารโปรแกรมวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง พ.ศ. 2556
โดย นายนคร จันทศร
ผู้อ�ำนวยการโปรแกรมการคมนาคมขนส่งระบบราง
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง
1)	 เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่สนับสนุนให้การปฏิบัติการด้านระบบรางของประเทศมีประสิทธิภาพ
มีมาตรฐาน มีความปลอดภัยสูง ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม และสร้างความเป็นธรรมให้กับ
ประชาชน รวมถึงมุ่งเศรษฐกิจสร้างสรรค์
2)	 เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีการคมนาคมขนส่งระบบรางและ
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
3)	 เพื่อสร้างและกระจายองค์ความรู้ด้านระบบรางของประเทศในระดับที่พึ่งพาตนเองได้อย่าง
เหมาะสม ตั้งแต่การวางแผนและตัดสินใจด้านนโยบาย การออกแบบและวิศวกรรม การผลิต
ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องการบริหารจัดการและการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่ง
ทางราง
ขอบเขตของโครงการวิจัยมุ่งเป้าปี 2556
	 ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้แต่งตั้งคณะท�ำงานก�ำหนดกรอบการวิจัยด้าน
การคมนาคมขนส่งระบบราง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 โดยมีหน้าที่ในการจัดท�ำโจทย์ กรอบ และ
หัวข้อการวิจัยเร่งด่วนและจัดล�ำดับความส�ำคัญหัวข้อการวิจัยที่ควรให้ทุนประจ�ำปีงบประมาณ 2556
ซึ่งคณะท�ำงานดังกล่าวได้เสนอกรอบวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ
เรื่อง การคมนาคมขนส่งระบบราง ปี 2556 ทั้งสิ้น 9 กรอบวิจัย ได้แก่ กรอบวิจัยที่ 1 ระบบโครงสร้าง
พื้นฐาน กรอบวิจัยที่ 2 การบริการที่เกี่ยวกับการขนส่ง กรอบวิจัยที่ 3 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อระบบการขนส่งทางราง กรอบวิจัยที่ 4 การพัฒนาคนที่เกี่ยวข้องกับระบบราง กรอบวิจัยที่ 5
การปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบและกฎหมาย กรอบวิจัยที่ 6 ระบบการลงทุน กรอบวิจัยที่ 7 ระบบการ
ขนส่งหลายรูปแบบ กรอบวิจัยที่ 8 การจัดการการจราจร และกรอบวิจัยที่ 9 การบริหารจัดการ
	 สวทช. ได้อนุมัติให้การสนับสนุนงานวิจัยในปี 2556 จ�ำนวน 3 โครงการเดี่ยว และ 3 แผน
งาน ซึ่งประกอบด้วยโครงย่อย 10 โครงการ รวมงบประมาณที่อนุมัติทั้งสิ้น 25,322,600 บาท ได้แก่
	 โครงการเดี่ยว 1 : การเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียม
	 โครงการเดี่ยว 2 :การศึกษาแหล่งก�ำเนิดการเดินทางรูปแบบพิเศษของระบบรถไฟความเร็ว
สูงในประเทศไทย
	 โครงการเดี่ยว 3 : การพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟและชุดทดสอบการท�ำงานของ
หัวรถจักร Alstom
	 แผนงานวิจัย1:ความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการในระบบการคมนาคมขนส่ง
ทางราง ศึกษากรณีการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยโครงการย่อย 2 โครงการ คือ โครงการ
ย่อย 1 : ความต้องการ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในการขนส่งผู้โดยสารและ
สินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย และโครงการย่อยที่ 2 : รูปแบบการให้บริการที่ตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้บริการและการบริหารทรัพยากรมนุษย์
	 แผนงานวิจัย 2 : การจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบราง ประกอบด้วยโครงการย่อย
2 โครงการ คือ โครงการย่อยที่ 1 : การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง และ
โครงการย่อยที่ 2 : การรวบรวมองค์ความรู้ด้านขนส่งระบบราง: กรณีศึกษาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
	 แผนงานวิจัย 3 : การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง ประกอบด้วย
โครงการย่อย6โครงการคือ โครงการย่อยที่ 1 :การศึกษาและเปรียบเทียบงานซ่อมบ�ำรุงขนส่งระบบ
รางโครงการย่อยที่2:การศึกษาและเปรียบเทียบระบบการซ่อมบ�ำรุงทางรถไฟและงานโยธาโครงการ
ย่อยที่ 3 : การศึกษาและเปรียบเทียบงานซ่อมบ�ำรุงขบวนรถไฟฟ้าและล้อเลื่อน โครงการย่อยที่ 4 :
การศึกษาและเปรียบเทียบงานซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าก�ำลัง โครงการย่อยที่ 5 : การศึกษาและเปรียบ
เทียบงานซ่อมบ�ำรุงระบบงานอาณัติสัญญาณและโครงการย่อยที่6:การศึกษาและเปรียบเทียบระบบ
การด�ำเนินงานของศูนย์ซ่อมบ�ำรุงรถไฟฟ้า
	 เนื่องจากเป็นปีแรกในการบริหารงานจึงมีความล่าช้าในการท�ำสัญญาระหว่างวช.กับสวทช.
และสวทช.กับสถาบันการศึกษาซึ่งเป็นต้นสังกัดของนักวิจัยโดยเฉพาะในประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ของปี 2556 จึงก�ำหนดแล้วเสร็จในปี 2558
เป็นที่น่าสังเกตว่าข้อเสนอของนักวิจัยไม่ตอบ
สนองกรอบวิจัยทั้งหมดที่ วช. ก�ำหนด มีเพียง 4 ใน 9
กรอบวิจัยที่มีนักวิจัยเสนอขอรับการสนับสนุนนอกจาก
นั้นหลายฝ่ายมีความเห็นว่ากรอบงานวิจัยในปี 2556
ขาดจุดเน้นว่าควรจะให้ความส�ำคัญกับงานวิจัยเรื่องใด
ก่อนหลัง ซึ่งอาจไม่ช่วยให้เกิดการพัฒนาระบบขนส่ง
ทางรางอย่างมีนัยส�ำคัญดังนั้นเพื่อให้การสนับสนุนงาน
วิจัยปีต่อๆไปมีจุดเน้นที่สามารถใช้งบประมาณการวิจัย
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบโจทย์เรื่องการ
พัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ สวทช. จึงจัดให้
มีการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการขึ้น เมื่อวันที่ 6-7
กันยายน 2556 ซึ่งที่ประชุมได้รับทราบประเด็นปัญหา
ของระบบรางและระดมความคิดเห็นเพื่อจัดท�ำแผน
ยุทธศาสตร์งานวิจัยในปีต่อไปได้3กลุ่มยุทธศาสตร์และ
9 กรอบการวิจัย
	 ข้อมูลจากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการดัง
กล่าวจะเป็นข้อมูลที่คณะกรรมการจัดท�ำกรอบวิจัยซึ่ง
วช. แต่งตั้งขึ้นน�ำไปจัดท�ำกรอบที่จะประกาศให้นักวิจัย
ยื่นข้อเสนอขอรับการสนับสนุนในปี 2557 ต่อไป
กลุ่มยุทธศาสตร์ที่1นโยบายและแผนระบบราง
ที่ตอบโจทย์ (Sound Policy & Planning) ประกอบ
ด้วย 3 กรอบงานวิจัย คือ 1) กรอบการวิจัยด้านกฎ
ระเบียบและกฎหมาย 2) กรอบการวิจัยด้าน นโยบาย
การลงทุนเรื่องต่างๆ ด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง
3)กรอบการวิจัยด้านการพัฒนาแบบบูรณาการที่เอื้อต่อ
การใช้ระบบขนส่ง
กลุ่มยุทธศาสตร์ที่2การตอบโจทย์ทางเทคโนโลยี
เพื่อยกระดับความมั่นคงและบริการทางราง(Technical
Solution for Security & Better Service) ประกอบ
ด้วย 3 กรอบงานวิจัย คือ 1) กรอบการวิจัยด้านการ
พัฒนามาตรฐาน/การทดสอบ/การรับรองการผลิตชิ้น
ส่วนรถไฟ 2) กรอบการวิจัยด้านการพัฒนาระบบ
3) กรอบการวิจัยด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการเดินรถ
กลุ่มยุทธศาสตร์ที่3การสร้างความสามารถเพื่อ
การพัฒนาระบบรางที่ยั่งยืน (Capacity Building to-
ward Sustainability) ประกอบ ด้วย 3 กรอบงานวิจัย
คือ 1) กรอบการวิจัยด้านการพัฒนาบุคลากรด้านการ
คมนาคมขนส่งระบบราง 2) กรอบการวิจัยด้านการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี 3) กรอบการวิจัยด้านการพัฒนา
อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนรถไฟในประเทศ
4
ข. เชื่อมด้วยลวดเชื่อม 4043
แสดงการแตกหักของชิ้นงานที่ทดสอบการดัดงอ
ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2556
โครงการเดี่ยว 1 : การเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียม
รหัสโครงการ P-13-00751
บทน�ำ
	 ในปัจจุบันการคมนาคมขนส่งทางรางก�ำลังมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาประเทศในหลายๆ
ด้าน การขนส่งทางรางจัดเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงและประหยัด ระบบโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะ
ตัวรถไฟหรือตู้โดยสาร (Rolling stocks) จึงมีความส�ำคัญทั้งในด้านการผลิต (Production) และการ
ซ่อมบ�ำรุง (Maintenance) เป็นอย่างมาก ปัจจุบันตู้รถไฟผลิตมาจากโลหะในกลุ่มอะลูมิเนียมผสมเป็น
หลัก เช่น อะลูมิเนียมผสมในกลุ่ม 6xxx เนื่องจากอะลูมิเนียมผสมมีน�้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงดี
	 อย่างไรก็ตามเมื่อรถไฟเกิดอุบัติเหตุหรือเกิดความเสียหาย (รูปที่ 1 และรูปที่ 2) ก็จะมีการ
เชื่อมซ่อมตามมา ซึ่งกรรมวิธีการเชื่อมซ่อมที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลต่อความแข็งแรงและการใช้งานทาง
วิศวกรรม แนวเชื่อมอะลูมิเนียมเป็นตัวรับความแข็งแรงของชิ้นส่วนตัวรถไฟ
วิธีการทดลอง
	 โครงการวิจัยนี้ศึกษาการเชื่อมซ่อมอลูมิเนียมผสมเกรด 6082T6 ด้วยลวดเชื่อม 2 ชนิด ได้แก่
5356 และ 4043 โดยวิธีการเชื่อมมิกและวิเคราะห์ความสมบูรณ์ของแนวเชื่อมโดยวิธีทางโลหะวิทยา
และวิเคราะห์สมบัติทางกลของแนวเชื่อม ได้แก่ ค่าความแข็งแรงดึง (Joint Tensile Strength) และ
การดัดงอ(Bendtest)เพื่อน�ำผลจากงานวิจัยมาปรับปรุงและเป็นฐานข้อมูลทางวิศวกรรมในการก�ำหนด
เลือกใช้กรรมวิธีการเชื่อมและตัวแปรการเชื่อมที่เหมาะสม (Welding Procedure Specification for
Repair Welding, WPS) เพื่อใช้งานในการเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียมต่อไป
หัวหน้าโครงการ : ผศ.ดร.ประภาศ เมืองจันทร์บุรี
ผู้ช่วยผู้วิจัย : นายศุภชัย สุขเวช
ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผลการวิจัย
การศึกษาสมบัติเชิงโลหะวิทยาของการเชื่อม
ซ่อมอะลูมิเนียม6082T6ด้วยลวดเชื่อม5356และลวด
เชื่อม 4043 พบว่าลักษณะทางกายภาพของแนวเชื่อม
ทุกกรณีมีความสมบูรณ์ดีโครงสร้างในระดับมหภาคทุก
กรณีมีการซึมลึกที่ดี พบรูพรุนในกรณีการเชื่อมซ่อม
มากกว่าการเชื่อมใหม่ และโครงสร้างในระดับจุลภาค
ของการเชื่อมอะลูมิเนียม6082T6ทั้งการเชื่อมใหม่และ
การเชื่อมซ่อม มีลักษณะที่คล้ายกันทุกกรณี ส�ำหรับผล
การวิจัยการศึกษาสมบัติเชิงกลพบว่าการเชื่อมซ่อม
อะลูมิเนียม6082T6ด้วยลวดเชื่อม5356มีความเหมาะ
สมกว่าการเชื่อมซ่อมด้วยลวดเชื่อม4043แม้ว่าค่าความ
แข็งแรงดึงของแนวเชื่อมจะใกล้เคียงกันแต่ผลการดัดงอ
ของการเชื่อมซ่อมด้วยลวดเชื่อม5356ให้ผลที่ดีกว่าลวด
เชื่อม 4043 อย่างชัดเจน แสดงดังรูปที่ 3 สาเหตุของ
การแตกหักในกรณีลวดเชื่อม 4043 เนื่องจากรูพรุนใน
แนวเชื่อม (Porosities) และค่าความเหนียวที่ต�่ำ และ
จากการทดสอบค่าความแข็งของแนวเชื่อมทุกกรณี พบ
ว่าบริเวณที่อ่อนตัว (Softened zone) คือบริเวณที่ได้
รับผลกระทบเนื่องจากความร้อน (Heat Affected
zone, HAZ) หรือบริเวณข้างแนวเชื่อม ซึ่งมีระยะห่าง
จากกลางเนื้อเชื่อมประมาณ 6-8 มิลลิเมตร
บทสรุป
จากผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า สามารถเชื่อม
ซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียมได้โดยใช้ตัวแปรที่ถูกต้อง
ตามข้อก�ำหนดการเชื่อม (WPS) โดยควรเลือกใช้ลวดเชื่อม
ชนิด 5356 โดยแนวเชื่อมซ่อมให้ค่าความแข็งแรงและผล
การดัดงอที่เหมาะสมตามมาตรฐาน
รูปที่ 1 แสดงความเสียหาย
ซึ่งต้องมีการเชื่อมซ่อม
รูปที่ 2 รถไฟที่รอการซ่อม
ในโรงงานมักกะสัน
ก. เชื่อมด้วยลวดเชื่อม 5356
แสดงการทดสอบการดัดงอที่สมบูรณ์
รูปที่ 3 แสดงผลการดัดงอแนวเชื่อมซ่อมของอะลูมิเนียม 6082T6
5
โครงการเดี่ยว 2 :
การศึกษาแหล่งก�ำเนิดการเดินทางรูปแบบพิเศษของระบบรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย
Special Trip Generators of High Speed Rail System in Thailand
รหัสโครงการ P-13-00756
บทน�ำ
	 การจ�ำลองสภาพการเดินทางของผู้โดยสารเพื่อการวางแผนงานด้าน
คมนาคมขนส่งของรัฐ พึ่งพาแบบจ�ำลองด้านการขนส่งและจราจร ซึ่งพัฒนาโดย
ส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2538 ข้อจ�ำกัดของโมเดลปัจจุบันคือในโมเดลย่อย การก่อก�ำเนิดการเดินทาง
(TripGeneration)จ�ำนวนเที่ยวการเดินทางที่ก่อก�ำเนิดขึ้นหรือถูกดึงดูดเข้าสู่พื้นที่
การเดินทางย่อย (Travel Zone) ตามวัตถุประสงค์การเดินทางต่าง ๆ ถูกประมาณ
การขึ้นโดยอาศัยอัตราการเดินทาง (Trip Rates) หรือความสัมพันธ์ระหว่างอัตรา
การเดินทางดังกล่าว กับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตัวแปรสังคมและเศรษฐกิจ
ที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่การเดินทางย่อยซึ่งวิเคราะห์
ขึ้นโดยอาศัยการส�ำรวจ การจ�ำแนกประเภทแบบไขว้ (Cross-Classification
Analysis) หรือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression Analysis)
นอกจากนี้ ในโมเดลการก่อก�ำเนิดการเดินทาง และการกระจายการเดินทาง ได้มี
การปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานจากระบบเดิมซึ่งยังไม่มีระบบรถไฟความเร็วสูงอยู่
จึงท�ำให้ละเลยข้อมูลความต้องการเดินทางที่ถูกชักน�ำ(InducedTravelDemand)
ซึ่งประกอบไปด้วย ความต้องการเดินทางแฝง (Latent หรือ Suppressed
Demands)จากข้อจ�ำกัดของรูปแบบการเดินทางที่มีอยู่เดิมและข้อมูลความต้องการ
เดินทางที่ถูกชักน�ำจากการมีระบบใหม่
วัตถุประสงค์และวิธีการ
	 โครงการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจ�ำลองแหล่งก�ำเนิดการเดิน
ทางพิเศษ (Special Trip Generator) รอบพื้นที่สถานีปลายทางรถไฟความเร็วสูง
เพื่อใช้ในการปรับปรุงพารามิเตอร์ที่ใช้ในแบบจ�ำลองการเดินทางและการขนส่งของ
ประเทศให้มีความทันสมัยถูกต้องมากยิ่งขึ้นและประเมินความต้องการเดินทางที่ถูก
ชักน�ำ (Induced Travel Demand) ส�ำหรับระบบรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย
งานวิจัยนี้อาศัยแนวคิดในการบูรณาการโครงสร้างแบบจ�ำลองการเดินทางระหว่าง
เมืองแบบดั้งเดิมที่ประกอบไปด้วยแบบจ�ำลองย่อยสี่ขั้นตอน ได้แก่ การก�ำเนิดการ
เดินทาง การกระจายการเดินทาง การเลือกรูปแบบการเดินทาง และการแจกแจง
การเดินทาง ให้อธิบายได้ภายในแบบจ�ำลองเดียวซึ่งอธิบายได้โดยความสามารถใน
การเข้าถึงระบบซึ่งพัฒนามาจากค่าอรรถประโยชน์ในแบบจ�ำลองการเดินทางแบบ
แยกย่อย ซึ่งมักใช้ในการจ�ำลองพฤติกรรมการเดินทางส�ำหรับการแข่งขันระหว่าง
ระบบรางและรูปแบบการเดินทางอื่นๆ(แบบจ�ำลองหลายรูปแบบการเดินทาง)และ
หรือ ระหว่างการให้บริการระบบรางด้วยกัน เช่น ระหว่างรถไฟระหว่างเมืองและ
รถไฟความเร็วสูง (แบบจ�ำลองการแข่งขันหลายบริการ)
หัวหน้าโครงการ : ดร. เอกชัย ศิริกิจพาณิชย์กูล
ผู้ช่วยผู้วิจัย : ดร. สรินธร วิญญูประดิษฐ์ ดร. ปาริชาติ พัฒนเมฆา
รศ.ดร. อ�ำพล การุณสุนทวงษ์ ผศ.ดร. ศักรธร บุญทวียุวัฒน์ รศ.ดร. ชวเลข วณิชเวทิน
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เนื้อหาโดยย่อ
งานวิจัยนี้ท�ำการสุ่มสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้ที่เคยและก�ำลังเดิน
ทางในแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต คือ
กรุงเทพมหานคร – สระบุรี – นครราชสีมา – ขอนแก่น – อุดรธานี และ
หนองคายจ�ำนวน6,000ตัวอย่างโดยอาศัยการส�ำรวจความชอบที่ถูกระบุ
จ�ำแนกสัดส่วนตามคู่การเดินทาง 30 คู่และรูปแบบการเดินทาง 4 รูปแบบ
ได้แก่ รถยนต์ส่วนบุคคล รถโดยสารสาธารณะ รถไฟ และเครื่องบิน
ที่สอดคล้องกับการประมาณการเดินทางโดยแบบจ�ำลองการเดินทางระดับ
ชาติ ซึ่งพัฒนาโดย สนข. แบบจ�ำลองที่พัฒนาขึ้นสามารถที่จะแสดงค่า
อรรถประโยชน์ในการเลือกรูปแบบการเดินทางและเส้นทางซึ่งใช้เป็นมาตร
ในการวัดความสามารถในการเข้าถึงระบบรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเมื่อน�ำไป
รวมกับแบบจ�ำลองการก�ำเนิดการเดินทางแล้วจะสามารถระบุถึงปริมาณ
ความต้องการเดินทางที่ถูกชักน�ำได้ งานวิจัยชิ้นนี้ ยังได้พัฒนาแบบจ�ำลอง
แหล่งก�ำเนิดการเดินทางพิเศษ โดยน�ำเอาปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ปริมาณผู้โดยสาร สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในสถานี จ�ำนวนช่องจอดรถ
และจ�ำนวนทางเข้าออกมาใช้ประกอบการพิจารณาโดยมีการส�ำรวจข้อมูล
ปริมาณการเดินทางเข้าสู่สถานีรถไฟหลักทั่วประเทศ จ�ำนวน 26 สถานี
จ�ำแนกตามรูปแบบการเข้าถึงสถานีเช่นการเดินเท้าการขี่จักรยานรถยนต์
รถโดยสารประจ�ำทางและระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
บทวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณผู้โดยสารและจ�ำนวนร้านค้า เป็นตัวแปร
หลักที่ใช้อธิบายปริมาณการเดินทางเข้าสู่สถานีซึ่งอธิบายได้โดยอาศัยแบบ
จ�ำลองถดถอยหลายตัวแปรและพบด้วยว่าประเภทของร้านค้าและเวลาใน
การเดินทางมาถึงสถานีก่อนออกเดินทางจริงแตกต่างกันไปตามรูปแบบการ
เดินทางที่ใช้อยู่เดิมก่อนมาใช้ระบบรถไฟความเร็วสูงซึ่งอธิบายได้โดยแบบ
จ�ำลองโลจิตทวินามที่ถูกพัฒนาขึ้น โดยปัจจัยด้านการเดินทาง และปัจจัย
ด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งอธิบายได้โดยอาศัยแบบจ�ำลองโลจิตพหุนามที่
ถูกพัฒนาขึ้น
บทสรุป
ประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยนี้ท�ำให้ทราบถึงความต้องการในการ
เดินทางโดยรถไฟความเร็วสูงในอนาคต ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่ช่วยให้ผู้
บริหารประเทศสามารถตัดสินใจวางแผนและจัดล�ำดับความส�ำคัญการ
ลงทุนโครงการรถไฟความเร็วสูงเส้นทางต่างๆในอนาคตรวมไปถึงการ
วางผังเมืองและออกแบบระบบให้มีความสอดคล้องกับอุปสงค์และความ
พึงพอใจของประชาชนที่คาดว่าจะมาใช้ระบบ ให้ถูกต้องตามหลักทาง
วิชาการ น่าเชื่อถือ เป็นสากล ทันสมัย และลดความเสี่ยงจากการ
สูญเสียอันเนื่องมาจากการประมาณการที่ผิดพลาดลงได้อันจะช่วย
ให้การจัดสรรงบประมาณเป็นไปอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
6
โครงการเดี่ยว 3 :
การพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟและชุดทดสอบการท�ำงานของหัวรถจักร Alstom
บทน�ำ
	 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้เปิดด�ำเนินกิจการรถไฟมาเป็นเวลา 118 ปี
ซึ่งได้มีการก่อตั้งโรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ เมื่อ พ.ศ. 2480 เป้าหมายอย่างหนึ่งของ
โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟได้แก่การฝึกอบรมและให้ความรู้พนักงานขับรถไฟ(พขร.)
ใหม่ด้วยชุดจ�ำลองการขับรถไฟด้วยหัวรถจักรเดิมซึ่งได้ใช้มาเป็นระยะเวลา20กว่า
ปีขาดความทันสมัยซึ่งปัจจุบันเทคโนโลยีด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้มีการพัฒนา
ไปอย่างมาก ชุดจ�ำลองส่วนมากจะสั่งซื้อจากต่างประเทศ ยังไม่มีการสร้างขึ้นเอง
พร้อมทั้งมีราคาแพง ยากต่อการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ในประเทศ โครงการ
วิจัยนี้จึงเป็นการสนับสนุนการพัฒนาการฝึกหัดขับรถไฟให้มีความสมบรูณ์แบบมาก
ยิ่งขึ้น ซึ่งจะประกอบไปด้วย 2 ส่วนที่ส�ำคัญ คือ ชุดจ�ำลองการฝึกของนักเรียน และ
ชุดการเรียนรู้จากครูฝึก จะเป็นรูปแบบการจ�ำลองหัวรถจักรจริง ที่มีลักษณะทาง
กายภาพเสมือนจริง พขร. จะถูกควบคุมและดูแลจาก ครูฝึก ด้วยวิธี On-The-Job-
Training รวมทั้ง การจ�ำลองสถานการณ์ต่างๆ ให้ นักศึกษา พขร. ได้ฝึกทักษะใน
การแก้ไขปัญหา ตามข้อก�ำหนด เพื่อให้ครูฝึกประเมินความสามารถในการขับรถไฟ
จ�ำลอง ว่าอยู่ในระดับใด ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาระบบจ�ำลองการขับรถไฟ
และสร้างบทเรียนทดสอบการขับด้วยหัวรถจักรAlstomสามารถใช้ในการฝึกอบรม
พนักงานขับรถไฟ ให้มีทักษะในการขับและการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.	 พัฒนาระบบชุดฝึกรถไฟจ�ำลองหัวรถ Alstom บนระบบ PC โดยคอมพิวเตอร์
หลักเป็น SERVER จ�ำนวน 2 ชุด ส�ำหรับนักเรียน และครูฝึก ผ่านระบบเราเตอร์
อินเตอร์เน็ต ด้วยระบบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาด้วยโปรแกรม SQL ที่รับข้อมูลผ่าน
ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างอุปกรณ์ควบคุมการขับรถไฟ
ชุดควบคุมแบบง่ายจะนิยมใช้ Arduino Board ซึ่งเป็น Platform i/o พร้อม
การเรียนรู้โดยตัวบอร์ดจะมาพร้อมกับชุดค�ำสั่ง Port i/o ไม่ว่าจะเป็น Port
digital, Port Analog, PWM, Serial Port เป็นต้น
2.	 พัฒนาระบบชุดฝึกจ�ำลองการตรวจสภาพหัวรถจักรก่อนท�ำการขับและการซ่อม
บ�ำรุง การตรวจสอบก่อนขับหัวรถจักร ประกอบด้วย ส่วนด้านหน้า ด้านซ้าย
ด้านขวาด้านบนด้านหลังรวมถึงการจ�ำลองสถานการณ์จ�ำนวน28สถานการณ์
ในการแก้ไข้ปัญหาและการซ่อมบ�ำรุง เมื่อเกิดเหตุขัดข้องในระหว่างขับรถไฟ
3.	 พัฒนาระบบชุดฝึกจ�ำลองหัวรถจักรแบบเสมือนจริง ด้วยหัวรถจักร Alstom
การฝึกจะมีจอแสดงผลหลักจ�ำนวน2ชุดชุดการฝึกจะเป็นระบบMultimedia
การควบคุมระบบจะจ�ำลองด้วยระบบดิจิตอลและเป็นลักษณะ Touch Screen
ในระบบตรวจสอบจะประกอบไปด้วย Switch gear 8 เกียร์, Switch drive 3
ทาง, Key, Switch off Buzzer, Switch control เป็นต้น
หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี
ภาควิชาวิศวกรรมการผลิต คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เนื้อหาโดยย่อ
ชุดฝึกจ�ำลองหัวรถจักร Alstom
นั้นจ�ำลองการขับเสมือนจริง ทั้งความเร็ว
ภาพเคลื่อนที่และเสียงภาพที่ถ่ายจากเส้น
ทางจริงเป็นภาพวีดิโอ 1920 x 1080p ถูกน�ำมาพัฒนาให้สามารถแสดง
ภาพที่เสมือนจริงโดยการตัดภาพออกเป็นภาพขนาดเล็กและน�ำมาต่อแสดง
เป็นภาพต่อเนื่องด้วยโปรแกรมแสดงภาพที่ขนาด 29 เฟรมต่อวินาที ชุดครู
ฝึกสามารถจะเห็นภาพเส้นทางการขับที่เชื่อมโยงมาจากหน้าจอนักเรียน
โดยนักเรียนจะต้องขับชุดจ�ำลองที่สถานีเริ่มต้นผ่านสถานีที่สองไปถึงสถานี
สุดท้าย ได้แก่ สถานีปางอโศก บันไดม้าและปากช่อง เส้นทางขับจะแสดง
ทางจริงที่ผ่านสถานีต่างๆ จุดตัด เส้นทางข้ามทางรถไฟ ป้ายบอก
อาณัติสัญญาณต่างๆนักเรียนจะต้องขับชุดจ�ำลองด้วยความเร็วที่เหมาะสม
ตามเส้นทางจริง การจอด การเข้าสถานี การออกจากสถานี และขับขึ้นเนิน
ลงเนิน ครูฝึกสังเกตพฤติกรรมการขับของนักเรียนผ่านกล้อง CCTV และ
พฤติกรรมจริง และท�ำการประเมินผลการทดสอบ การควบคุมความเร็ว
แต่ละระยะการขับจะถูกบันทึกและแสดงเป็นเส้นกราฟส�ำหรับใช้ในการ
วิเคราะห์และการพัฒนาการฝึกในอนาคต
บทวิเคราะห์
งานวิจัยชุดนี้ เพื่อพัฒนาระบบการขับรถไฟจ�ำลองด้วยหัวรถจักร
Alstomโดยการออกแบบหัวรถจักรแบบถอดประกอบได้(CKD-component
knock Down) สามารถถอดประกอบและเคลื่อนย้ายง่าย รวมทั้งพัฒนา
ระบบอินเตอร์เฟสระหว่างอุปกรณ์ในห้องพนักงานขับรถจักรจริงของ
Alstomและระบบซอฟต์แวร์ อย่างไรก็ตามงานวิจัยชุดนี้ด�ำเนินการส�ำเร็จ
ตามวัตถุประสงค์ใช้งานตามฟังชั่นที่ก�ำหนดไว้ในงานวิจัย แต่จ�ำเป็นต้องมี
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระบบที่เสมือนจริงอื่นๆ ที่ยังขาด เช่น การสั่น
สะเทือน ระบบไฟฟ้าต่างๆ ควรจะมีการพัฒนาในอนาคตอย่างต่อเนื่อง
รูปที่ 2 แสดงรายละเอียดหน้าจอ
คอมพิวเตอร์คนขับ
รูปที่ 1 ติดตั้งในพื้นที่ใช้งานจริง
ณ การรถไฟแห่งประเทศไทย
รหัสโครงการ P-13-00902
บทสรุป
ชุดฝึกจ�ำลองหัวรถจักรAlstomนั้นนอกจากจะท�ำการฝึกเสมือน
จริง ทั้งความเร็ว ภาพเคลื่อนและเสียง การพัฒนาระบบจ�ำลองการขับ
รถไฟและสร้างบทเรียนทดสอบ ซึ่งจะสามารถฝึกอบรม พขร. ใหม่ โดย
การควบคุมเพื่อสร้างความช�ำนาญในการขับรถไฟแล้วนั้นยังเป็นการส่ง
เสริมงานวิจัยภายในประเทศ ให้พัฒนาอย่างต่อเนื่องไปสู่ภาคกลุ่ม
อุตสาหกรรมและผู้ให้บริการรายอื่น เช่น บริษัทการขนส่งมวลชน
กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน), การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
(รฟม.), บริษัทรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ำกัด รวมทั้งจะกระตุ้นให้ตระหนักถึง
ความปลอดภัยของผู้โดยสาร จะก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างปัจจัย
3 ประการขึ้น คือ 1.ความพร้อมใช้งานของระบบ (Availability)
2.ความน่าเชื่อถือของระบบ (Reliability) 3.ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการบ�ำรุง
รักษา (Maintenance) และสิ่งส�ำคัญอีกอย่างที่ต้องใส่ใจและขาดมิได้
คือ ความปลอดภัย (Safety)
7
แผนงานวิจัย 1 :
ความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการในระบบการคมนาคมขนส่งทางราง
วัตถุประสงค์
	 1.เพื่อศึกษาความต้องการของผู้ใช้บริการที่เดินทางโดยรถไฟและความต้องการ
ของผู้มีศักยภาพในการเดินทาง 2. เพื่อศึกษาความต้องการของผู้ใช้บริการที่ขนส่งสินค้า
โดยรถไฟ 3. เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการที่เดินทางโดยรถไฟ และความคาด
หวังของผู้ที่มีศักยภาพในการเดินทาง 4. เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการในการ
ขนส่งสินค้าโดยรถไฟ5.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่เดินทางโดยรถไฟและ
ผู้ใช้บริการสินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย6.เพื่อศึกษาทัศนคติของพนักงานในการ
ให้บริการผู้โดยสาร
วิธีการด�ำเนินการ
	 ด�ำเนินการวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed-methods research) เครื่องมือในการ
เก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์จากผู้ใช้บริการจ�ำนวน1,826คน
ผู้ประกอบการขบวนรถสินค้า จ�ำนวน 21 ราย
วัตถุประสงค์
	 1. เพื่อศึกษาและสังเคราะห์ประเด็นที่ควรปรับปรุงคุณภาพการให้บริการใน
การขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย2.เพื่อศึกษาและสังเคราะห์
ปัญหาและข้อจ�ำกัดในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟแห่ง
ประเทศไทย 3. เพื่อเสนอรูปแบบการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟ
แห่งประเทศไทย และ 4. เพื่อศึกษาการคัดเลือก การฝึกอบรม และการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายการเดินรถ และเสนอวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ (การคัดเลือก การฝึกอบรม และการประเมินผลการปฏิบัติงาน) ให้กับ
การรถไฟแห่งประเทศไทย
วิธีการด�ำเนินการ
	 วิธีการศึกษาใช้การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ(MixedMethods)
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือพนักงานฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย
จ�ำนวน 4,035 คน สุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มอย่างมีระบบ
(SystematicSampling)ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้ตัวอย่างในการศึกษาทั้งสิ้นจ�ำนวน
581คนโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผลข้อมูลในเชิงสถิติ
ผลการศึกษา
	 ผลการวิจัยพบว่า (1) การรถไฟแห่งประเทศไทยควรปรับปรุงคุณภาพการให้
บริการที่สถานีโดยภาพรวม 3 ล�ำดับแรกดังนี้ 1) ด้านความสะอาดที่สถานี 2) ด้านเวลา
ในการให้บริการ 3) ด้านพนักงาน (2) การรถไฟแห่งประเทศไทยควรปรับปรุงคุณภาพ
การให้บริการบนขบวนรถโดยภาพรวม 3 ล�ำดับแรกดังนี้ 1) ด้านความสะอาด 2) ด้าน
เวลาในการให้บริการ 3) ด้านลักษณะทางกายภาพ (3) เรื่องที่ควรปรับปรุงคุณภาพการ
ให้บริการของขบวนรถสินค้า มี 3 ล�ำดับดังนี้ 1) หัวรถจักร รถพ่วง 2) ลานขนถ่าย
3) ความตรงต่อเวลา (4) วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ
1)การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์คือการสัมภาษณ์การประเมินออนไลน์และการประเมิน
แบบศูนย์ประเมิน ส่วนวิธีการสัมภาษณ์ควรสัมภาษณ์ในรูปของ
ผู้มีศักยภาพในการใช้บริการ จ�ำนวน 50 ราย สถิติ
เชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน การศึกษาครั้งนี้
จะตั้งระดับความเชื่อมั่น 95% โดยมีระดับนัยส�ำคัญ
ทางสถิติที่ 0.05
คณะกรรมการ การสัมภาษณ์ตัวต่อตัว และการ
สัมภาษณ์เพื่อดูปฏิกิริยาเมื่ออยู่ภายใต้ความกดดัน
2) การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
1. ใช้กรณีศึกษาในการฝึกอบรมโดยหน่วยงานฝึกอบรมขององค์การ
2. ใช้เกมส์ในการฝึกอบรมและสื่อการเรียนรู้แบบ E-Learning โดย
มหาวิทยาลัย 3. ใช้สื่อวีดีโอในการฝึกหัดงานในห้องเรียนเพื่อเชื่อมโยงไปสู่
การฝึกปฏิบัติงานจริง 3) การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การประเมิน
มาตรฐานการท�ำงาน การประเมินแบบ 360 องศา ส่วนผู้ประเมินที่ควร
ประเมินพนักงาน คือ ผู้บังคับบัญชาโดยตรง ผู้ใช้บริการ และเพื่อนร่วมงาน
ผลการศึกษา
	 ผลการศึกษาพบว่าความต้องการอันดับแรกคือความต้องการด้าน
ข้อมูลข่าวสารที่ให้บริการที่สถานี อยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย = 6.50)
ความคาดหวังอันดับแรก คือ ความคาดหวังด้านพนักงานที่บริการผู้โดยสาร
ที่สถานีอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย = 7.03) ความพึงพอใจอันดับแรก
คือความพึงพอใจด้านข้อมูลข่าวสารอยู่ในระดับค่อนข้างสูง(ค่าเฉลี่ย=4.96)
จากข้อค้นพบผู้วิจัยจึงเสนอวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุดส�ำหรับการปรับปรุงคุณภาพ
การให้บริการผู้โดยสารที่สถานีและบนขบวนรถ (Best -practice)
บทสรุปจากการท�ำ Workshop เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2558
	 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2558 ได้มีการจัด Workshop เพื่อระดม
ความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆอาทิผู้บริหาร/พนักงานรฟท.ผู้ใช้บริการ
นักวิชาการ เป็นต้น ในการที่จะปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของการ
รถไฟแห่งประเทศไทยให้ดีขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
บริการในส่วนของการขนส่งผู้โดยสารโดยเฉพาะด้านความสะอาดที่สถานี
สถานีที่มีพนักงานท�ำความสะอาดโดยรฟท.เห็นด้วยในการให้หน่วยงาน
ภายนอกเข้ามาร่วมในการตรวจสอบการท�ำความสะอาด โดยมอบให้
นายสถานีเป็นผู้ที่สามารถด�ำเนินการได้โดยตรง นอกจากนี้ในการ
ประชาสัมพันธ์เวลาเข้าออก/เวลารถล่าช้าที่ ซึ่งพนักงาน รฟท. เห็นควร
ให้ส่วนกลางด�ำเนินการจัดท�ำให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และข้อมูลที่
ผู้โดยสารต้องการทราบเมื่อเดินทาง ส่วนเรื่องกิริยามารยาทของพนักงาน
ที่สถานี เป็นสิ่งที่ต้องได้รับการปรุงปรุง เพื่อให้คุณภาพการบริการของ
พนักงานดีขึ้น โดยในมุมมองของนักวิชาการ ควรให้ รฟท. เข้มงวดตั้งแต่
การรับคนเข้าท�ำงาน ต้องเน้นในเรื่องของ Service mind และการฝึกอบรม
ปรับเปลี่ยนทัศนคติในการให้บริการ
	 ในส่วนของการขนส่งสินค้า ผู้ประกอบการต้องการให้มีบริการ
แบบ One stop service โดย รฟท. จะเร่งด�ำเนินการปรับโครงสร้างเพื่อ
ให้สามารถให้บริการในรูปแบบ One stop service ได้ รวมทั้งจะจัดให้มี
Call center เพื่อสอบถามรายละเอียดต่างๆ
โครงการย่อย 1 : ความต้องการ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการใน
การขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
โครงการย่อยที่ 2 : การรวบรวมองค์ความรู้ด้านขนส่งระบบราง: กรณีศึกษาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
หัวหน้าโครงการ : ดร.อรพินท์ บุญสิน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
หัวหน้าโครงการ : ดร.สกล บุญสิน
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รหัสโครงการ P-13-00752
8
	 นอกจากนั้น โครงการได้พัฒนาระบบการ
จัดการองค์ความรู้แบบออนไลน์บนเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต ในชื่อ www.kmrail.org ดังรูปที่ 3
ที่สามารถให้ผู้ใช้งาน เข้าถึงได้ทุกทีทุกเวลา โดยระบบมี
ส่วนประกอบที่ส�ำคัญเช่นส่วนขององค์ความรู้,Forum
บทความความรู้ต่างๆ (Article)
รูปที่ 2 หลักการออกแบบพัฒนาระบบการ
จัดการองค์ความรู้
รูปที่ 3 ระบบการจัดการองค์ความรู้แบบออนไลน์
รูปที่ 1 เครื่องมือและระบบ (KM Tool and System) และขอบเขตการ
จัดการความรู้ (KM Focus Area)
	 3. ผลการออกแบบระบบการจัดการความรู้
องค์กรขนส่งระบบราง โดยการก�ำหนดขอบเขตการ
จัดการความรู้ (KM Focus Area) ด้านการขนส่งระบบ
ราง ได้พัฒนา เครื่องมือและระบบของการจัดการ
องค์ความรู้ (KM Tool and System) ดังรูปที่ 1 โดย
องค์ความรู้แบ่งเป็น5กลุ่มหลักคือA.โครงสร้างพื้นฐาน
(Infrastructure) B. รถและล้อเลื่อน (Rolling Stock)
C.การสื่อสารและอานัฐสัญญานD.การบ�ำรุงรักษาและ
ความปลอดภัย (Maintenance and Safety) และ
E.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบราง(GeneralKnowledge)
หลักการออกแบบพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้
ประกอบด้วย ผู้ควบคุมระบบ (Admin) ผู้ใช้งานทั่วไป
(Users) สมาชิก (Member) และผู้กลั่นกรองข้อมูล
(Codifier) ที่เชื่อมโยงการท�ำงานด้วย รวมถึง การแลก
เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนปฏิบัติCoP(Community
of Practice) ดังรูปที่ 2
โครงการย่อยที่ 1 : การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง
The Development of Knowledge Management Model for Rail
Transportation Organization
หัวหน้าโครงการ : รศ.คมสัน จิระภัทรศิลป
ผู้ช่วยผู้วิจัย : ผศ.ดร.กิติเดช สันติชัยอนันต์ ผศ.ดร.อนุศิษฐ์ อันมานะตระกูล
ผศ.ดร.มงคล กงศ์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทน�ำ
	 โครงการนี้เป็นการศึกษารวบรวมและประมวลลักษณะหรือประเภทขององค์ความรู้ด้านการ
ขนส่งระบบรางที่มีอยู่ทั้งในประเทศและต่างประเทศแล้วน�ำมาพัฒนารูปแบบและระบบการจัดการความ
รู้ด้านการขนส่งระบบรางที่เหมาะสมส�ำหรับองค์กรขนส่งระบบรางของประเทศไทยโดยจัดการประชุม
ระดมความคิดเห็นเฉพาะกลุ่ม (Focus Group) ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบราง รวมทั้งการรวบรวม ข้อมูล
จากหน่วยงานขนส่งระบบราง อาทิ การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง
ประเทศไทย (รฟม.) บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.
จ�ำกัด เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาและออกแบบ ระบบการจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่ง
ระบบรางที่บุคลากรภายในหน่วยงานต่างๆสามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งการพัฒนาคู่มือ และบุคลากรใน
การจัดการองค์ความรู้ด้านขนส่งระบบรางต่อไป
ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการองค์ความรู้ขนส่งระบบราง
1.ผลการศึกษารวบรวมและประมวลลักษณะหรือประเภทขององค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบ
ราง โดย การสังเคราะห์ข้อมูล พบว่า การด�ำเนินการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง ต้องมีการจัด
ตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้เพื่อมาท�ำหน้าที่แนะน�ำและสนับสนุนให้เกิดการศึกษาค้นคว้าก�ำหนด
และเชื่อมโยงฐานขององค์ความรู้ระหว่าง องค์กรด้านระบบราง โดยมีขั้นตอนการด�ำเนินการใน
5ขั้นตอนได้แก่การบ่งชี้ความรู้(IdentificationofNeed)การแบ่งปันความรู้(KnowledgeSharing)
การสร้างความรู้(KnowledgeCreation)การจัดเก็บและรักษาความรู้(KnowledgeCollectionand
Storage) และการปรับปรุงความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ (Knowledge Updating)
2.รูปแบบระบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบรางที่เหมาะสม ควรประกอบด้วย5องค์
ประกอบ คือ 1) ความสอดคล้องของนโยบายของรัฐ กับนโยบายและเป้าหมายขององค์กรขนส่งระบบ
ราง2)การใช้เทคโนโลยีเช่นSocialMediaหรือเว็บไซท์เพื่อสนับสนุนกิจกรรมKMในการแลกเปลี่ยน
องค์ความรู้ และประชาสัมพันธ์ 3) การเชื่อมโยงข้อมูลที่เหมาะสมกับระบบ KM ขององค์กรขนส่งระบบ
ราง 4) การจัดกิจกรรมและการให้รางวัลเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้าน
การขนส่ง ระบบรางระหว่างผู้เชี่ยวชาญ องค์กร และสมาชิก และ 5) ความต่อเนื่องความสม�่ำเสมอและ
ความยั่งยืนของระบบ KM ด้านการขนส่งระบบรางของหน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก
แผนงานวิจัย 2 :
การจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบราง
รหัสโครงการ P-13-00476
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)

Más contenido relacionado

Similar a Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.Prachyanun Nilsook
 
Stks Opac Presentation
Stks Opac PresentationStks Opac Presentation
Stks Opac PresentationDMS Library
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master planBen Cybergigz
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559) NIMT
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือนรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือนKppPrimaryEducationa
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 

Similar a Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015) (18)

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
 
Stks Opac Presentation
Stks Opac PresentationStks Opac Presentation
Stks Opac Presentation
 
Report arsomsil
Report arsomsilReport arsomsil
Report arsomsil
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
 
V247
V247V247
V247
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
 
Money
MoneyMoney
Money
 
Thai Research Databases
Thai Research DatabasesThai Research Databases
Thai Research Databases
 
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือนรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Tunvijai57
Tunvijai57Tunvijai57
Tunvijai57
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
TISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-thTISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-th
 

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)

  • 1. 1 ฉบับที่ 1 เดือน สิงหาคม 2558 วิสัยทัศน์การวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง การสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง........................................1 สวทช. ในฐานะผู้บริหารการให้ทุนวิจัยด้านการคมนาคมระบบขนส่งทางราง.................2 การบริหารโปรแกรมวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง พ.ศ. 2556...............3 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ.........................11 ความร่วมมือด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบรางกับต่างประเทศ..............................12 การเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียม........................................................................4 การศึกษาแหล่งก�ำเนิดการเดินทางรูปแบบพิเศษของระบบรถไฟความเร็วสูง ในประเทศไทย................................................................................................................5 การพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟและชุดทดสอบการท�ำงานของ หัวรถจักร Alstom.........................................................................................................6 ความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการในระบบการคมนาคมขนส่ง ทางรางศึกษากรณีการรถไฟแห่งประเทศไทย.................................................................7 การจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบราง...............................................................8 การพัฒนาระบบซ่อมบ�ำรุงและปฏิบัติการขนส่งระบบรางแบบรวม...........................10 ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2556 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ และความร่วมมือด้านวิชาการกับต่างประเทศ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 73/1 อาคาร สวทช. ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 จดหมายข่าว เทคโนโลยีระบบราง ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015) Railway Technology Newsletter (Thailand Research Expo 2015) Railway Technology Newsletter การสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในนามของเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) อันประกอบด้วยส�ำนักงานคณะ กรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�ำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ(สวทน.)ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) (สพภ.) มีความยินดีที่ สวทช. ได้จัดท�ำจดหมายข่าว (Newsletter) ฉบับพิเศษส�ำหรับงานมหกรรมงานวิจัย แห่งชาติ 2558 ขึ้น ขอเรียนว่า คอบช. ได้มีแนวทางความร่วมมือด้านการจัดสรรทุนวิจัยโดยการบริหาร จัดการเพื่อการให้ทุนร่วมกันเป็นการบริหารภายใต้ “แผนงานวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ” ที่มุ่งเน้นให้สามารถแก้ไขปัญหาและขับเคลื่อนการพัฒนาไปในตามทิศทางเดียวกัน ไม่ซ�้ำซ้อนและให้มองเห็นภาพรวมของงานวิจัยที่ยังไม่ครบถ้วนเพื่อให้ใช้งบประมาณของประเทศที่มีอยู่อย่าง จ�ำกัด ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด คอบช. เริ่มต้นให้การสนับสนุนการวิจัยด้านการคมนาคมขนส่งระบบรางในปี 2556 เป็นต้นมา โดยก�ำหนดให้ผลการวิจัยที่ได้ต้องมีเป้าหมายของผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ ได้จริง โดยในระยะแรกได้ท�ำการส�ำรวจข้อมูลงานวิจัยและนักวิจัยที่เห็นว่ามีศักยภาพหรือมีความสนใจใน ด้านนี้ โดยเฉพาะเกี่ยวกับวิศวกรรม เทคโนโลยี ต่อมาก็ขยายวงขึ้น โดยเห็นว่าการขนส่งระบบรางเป็นเพียง โครงสร้างทางกายภาพหลักและจ�ำเป็นต้องมีโครงสร้างรอง เช่น ระบบคมนาคมอื่นที่ต้องมาเชื่อมต่อกับ ระบบหลักโลจิสติกส์รวมไปถึงพัฒนาพื้นที่ชุมชนโดยรอบและระหว่างทางท�ำให้ได้วางแนวทางการวิจัยและ เป้าหมายซึ่งครอบคลุมการใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ เชิงสังคมและชุมชน เชิงนโยบาย และเชิงวิชาการ มีตัวชี้วัดที่แสดงถึงการบรรลุเป้าหมายใน ระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในด้านความคุ้ม ค่า ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เวลา และต้นทุน ตลอดจนมีกลุ่ม เป้าหมายชัดเจนที่จะน�ำผลผลิตจากงานวิจัยไป ใช้ประโยชน์ และมีผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบ โดยตรงจากผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยนี้ ซึ่งก็ได้เชิญให้เข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัย ในมิติที่ต่างๆกันไปที่ส�ำคัญคือหลังให้การวิจัยจะน�ำ มาซึ่งความรู้อันจะท�ำให้ประเทศไทยสามารถพึ่ง ตนเองได้ในอนาคต ซึ่งขณะนี้ได้มีผลงานวิจัยที่แล้ว เสร็จและสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริงแล้ว จ�ำนวน 6 โครงการ และยังมีงานวิจัยอีกจ�ำนวนหนึ่ง ที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้ โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยี ระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Web : http://www.thairailtech.or.th E-mail : rail@nstda.or.th Facebook : http://www.facebook.com/thairailtech Tel : 0-2644-8150 ext. 81860 Fax : 0-2644-8072 เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ Thailand Research Organizations Network (TRON)
  • 2. 2 การบริหารงาน การบริหารโครงการวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบรางในสวทช.อยู่ภายใต้การบริหาร ของฝ่ายบริหารคลัสเตอร์โปรแกรมวิจัย (Cluster Program Management Office: CPMO) ซึ่งใน ปี 2556 ประกอบด้วย 5 คลัสเตอร์ ได้แก่ 1) คลัสเตอร์อาหารและการเกษตร 2) คลัสเตอร์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 3) คลัสเตอร์การแพทย์และสาธารณสุข 4) คลัสเตอร์ทรัพยากร ชุมชนและผู้ด้อยโอกาส 5) คลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ ซึ่งแต่ละคลัสเตอร์ประกอบด้วยหลายโปรแกรมวิจัย(researchprogram)และแต่ละโปรแกรม วิจัยประกอบด้วยหลายโครงการวิจัย (research project) ส�ำหรับการคมนาคมขนส่งระบบรางเป็น โปรแกรมวิจัยหนึ่งในคลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ โครงสร้างในการท�ำงานของ CPMO ประกอบไปด้วย 1) การบริหารคลัสเตอร์ ในแต่ละคลัสเตอร์จะมี ประธานคลัสเตอร์ (กรณีคลัสเตอร์อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ คือ ดร. ชาตรี ศรีไพพรรณ ) ท�ำหน้าที่ในการบริหารให้เกิด การก�ำหนดทิศทางและเป้าหมายของคลัสเตอร์ สวทช. ให้ สอดคล้องกับทิศทางของคลัสเตอร์ประเทศส่วนการบริหาร โปรแกรมวิจัยภายใต้คลัสเตอร์ การเสนอแนะแนวนโยบาย และแนวทางในการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหาร โปรแกรมการคมนาคมขนส่งระบบราง (บอร์ด 2) 2) การบริหารจัดการโปรแกรมวิจัยภายใต้คลัสเตอร์ แต่ละโปรแกรมวิจัยมีเจ้าภาพ(กรณีโปรแกรมการคมนาคมขนส่งระบบรางคือนายนครจันทศร) ท�ำหน้าที่ในการสร้างกลยุทธ์การด�ำเนินงานและถ่ายทอดเป็นกิจกรรมแผนงาน เงิน คน ของโปรแกรม วิจัย รวมทั้งประสานงานและผลักดันให้เกิดโครงการวิจัย รวมถึงกิจกรรมอื่นๆ ตามแผนของโปรแกรม โดยมีคณะอนุกรรมการเทคนิคที่ท�ำหน้าที่ในการช่วยพิจารณาความเหมาะสมของโครงการวิจัยในเชิง เทคนิค 3) การบริหารทั่วไปภายใต้ CPMO รับผิดชอบโดยผู้อ�ำนวยการ CPMO (น.ส.วลัยทิพย์ โชติวงศ์พิพัฒน์) ท�ำหน้าที่ในการจัดระบบการสนับสนุนต่างๆ สวทช. ในฐานะผู้บริหารการให้ทุนวิจัยด้านการคมนาคมระบบขนส่งทางราง โดย ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (ท�ำหน้าที่รองผู้อ�ำนวยการด้านบริหารจัดการการวิจัย) นอกจากภารกิจในการบริหารทุนวิจัยมุ่งเป้าฯ ร่วมกับ คอบช. แล้วยังมีโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนา เทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ เป็นโครงการ น�ำร่องซึ่งด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2554 และบรรดา กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งสถาบันฯ เช่น การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาองค์ความรู้ด้าน ระบบราง เป็นต้น ก็อยู่ใน CPMO ด้วย โดยจัดเป็น โครงการประเภทที่ไม่ใช่งานวิจัย (Non-research Project) ทั้งนี้ในปี 2556 เป็นการใช้งบประมาณ ในส่วนของPresidentInitiative(PI)และตั้งแต่ปี2557 เริ่มใช้งบประมาณของ CPMO จนกระทั่งปัจจุบัน ผลส�ำเร็จของงานวิจัย การวิจัยมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการของ ประเทศก�ำหนดให้ผลการวิจัยที่ได้ต้องมีเป้าหมายของ ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมสามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้จริงซึ่งในเล่มจะมีรายละเอียดความคืบหน้า โดยย่อของงานวิจัยแต่ละงาน ส�ำหรับงานวิจัยที่ได้ ด�ำเนินการและส่งมอบให้ผู้ใช้ประโยชน์แล้ว เช่น แผนงานวิจัยเรื่องความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้ บริการในระบบการคมนาคมขนส่งทางราง ศึกษากรณี การรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยโครงการ การศึกษาความต้องการความคาดหวังและความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการในการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการ รถไฟแห่งประเทศไทย และการศึกษารูปแบบการให้ บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการและ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งได้ส่งมอบให้กับการรถไฟฯน�ำไปใช้เมื่อวันที่5มีนาคม 2558และโครงการพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟ และชุดทดสอบการท�ำงานของหัวรถจักรAlstomซึ่งได้ ส่งมอบให้กับการรถไฟฯน�ำไปใช้เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2558 ส่วนงานวิจัยอื่น ขณะนี้ก�ำลังด�ำเนินการจวนแล้ว เสร็จซึ่งจะได้ทยอยส่งมอบให้กับผู้ใช้ประโยชน์ต่อไป ส่งมอบผลงานวิจัยให้กับการรถไฟแห่งประเทศไทย
  • 3. 3 การบริหารโปรแกรมวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง พ.ศ. 2556 โดย นายนคร จันทศร ผู้อ�ำนวยการโปรแกรมการคมนาคมขนส่งระบบราง วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง 1) เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่สนับสนุนให้การปฏิบัติการด้านระบบรางของประเทศมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน มีความปลอดภัยสูง ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม และสร้างความเป็นธรรมให้กับ ประชาชน รวมถึงมุ่งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2) เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีการคมนาคมขนส่งระบบรางและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง 3) เพื่อสร้างและกระจายองค์ความรู้ด้านระบบรางของประเทศในระดับที่พึ่งพาตนเองได้อย่าง เหมาะสม ตั้งแต่การวางแผนและตัดสินใจด้านนโยบาย การออกแบบและวิศวกรรม การผลิต ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องการบริหารจัดการและการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่ง ทางราง ขอบเขตของโครงการวิจัยมุ่งเป้าปี 2556 ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้แต่งตั้งคณะท�ำงานก�ำหนดกรอบการวิจัยด้าน การคมนาคมขนส่งระบบราง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 โดยมีหน้าที่ในการจัดท�ำโจทย์ กรอบ และ หัวข้อการวิจัยเร่งด่วนและจัดล�ำดับความส�ำคัญหัวข้อการวิจัยที่ควรให้ทุนประจ�ำปีงบประมาณ 2556 ซึ่งคณะท�ำงานดังกล่าวได้เสนอกรอบวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ เรื่อง การคมนาคมขนส่งระบบราง ปี 2556 ทั้งสิ้น 9 กรอบวิจัย ได้แก่ กรอบวิจัยที่ 1 ระบบโครงสร้าง พื้นฐาน กรอบวิจัยที่ 2 การบริการที่เกี่ยวกับการขนส่ง กรอบวิจัยที่ 3 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อระบบการขนส่งทางราง กรอบวิจัยที่ 4 การพัฒนาคนที่เกี่ยวข้องกับระบบราง กรอบวิจัยที่ 5 การปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบและกฎหมาย กรอบวิจัยที่ 6 ระบบการลงทุน กรอบวิจัยที่ 7 ระบบการ ขนส่งหลายรูปแบบ กรอบวิจัยที่ 8 การจัดการการจราจร และกรอบวิจัยที่ 9 การบริหารจัดการ สวทช. ได้อนุมัติให้การสนับสนุนงานวิจัยในปี 2556 จ�ำนวน 3 โครงการเดี่ยว และ 3 แผน งาน ซึ่งประกอบด้วยโครงย่อย 10 โครงการ รวมงบประมาณที่อนุมัติทั้งสิ้น 25,322,600 บาท ได้แก่ โครงการเดี่ยว 1 : การเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียม โครงการเดี่ยว 2 :การศึกษาแหล่งก�ำเนิดการเดินทางรูปแบบพิเศษของระบบรถไฟความเร็ว สูงในประเทศไทย โครงการเดี่ยว 3 : การพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟและชุดทดสอบการท�ำงานของ หัวรถจักร Alstom แผนงานวิจัย1:ความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการในระบบการคมนาคมขนส่ง ทางราง ศึกษากรณีการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยโครงการย่อย 2 โครงการ คือ โครงการ ย่อย 1 : ความต้องการ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในการขนส่งผู้โดยสารและ สินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย และโครงการย่อยที่ 2 : รูปแบบการให้บริการที่ตอบสนองความ ต้องการของผู้ใช้บริการและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ แผนงานวิจัย 2 : การจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบราง ประกอบด้วยโครงการย่อย 2 โครงการ คือ โครงการย่อยที่ 1 : การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง และ โครงการย่อยที่ 2 : การรวบรวมองค์ความรู้ด้านขนส่งระบบราง: กรณีศึกษาด้านโครงสร้างพื้นฐาน แผนงานวิจัย 3 : การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง ประกอบด้วย โครงการย่อย6โครงการคือ โครงการย่อยที่ 1 :การศึกษาและเปรียบเทียบงานซ่อมบ�ำรุงขนส่งระบบ รางโครงการย่อยที่2:การศึกษาและเปรียบเทียบระบบการซ่อมบ�ำรุงทางรถไฟและงานโยธาโครงการ ย่อยที่ 3 : การศึกษาและเปรียบเทียบงานซ่อมบ�ำรุงขบวนรถไฟฟ้าและล้อเลื่อน โครงการย่อยที่ 4 : การศึกษาและเปรียบเทียบงานซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าก�ำลัง โครงการย่อยที่ 5 : การศึกษาและเปรียบ เทียบงานซ่อมบ�ำรุงระบบงานอาณัติสัญญาณและโครงการย่อยที่6:การศึกษาและเปรียบเทียบระบบ การด�ำเนินงานของศูนย์ซ่อมบ�ำรุงรถไฟฟ้า เนื่องจากเป็นปีแรกในการบริหารงานจึงมีความล่าช้าในการท�ำสัญญาระหว่างวช.กับสวทช. และสวทช.กับสถาบันการศึกษาซึ่งเป็นต้นสังกัดของนักวิจัยโดยเฉพาะในประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ของปี 2556 จึงก�ำหนดแล้วเสร็จในปี 2558 เป็นที่น่าสังเกตว่าข้อเสนอของนักวิจัยไม่ตอบ สนองกรอบวิจัยทั้งหมดที่ วช. ก�ำหนด มีเพียง 4 ใน 9 กรอบวิจัยที่มีนักวิจัยเสนอขอรับการสนับสนุนนอกจาก นั้นหลายฝ่ายมีความเห็นว่ากรอบงานวิจัยในปี 2556 ขาดจุดเน้นว่าควรจะให้ความส�ำคัญกับงานวิจัยเรื่องใด ก่อนหลัง ซึ่งอาจไม่ช่วยให้เกิดการพัฒนาระบบขนส่ง ทางรางอย่างมีนัยส�ำคัญดังนั้นเพื่อให้การสนับสนุนงาน วิจัยปีต่อๆไปมีจุดเน้นที่สามารถใช้งบประมาณการวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบโจทย์เรื่องการ พัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ สวทช. จึงจัดให้ มีการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการขึ้น เมื่อวันที่ 6-7 กันยายน 2556 ซึ่งที่ประชุมได้รับทราบประเด็นปัญหา ของระบบรางและระดมความคิดเห็นเพื่อจัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์งานวิจัยในปีต่อไปได้3กลุ่มยุทธศาสตร์และ 9 กรอบการวิจัย ข้อมูลจากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการดัง กล่าวจะเป็นข้อมูลที่คณะกรรมการจัดท�ำกรอบวิจัยซึ่ง วช. แต่งตั้งขึ้นน�ำไปจัดท�ำกรอบที่จะประกาศให้นักวิจัย ยื่นข้อเสนอขอรับการสนับสนุนในปี 2557 ต่อไป กลุ่มยุทธศาสตร์ที่1นโยบายและแผนระบบราง ที่ตอบโจทย์ (Sound Policy & Planning) ประกอบ ด้วย 3 กรอบงานวิจัย คือ 1) กรอบการวิจัยด้านกฎ ระเบียบและกฎหมาย 2) กรอบการวิจัยด้าน นโยบาย การลงทุนเรื่องต่างๆ ด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง 3)กรอบการวิจัยด้านการพัฒนาแบบบูรณาการที่เอื้อต่อ การใช้ระบบขนส่ง กลุ่มยุทธศาสตร์ที่2การตอบโจทย์ทางเทคโนโลยี เพื่อยกระดับความมั่นคงและบริการทางราง(Technical Solution for Security & Better Service) ประกอบ ด้วย 3 กรอบงานวิจัย คือ 1) กรอบการวิจัยด้านการ พัฒนามาตรฐาน/การทดสอบ/การรับรองการผลิตชิ้น ส่วนรถไฟ 2) กรอบการวิจัยด้านการพัฒนาระบบ 3) กรอบการวิจัยด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการเดินรถ กลุ่มยุทธศาสตร์ที่3การสร้างความสามารถเพื่อ การพัฒนาระบบรางที่ยั่งยืน (Capacity Building to- ward Sustainability) ประกอบ ด้วย 3 กรอบงานวิจัย คือ 1) กรอบการวิจัยด้านการพัฒนาบุคลากรด้านการ คมนาคมขนส่งระบบราง 2) กรอบการวิจัยด้านการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี 3) กรอบการวิจัยด้านการพัฒนา อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนรถไฟในประเทศ
  • 4. 4 ข. เชื่อมด้วยลวดเชื่อม 4043 แสดงการแตกหักของชิ้นงานที่ทดสอบการดัดงอ ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2556 โครงการเดี่ยว 1 : การเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียม รหัสโครงการ P-13-00751 บทน�ำ ในปัจจุบันการคมนาคมขนส่งทางรางก�ำลังมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาประเทศในหลายๆ ด้าน การขนส่งทางรางจัดเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงและประหยัด ระบบโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะ ตัวรถไฟหรือตู้โดยสาร (Rolling stocks) จึงมีความส�ำคัญทั้งในด้านการผลิต (Production) และการ ซ่อมบ�ำรุง (Maintenance) เป็นอย่างมาก ปัจจุบันตู้รถไฟผลิตมาจากโลหะในกลุ่มอะลูมิเนียมผสมเป็น หลัก เช่น อะลูมิเนียมผสมในกลุ่ม 6xxx เนื่องจากอะลูมิเนียมผสมมีน�้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงดี อย่างไรก็ตามเมื่อรถไฟเกิดอุบัติเหตุหรือเกิดความเสียหาย (รูปที่ 1 และรูปที่ 2) ก็จะมีการ เชื่อมซ่อมตามมา ซึ่งกรรมวิธีการเชื่อมซ่อมที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลต่อความแข็งแรงและการใช้งานทาง วิศวกรรม แนวเชื่อมอะลูมิเนียมเป็นตัวรับความแข็งแรงของชิ้นส่วนตัวรถไฟ วิธีการทดลอง โครงการวิจัยนี้ศึกษาการเชื่อมซ่อมอลูมิเนียมผสมเกรด 6082T6 ด้วยลวดเชื่อม 2 ชนิด ได้แก่ 5356 และ 4043 โดยวิธีการเชื่อมมิกและวิเคราะห์ความสมบูรณ์ของแนวเชื่อมโดยวิธีทางโลหะวิทยา และวิเคราะห์สมบัติทางกลของแนวเชื่อม ได้แก่ ค่าความแข็งแรงดึง (Joint Tensile Strength) และ การดัดงอ(Bendtest)เพื่อน�ำผลจากงานวิจัยมาปรับปรุงและเป็นฐานข้อมูลทางวิศวกรรมในการก�ำหนด เลือกใช้กรรมวิธีการเชื่อมและตัวแปรการเชื่อมที่เหมาะสม (Welding Procedure Specification for Repair Welding, WPS) เพื่อใช้งานในการเชื่อมซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียมต่อไป หัวหน้าโครงการ : ผศ.ดร.ประภาศ เมืองจันทร์บุรี ผู้ช่วยผู้วิจัย : นายศุภชัย สุขเวช ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลการวิจัย การศึกษาสมบัติเชิงโลหะวิทยาของการเชื่อม ซ่อมอะลูมิเนียม6082T6ด้วยลวดเชื่อม5356และลวด เชื่อม 4043 พบว่าลักษณะทางกายภาพของแนวเชื่อม ทุกกรณีมีความสมบูรณ์ดีโครงสร้างในระดับมหภาคทุก กรณีมีการซึมลึกที่ดี พบรูพรุนในกรณีการเชื่อมซ่อม มากกว่าการเชื่อมใหม่ และโครงสร้างในระดับจุลภาค ของการเชื่อมอะลูมิเนียม6082T6ทั้งการเชื่อมใหม่และ การเชื่อมซ่อม มีลักษณะที่คล้ายกันทุกกรณี ส�ำหรับผล การวิจัยการศึกษาสมบัติเชิงกลพบว่าการเชื่อมซ่อม อะลูมิเนียม6082T6ด้วยลวดเชื่อม5356มีความเหมาะ สมกว่าการเชื่อมซ่อมด้วยลวดเชื่อม4043แม้ว่าค่าความ แข็งแรงดึงของแนวเชื่อมจะใกล้เคียงกันแต่ผลการดัดงอ ของการเชื่อมซ่อมด้วยลวดเชื่อม5356ให้ผลที่ดีกว่าลวด เชื่อม 4043 อย่างชัดเจน แสดงดังรูปที่ 3 สาเหตุของ การแตกหักในกรณีลวดเชื่อม 4043 เนื่องจากรูพรุนใน แนวเชื่อม (Porosities) และค่าความเหนียวที่ต�่ำ และ จากการทดสอบค่าความแข็งของแนวเชื่อมทุกกรณี พบ ว่าบริเวณที่อ่อนตัว (Softened zone) คือบริเวณที่ได้ รับผลกระทบเนื่องจากความร้อน (Heat Affected zone, HAZ) หรือบริเวณข้างแนวเชื่อม ซึ่งมีระยะห่าง จากกลางเนื้อเชื่อมประมาณ 6-8 มิลลิเมตร บทสรุป จากผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า สามารถเชื่อม ซ่อมตู้โดยสารรถไฟอะลูมิเนียมได้โดยใช้ตัวแปรที่ถูกต้อง ตามข้อก�ำหนดการเชื่อม (WPS) โดยควรเลือกใช้ลวดเชื่อม ชนิด 5356 โดยแนวเชื่อมซ่อมให้ค่าความแข็งแรงและผล การดัดงอที่เหมาะสมตามมาตรฐาน รูปที่ 1 แสดงความเสียหาย ซึ่งต้องมีการเชื่อมซ่อม รูปที่ 2 รถไฟที่รอการซ่อม ในโรงงานมักกะสัน ก. เชื่อมด้วยลวดเชื่อม 5356 แสดงการทดสอบการดัดงอที่สมบูรณ์ รูปที่ 3 แสดงผลการดัดงอแนวเชื่อมซ่อมของอะลูมิเนียม 6082T6
  • 5. 5 โครงการเดี่ยว 2 : การศึกษาแหล่งก�ำเนิดการเดินทางรูปแบบพิเศษของระบบรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย Special Trip Generators of High Speed Rail System in Thailand รหัสโครงการ P-13-00756 บทน�ำ การจ�ำลองสภาพการเดินทางของผู้โดยสารเพื่อการวางแผนงานด้าน คมนาคมขนส่งของรัฐ พึ่งพาแบบจ�ำลองด้านการขนส่งและจราจร ซึ่งพัฒนาโดย ส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ข้อจ�ำกัดของโมเดลปัจจุบันคือในโมเดลย่อย การก่อก�ำเนิดการเดินทาง (TripGeneration)จ�ำนวนเที่ยวการเดินทางที่ก่อก�ำเนิดขึ้นหรือถูกดึงดูดเข้าสู่พื้นที่ การเดินทางย่อย (Travel Zone) ตามวัตถุประสงค์การเดินทางต่าง ๆ ถูกประมาณ การขึ้นโดยอาศัยอัตราการเดินทาง (Trip Rates) หรือความสัมพันธ์ระหว่างอัตรา การเดินทางดังกล่าว กับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตัวแปรสังคมและเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่การเดินทางย่อยซึ่งวิเคราะห์ ขึ้นโดยอาศัยการส�ำรวจ การจ�ำแนกประเภทแบบไขว้ (Cross-Classification Analysis) หรือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression Analysis) นอกจากนี้ ในโมเดลการก่อก�ำเนิดการเดินทาง และการกระจายการเดินทาง ได้มี การปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานจากระบบเดิมซึ่งยังไม่มีระบบรถไฟความเร็วสูงอยู่ จึงท�ำให้ละเลยข้อมูลความต้องการเดินทางที่ถูกชักน�ำ(InducedTravelDemand) ซึ่งประกอบไปด้วย ความต้องการเดินทางแฝง (Latent หรือ Suppressed Demands)จากข้อจ�ำกัดของรูปแบบการเดินทางที่มีอยู่เดิมและข้อมูลความต้องการ เดินทางที่ถูกชักน�ำจากการมีระบบใหม่ วัตถุประสงค์และวิธีการ โครงการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจ�ำลองแหล่งก�ำเนิดการเดิน ทางพิเศษ (Special Trip Generator) รอบพื้นที่สถานีปลายทางรถไฟความเร็วสูง เพื่อใช้ในการปรับปรุงพารามิเตอร์ที่ใช้ในแบบจ�ำลองการเดินทางและการขนส่งของ ประเทศให้มีความทันสมัยถูกต้องมากยิ่งขึ้นและประเมินความต้องการเดินทางที่ถูก ชักน�ำ (Induced Travel Demand) ส�ำหรับระบบรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย งานวิจัยนี้อาศัยแนวคิดในการบูรณาการโครงสร้างแบบจ�ำลองการเดินทางระหว่าง เมืองแบบดั้งเดิมที่ประกอบไปด้วยแบบจ�ำลองย่อยสี่ขั้นตอน ได้แก่ การก�ำเนิดการ เดินทาง การกระจายการเดินทาง การเลือกรูปแบบการเดินทาง และการแจกแจง การเดินทาง ให้อธิบายได้ภายในแบบจ�ำลองเดียวซึ่งอธิบายได้โดยความสามารถใน การเข้าถึงระบบซึ่งพัฒนามาจากค่าอรรถประโยชน์ในแบบจ�ำลองการเดินทางแบบ แยกย่อย ซึ่งมักใช้ในการจ�ำลองพฤติกรรมการเดินทางส�ำหรับการแข่งขันระหว่าง ระบบรางและรูปแบบการเดินทางอื่นๆ(แบบจ�ำลองหลายรูปแบบการเดินทาง)และ หรือ ระหว่างการให้บริการระบบรางด้วยกัน เช่น ระหว่างรถไฟระหว่างเมืองและ รถไฟความเร็วสูง (แบบจ�ำลองการแข่งขันหลายบริการ) หัวหน้าโครงการ : ดร. เอกชัย ศิริกิจพาณิชย์กูล ผู้ช่วยผู้วิจัย : ดร. สรินธร วิญญูประดิษฐ์ ดร. ปาริชาติ พัฒนเมฆา รศ.ดร. อ�ำพล การุณสุนทวงษ์ ผศ.ดร. ศักรธร บุญทวียุวัฒน์ รศ.ดร. ชวเลข วณิชเวทิน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เนื้อหาโดยย่อ งานวิจัยนี้ท�ำการสุ่มสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้ที่เคยและก�ำลังเดิน ทางในแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต คือ กรุงเทพมหานคร – สระบุรี – นครราชสีมา – ขอนแก่น – อุดรธานี และ หนองคายจ�ำนวน6,000ตัวอย่างโดยอาศัยการส�ำรวจความชอบที่ถูกระบุ จ�ำแนกสัดส่วนตามคู่การเดินทาง 30 คู่และรูปแบบการเดินทาง 4 รูปแบบ ได้แก่ รถยนต์ส่วนบุคคล รถโดยสารสาธารณะ รถไฟ และเครื่องบิน ที่สอดคล้องกับการประมาณการเดินทางโดยแบบจ�ำลองการเดินทางระดับ ชาติ ซึ่งพัฒนาโดย สนข. แบบจ�ำลองที่พัฒนาขึ้นสามารถที่จะแสดงค่า อรรถประโยชน์ในการเลือกรูปแบบการเดินทางและเส้นทางซึ่งใช้เป็นมาตร ในการวัดความสามารถในการเข้าถึงระบบรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเมื่อน�ำไป รวมกับแบบจ�ำลองการก�ำเนิดการเดินทางแล้วจะสามารถระบุถึงปริมาณ ความต้องการเดินทางที่ถูกชักน�ำได้ งานวิจัยชิ้นนี้ ยังได้พัฒนาแบบจ�ำลอง แหล่งก�ำเนิดการเดินทางพิเศษ โดยน�ำเอาปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปริมาณผู้โดยสาร สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในสถานี จ�ำนวนช่องจอดรถ และจ�ำนวนทางเข้าออกมาใช้ประกอบการพิจารณาโดยมีการส�ำรวจข้อมูล ปริมาณการเดินทางเข้าสู่สถานีรถไฟหลักทั่วประเทศ จ�ำนวน 26 สถานี จ�ำแนกตามรูปแบบการเข้าถึงสถานีเช่นการเดินเท้าการขี่จักรยานรถยนต์ รถโดยสารประจ�ำทางและระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน บทวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณผู้โดยสารและจ�ำนวนร้านค้า เป็นตัวแปร หลักที่ใช้อธิบายปริมาณการเดินทางเข้าสู่สถานีซึ่งอธิบายได้โดยอาศัยแบบ จ�ำลองถดถอยหลายตัวแปรและพบด้วยว่าประเภทของร้านค้าและเวลาใน การเดินทางมาถึงสถานีก่อนออกเดินทางจริงแตกต่างกันไปตามรูปแบบการ เดินทางที่ใช้อยู่เดิมก่อนมาใช้ระบบรถไฟความเร็วสูงซึ่งอธิบายได้โดยแบบ จ�ำลองโลจิตทวินามที่ถูกพัฒนาขึ้น โดยปัจจัยด้านการเดินทาง และปัจจัย ด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งอธิบายได้โดยอาศัยแบบจ�ำลองโลจิตพหุนามที่ ถูกพัฒนาขึ้น บทสรุป ประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยนี้ท�ำให้ทราบถึงความต้องการในการ เดินทางโดยรถไฟความเร็วสูงในอนาคต ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่ช่วยให้ผู้ บริหารประเทศสามารถตัดสินใจวางแผนและจัดล�ำดับความส�ำคัญการ ลงทุนโครงการรถไฟความเร็วสูงเส้นทางต่างๆในอนาคตรวมไปถึงการ วางผังเมืองและออกแบบระบบให้มีความสอดคล้องกับอุปสงค์และความ พึงพอใจของประชาชนที่คาดว่าจะมาใช้ระบบ ให้ถูกต้องตามหลักทาง วิชาการ น่าเชื่อถือ เป็นสากล ทันสมัย และลดความเสี่ยงจากการ สูญเสียอันเนื่องมาจากการประมาณการที่ผิดพลาดลงได้อันจะช่วย ให้การจัดสรรงบประมาณเป็นไปอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
  • 6. 6 โครงการเดี่ยว 3 : การพัฒนาระบบการจ�ำลองการขับรถไฟและชุดทดสอบการท�ำงานของหัวรถจักร Alstom บทน�ำ การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้เปิดด�ำเนินกิจการรถไฟมาเป็นเวลา 118 ปี ซึ่งได้มีการก่อตั้งโรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ เมื่อ พ.ศ. 2480 เป้าหมายอย่างหนึ่งของ โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟได้แก่การฝึกอบรมและให้ความรู้พนักงานขับรถไฟ(พขร.) ใหม่ด้วยชุดจ�ำลองการขับรถไฟด้วยหัวรถจักรเดิมซึ่งได้ใช้มาเป็นระยะเวลา20กว่า ปีขาดความทันสมัยซึ่งปัจจุบันเทคโนโลยีด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้มีการพัฒนา ไปอย่างมาก ชุดจ�ำลองส่วนมากจะสั่งซื้อจากต่างประเทศ ยังไม่มีการสร้างขึ้นเอง พร้อมทั้งมีราคาแพง ยากต่อการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ในประเทศ โครงการ วิจัยนี้จึงเป็นการสนับสนุนการพัฒนาการฝึกหัดขับรถไฟให้มีความสมบรูณ์แบบมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งจะประกอบไปด้วย 2 ส่วนที่ส�ำคัญ คือ ชุดจ�ำลองการฝึกของนักเรียน และ ชุดการเรียนรู้จากครูฝึก จะเป็นรูปแบบการจ�ำลองหัวรถจักรจริง ที่มีลักษณะทาง กายภาพเสมือนจริง พขร. จะถูกควบคุมและดูแลจาก ครูฝึก ด้วยวิธี On-The-Job- Training รวมทั้ง การจ�ำลองสถานการณ์ต่างๆ ให้ นักศึกษา พขร. ได้ฝึกทักษะใน การแก้ไขปัญหา ตามข้อก�ำหนด เพื่อให้ครูฝึกประเมินความสามารถในการขับรถไฟ จ�ำลอง ว่าอยู่ในระดับใด ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาระบบจ�ำลองการขับรถไฟ และสร้างบทเรียนทดสอบการขับด้วยหัวรถจักรAlstomสามารถใช้ในการฝึกอบรม พนักงานขับรถไฟ ให้มีทักษะในการขับและการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. พัฒนาระบบชุดฝึกรถไฟจ�ำลองหัวรถ Alstom บนระบบ PC โดยคอมพิวเตอร์ หลักเป็น SERVER จ�ำนวน 2 ชุด ส�ำหรับนักเรียน และครูฝึก ผ่านระบบเราเตอร์ อินเตอร์เน็ต ด้วยระบบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาด้วยโปรแกรม SQL ที่รับข้อมูลผ่าน ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างอุปกรณ์ควบคุมการขับรถไฟ ชุดควบคุมแบบง่ายจะนิยมใช้ Arduino Board ซึ่งเป็น Platform i/o พร้อม การเรียนรู้โดยตัวบอร์ดจะมาพร้อมกับชุดค�ำสั่ง Port i/o ไม่ว่าจะเป็น Port digital, Port Analog, PWM, Serial Port เป็นต้น 2. พัฒนาระบบชุดฝึกจ�ำลองการตรวจสภาพหัวรถจักรก่อนท�ำการขับและการซ่อม บ�ำรุง การตรวจสอบก่อนขับหัวรถจักร ประกอบด้วย ส่วนด้านหน้า ด้านซ้าย ด้านขวาด้านบนด้านหลังรวมถึงการจ�ำลองสถานการณ์จ�ำนวน28สถานการณ์ ในการแก้ไข้ปัญหาและการซ่อมบ�ำรุง เมื่อเกิดเหตุขัดข้องในระหว่างขับรถไฟ 3. พัฒนาระบบชุดฝึกจ�ำลองหัวรถจักรแบบเสมือนจริง ด้วยหัวรถจักร Alstom การฝึกจะมีจอแสดงผลหลักจ�ำนวน2ชุดชุดการฝึกจะเป็นระบบMultimedia การควบคุมระบบจะจ�ำลองด้วยระบบดิจิตอลและเป็นลักษณะ Touch Screen ในระบบตรวจสอบจะประกอบไปด้วย Switch gear 8 เกียร์, Switch drive 3 ทาง, Key, Switch off Buzzer, Switch control เป็นต้น หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี ภาควิชาวิศวกรรมการผลิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เนื้อหาโดยย่อ ชุดฝึกจ�ำลองหัวรถจักร Alstom นั้นจ�ำลองการขับเสมือนจริง ทั้งความเร็ว ภาพเคลื่อนที่และเสียงภาพที่ถ่ายจากเส้น ทางจริงเป็นภาพวีดิโอ 1920 x 1080p ถูกน�ำมาพัฒนาให้สามารถแสดง ภาพที่เสมือนจริงโดยการตัดภาพออกเป็นภาพขนาดเล็กและน�ำมาต่อแสดง เป็นภาพต่อเนื่องด้วยโปรแกรมแสดงภาพที่ขนาด 29 เฟรมต่อวินาที ชุดครู ฝึกสามารถจะเห็นภาพเส้นทางการขับที่เชื่อมโยงมาจากหน้าจอนักเรียน โดยนักเรียนจะต้องขับชุดจ�ำลองที่สถานีเริ่มต้นผ่านสถานีที่สองไปถึงสถานี สุดท้าย ได้แก่ สถานีปางอโศก บันไดม้าและปากช่อง เส้นทางขับจะแสดง ทางจริงที่ผ่านสถานีต่างๆ จุดตัด เส้นทางข้ามทางรถไฟ ป้ายบอก อาณัติสัญญาณต่างๆนักเรียนจะต้องขับชุดจ�ำลองด้วยความเร็วที่เหมาะสม ตามเส้นทางจริง การจอด การเข้าสถานี การออกจากสถานี และขับขึ้นเนิน ลงเนิน ครูฝึกสังเกตพฤติกรรมการขับของนักเรียนผ่านกล้อง CCTV และ พฤติกรรมจริง และท�ำการประเมินผลการทดสอบ การควบคุมความเร็ว แต่ละระยะการขับจะถูกบันทึกและแสดงเป็นเส้นกราฟส�ำหรับใช้ในการ วิเคราะห์และการพัฒนาการฝึกในอนาคต บทวิเคราะห์ งานวิจัยชุดนี้ เพื่อพัฒนาระบบการขับรถไฟจ�ำลองด้วยหัวรถจักร Alstomโดยการออกแบบหัวรถจักรแบบถอดประกอบได้(CKD-component knock Down) สามารถถอดประกอบและเคลื่อนย้ายง่าย รวมทั้งพัฒนา ระบบอินเตอร์เฟสระหว่างอุปกรณ์ในห้องพนักงานขับรถจักรจริงของ Alstomและระบบซอฟต์แวร์ อย่างไรก็ตามงานวิจัยชุดนี้ด�ำเนินการส�ำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ใช้งานตามฟังชั่นที่ก�ำหนดไว้ในงานวิจัย แต่จ�ำเป็นต้องมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระบบที่เสมือนจริงอื่นๆ ที่ยังขาด เช่น การสั่น สะเทือน ระบบไฟฟ้าต่างๆ ควรจะมีการพัฒนาในอนาคตอย่างต่อเนื่อง รูปที่ 2 แสดงรายละเอียดหน้าจอ คอมพิวเตอร์คนขับ รูปที่ 1 ติดตั้งในพื้นที่ใช้งานจริง ณ การรถไฟแห่งประเทศไทย รหัสโครงการ P-13-00902 บทสรุป ชุดฝึกจ�ำลองหัวรถจักรAlstomนั้นนอกจากจะท�ำการฝึกเสมือน จริง ทั้งความเร็ว ภาพเคลื่อนและเสียง การพัฒนาระบบจ�ำลองการขับ รถไฟและสร้างบทเรียนทดสอบ ซึ่งจะสามารถฝึกอบรม พขร. ใหม่ โดย การควบคุมเพื่อสร้างความช�ำนาญในการขับรถไฟแล้วนั้นยังเป็นการส่ง เสริมงานวิจัยภายในประเทศ ให้พัฒนาอย่างต่อเนื่องไปสู่ภาคกลุ่ม อุตสาหกรรมและผู้ให้บริการรายอื่น เช่น บริษัทการขนส่งมวลชน กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน), การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.), บริษัทรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ำกัด รวมทั้งจะกระตุ้นให้ตระหนักถึง ความปลอดภัยของผู้โดยสาร จะก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างปัจจัย 3 ประการขึ้น คือ 1.ความพร้อมใช้งานของระบบ (Availability) 2.ความน่าเชื่อถือของระบบ (Reliability) 3.ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการบ�ำรุง รักษา (Maintenance) และสิ่งส�ำคัญอีกอย่างที่ต้องใส่ใจและขาดมิได้ คือ ความปลอดภัย (Safety)
  • 7. 7 แผนงานวิจัย 1 : ความต้องการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการในระบบการคมนาคมขนส่งทางราง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความต้องการของผู้ใช้บริการที่เดินทางโดยรถไฟและความต้องการ ของผู้มีศักยภาพในการเดินทาง 2. เพื่อศึกษาความต้องการของผู้ใช้บริการที่ขนส่งสินค้า โดยรถไฟ 3. เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการที่เดินทางโดยรถไฟ และความคาด หวังของผู้ที่มีศักยภาพในการเดินทาง 4. เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการในการ ขนส่งสินค้าโดยรถไฟ5.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่เดินทางโดยรถไฟและ ผู้ใช้บริการสินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย6.เพื่อศึกษาทัศนคติของพนักงานในการ ให้บริการผู้โดยสาร วิธีการด�ำเนินการ ด�ำเนินการวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed-methods research) เครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์จากผู้ใช้บริการจ�ำนวน1,826คน ผู้ประกอบการขบวนรถสินค้า จ�ำนวน 21 ราย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและสังเคราะห์ประเด็นที่ควรปรับปรุงคุณภาพการให้บริการใน การขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย2.เพื่อศึกษาและสังเคราะห์ ปัญหาและข้อจ�ำกัดในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟแห่ง ประเทศไทย 3. เพื่อเสนอรูปแบบการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟ แห่งประเทศไทย และ 4. เพื่อศึกษาการคัดเลือก การฝึกอบรม และการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายการเดินรถ และเสนอวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ (การคัดเลือก การฝึกอบรม และการประเมินผลการปฏิบัติงาน) ให้กับ การรถไฟแห่งประเทศไทย วิธีการด�ำเนินการ วิธีการศึกษาใช้การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ(MixedMethods) ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือพนักงานฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 4,035 คน สุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มอย่างมีระบบ (SystematicSampling)ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้ตัวอย่างในการศึกษาทั้งสิ้นจ�ำนวน 581คนโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผลข้อมูลในเชิงสถิติ ผลการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า (1) การรถไฟแห่งประเทศไทยควรปรับปรุงคุณภาพการให้ บริการที่สถานีโดยภาพรวม 3 ล�ำดับแรกดังนี้ 1) ด้านความสะอาดที่สถานี 2) ด้านเวลา ในการให้บริการ 3) ด้านพนักงาน (2) การรถไฟแห่งประเทศไทยควรปรับปรุงคุณภาพ การให้บริการบนขบวนรถโดยภาพรวม 3 ล�ำดับแรกดังนี้ 1) ด้านความสะอาด 2) ด้าน เวลาในการให้บริการ 3) ด้านลักษณะทางกายภาพ (3) เรื่องที่ควรปรับปรุงคุณภาพการ ให้บริการของขบวนรถสินค้า มี 3 ล�ำดับดังนี้ 1) หัวรถจักร รถพ่วง 2) ลานขนถ่าย 3) ความตรงต่อเวลา (4) วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ 1)การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์คือการสัมภาษณ์การประเมินออนไลน์และการประเมิน แบบศูนย์ประเมิน ส่วนวิธีการสัมภาษณ์ควรสัมภาษณ์ในรูปของ ผู้มีศักยภาพในการใช้บริการ จ�ำนวน 50 ราย สถิติ เชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน การศึกษาครั้งนี้ จะตั้งระดับความเชื่อมั่น 95% โดยมีระดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ 0.05 คณะกรรมการ การสัมภาษณ์ตัวต่อตัว และการ สัมภาษณ์เพื่อดูปฏิกิริยาเมื่ออยู่ภายใต้ความกดดัน 2) การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1. ใช้กรณีศึกษาในการฝึกอบรมโดยหน่วยงานฝึกอบรมขององค์การ 2. ใช้เกมส์ในการฝึกอบรมและสื่อการเรียนรู้แบบ E-Learning โดย มหาวิทยาลัย 3. ใช้สื่อวีดีโอในการฝึกหัดงานในห้องเรียนเพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การฝึกปฏิบัติงานจริง 3) การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การประเมิน มาตรฐานการท�ำงาน การประเมินแบบ 360 องศา ส่วนผู้ประเมินที่ควร ประเมินพนักงาน คือ ผู้บังคับบัญชาโดยตรง ผู้ใช้บริการ และเพื่อนร่วมงาน ผลการศึกษา ผลการศึกษาพบว่าความต้องการอันดับแรกคือความต้องการด้าน ข้อมูลข่าวสารที่ให้บริการที่สถานี อยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย = 6.50) ความคาดหวังอันดับแรก คือ ความคาดหวังด้านพนักงานที่บริการผู้โดยสาร ที่สถานีอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย = 7.03) ความพึงพอใจอันดับแรก คือความพึงพอใจด้านข้อมูลข่าวสารอยู่ในระดับค่อนข้างสูง(ค่าเฉลี่ย=4.96) จากข้อค้นพบผู้วิจัยจึงเสนอวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุดส�ำหรับการปรับปรุงคุณภาพ การให้บริการผู้โดยสารที่สถานีและบนขบวนรถ (Best -practice) บทสรุปจากการท�ำ Workshop เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2558 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2558 ได้มีการจัด Workshop เพื่อระดม ความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆอาทิผู้บริหาร/พนักงานรฟท.ผู้ใช้บริการ นักวิชาการ เป็นต้น ในการที่จะปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของการ รถไฟแห่งประเทศไทยให้ดีขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ บริการในส่วนของการขนส่งผู้โดยสารโดยเฉพาะด้านความสะอาดที่สถานี สถานีที่มีพนักงานท�ำความสะอาดโดยรฟท.เห็นด้วยในการให้หน่วยงาน ภายนอกเข้ามาร่วมในการตรวจสอบการท�ำความสะอาด โดยมอบให้ นายสถานีเป็นผู้ที่สามารถด�ำเนินการได้โดยตรง นอกจากนี้ในการ ประชาสัมพันธ์เวลาเข้าออก/เวลารถล่าช้าที่ ซึ่งพนักงาน รฟท. เห็นควร ให้ส่วนกลางด�ำเนินการจัดท�ำให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และข้อมูลที่ ผู้โดยสารต้องการทราบเมื่อเดินทาง ส่วนเรื่องกิริยามารยาทของพนักงาน ที่สถานี เป็นสิ่งที่ต้องได้รับการปรุงปรุง เพื่อให้คุณภาพการบริการของ พนักงานดีขึ้น โดยในมุมมองของนักวิชาการ ควรให้ รฟท. เข้มงวดตั้งแต่ การรับคนเข้าท�ำงาน ต้องเน้นในเรื่องของ Service mind และการฝึกอบรม ปรับเปลี่ยนทัศนคติในการให้บริการ ในส่วนของการขนส่งสินค้า ผู้ประกอบการต้องการให้มีบริการ แบบ One stop service โดย รฟท. จะเร่งด�ำเนินการปรับโครงสร้างเพื่อ ให้สามารถให้บริการในรูปแบบ One stop service ได้ รวมทั้งจะจัดให้มี Call center เพื่อสอบถามรายละเอียดต่างๆ โครงการย่อย 1 : ความต้องการ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการใน การขนส่งผู้โดยสารและสินค้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย โครงการย่อยที่ 2 : การรวบรวมองค์ความรู้ด้านขนส่งระบบราง: กรณีศึกษาด้านโครงสร้างพื้นฐาน หัวหน้าโครงการ : ดร.อรพินท์ บุญสิน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ หัวหน้าโครงการ : ดร.สกล บุญสิน คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัสโครงการ P-13-00752
  • 8. 8 นอกจากนั้น โครงการได้พัฒนาระบบการ จัดการองค์ความรู้แบบออนไลน์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ในชื่อ www.kmrail.org ดังรูปที่ 3 ที่สามารถให้ผู้ใช้งาน เข้าถึงได้ทุกทีทุกเวลา โดยระบบมี ส่วนประกอบที่ส�ำคัญเช่นส่วนขององค์ความรู้,Forum บทความความรู้ต่างๆ (Article) รูปที่ 2 หลักการออกแบบพัฒนาระบบการ จัดการองค์ความรู้ รูปที่ 3 ระบบการจัดการองค์ความรู้แบบออนไลน์ รูปที่ 1 เครื่องมือและระบบ (KM Tool and System) และขอบเขตการ จัดการความรู้ (KM Focus Area) 3. ผลการออกแบบระบบการจัดการความรู้ องค์กรขนส่งระบบราง โดยการก�ำหนดขอบเขตการ จัดการความรู้ (KM Focus Area) ด้านการขนส่งระบบ ราง ได้พัฒนา เครื่องมือและระบบของการจัดการ องค์ความรู้ (KM Tool and System) ดังรูปที่ 1 โดย องค์ความรู้แบ่งเป็น5กลุ่มหลักคือA.โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) B. รถและล้อเลื่อน (Rolling Stock) C.การสื่อสารและอานัฐสัญญานD.การบ�ำรุงรักษาและ ความปลอดภัย (Maintenance and Safety) และ E.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบราง(GeneralKnowledge) หลักการออกแบบพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ ประกอบด้วย ผู้ควบคุมระบบ (Admin) ผู้ใช้งานทั่วไป (Users) สมาชิก (Member) และผู้กลั่นกรองข้อมูล (Codifier) ที่เชื่อมโยงการท�ำงานด้วย รวมถึง การแลก เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนปฏิบัติCoP(Community of Practice) ดังรูปที่ 2 โครงการย่อยที่ 1 : การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง The Development of Knowledge Management Model for Rail Transportation Organization หัวหน้าโครงการ : รศ.คมสัน จิระภัทรศิลป ผู้ช่วยผู้วิจัย : ผศ.ดร.กิติเดช สันติชัยอนันต์ ผศ.ดร.อนุศิษฐ์ อันมานะตระกูล ผศ.ดร.มงคล กงศ์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บทน�ำ โครงการนี้เป็นการศึกษารวบรวมและประมวลลักษณะหรือประเภทขององค์ความรู้ด้านการ ขนส่งระบบรางที่มีอยู่ทั้งในประเทศและต่างประเทศแล้วน�ำมาพัฒนารูปแบบและระบบการจัดการความ รู้ด้านการขนส่งระบบรางที่เหมาะสมส�ำหรับองค์กรขนส่งระบบรางของประเทศไทยโดยจัดการประชุม ระดมความคิดเห็นเฉพาะกลุ่ม (Focus Group) ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบราง รวมทั้งการรวบรวม ข้อมูล จากหน่วยงานขนส่งระบบราง อาทิ การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย (รฟม.) บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ำกัด เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาและออกแบบ ระบบการจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่ง ระบบรางที่บุคลากรภายในหน่วยงานต่างๆสามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งการพัฒนาคู่มือ และบุคลากรใน การจัดการองค์ความรู้ด้านขนส่งระบบรางต่อไป ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการองค์ความรู้ขนส่งระบบราง 1.ผลการศึกษารวบรวมและประมวลลักษณะหรือประเภทขององค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบ ราง โดย การสังเคราะห์ข้อมูล พบว่า การด�ำเนินการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบราง ต้องมีการจัด ตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้เพื่อมาท�ำหน้าที่แนะน�ำและสนับสนุนให้เกิดการศึกษาค้นคว้าก�ำหนด และเชื่อมโยงฐานขององค์ความรู้ระหว่าง องค์กรด้านระบบราง โดยมีขั้นตอนการด�ำเนินการใน 5ขั้นตอนได้แก่การบ่งชี้ความรู้(IdentificationofNeed)การแบ่งปันความรู้(KnowledgeSharing) การสร้างความรู้(KnowledgeCreation)การจัดเก็บและรักษาความรู้(KnowledgeCollectionand Storage) และการปรับปรุงความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ (Knowledge Updating) 2.รูปแบบระบบการจัดการความรู้องค์กรขนส่งระบบรางที่เหมาะสม ควรประกอบด้วย5องค์ ประกอบ คือ 1) ความสอดคล้องของนโยบายของรัฐ กับนโยบายและเป้าหมายขององค์กรขนส่งระบบ ราง2)การใช้เทคโนโลยีเช่นSocialMediaหรือเว็บไซท์เพื่อสนับสนุนกิจกรรมKMในการแลกเปลี่ยน องค์ความรู้ และประชาสัมพันธ์ 3) การเชื่อมโยงข้อมูลที่เหมาะสมกับระบบ KM ขององค์กรขนส่งระบบ ราง 4) การจัดกิจกรรมและการให้รางวัลเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้าน การขนส่ง ระบบรางระหว่างผู้เชี่ยวชาญ องค์กร และสมาชิก และ 5) ความต่อเนื่องความสม�่ำเสมอและ ความยั่งยืนของระบบ KM ด้านการขนส่งระบบรางของหน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก แผนงานวิจัย 2 : การจัดการองค์ความรู้ด้านการขนส่งระบบราง รหัสโครงการ P-13-00476