SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 126
Descargar para leer sin conexión
กิตติกรรมประกาศ
               ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและเปนเกียรติ และขอขอบพระคุณทานผูมีเกียรติจํานวนมากที่ได
กรุณาใหการสนับสนุน และอนุเคราะหตอการดําเนินการโครงการวิจัย ดังตอไปนี้
               ศ. นพ.จรัส สุวรรณเวลา นายกสภาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนเสมือนครูผูชี้นํา
หรือ mentor ในดานการบริหารวิชาการและวิจัย และกระตุนใหผูวิจัยศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติม
ตลอดเวลา ศ.นพ.วิจารณ พานิช ผูกระตุนแนวคิดของการจัดการความรู ศ.ดร.เทียนฉาย และ
ศ. ดร.สุชาดา กีระนันทน กับ ศ.นพ.ภิรมย กมลรัตนกุล ที่ผูวิจัยไดมีโอกาสเรียนรูดานการจัดทํา
ยุทธศาสตรในระหวางรวมงานในชวงเวลาที่ผานมา
               ทานอาจารย ผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารระดับสูง จํานวนมากที่ไดกรุณาสละเวลาให
ผูวิจัยไดเขาพบ ทําการสัมภาษณความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อันมีประโยชนตอการวิเคราะห
และสังเคราะหขอมูล อาทิ เชน ฯพณฯองคมนตรี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย รศ.ดร.วันชัย ศิริชนะ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คุณสมนึก พิมลเสถียร สํานักงบประมาณ รศ.ดร.สุชาตา ชินะ
จิตร สํานักงานกองทุนวิจัย รวมถึงทานรองอธิการบดีของมหาวิทยาลัยหลายแหง เปนตน
               ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาสละเวลามารวมเสวนาประกอบดวย ศ.ดร.สันทัด โรจนสุนทร
ราชบัณฑิต ประธานคณะที่ปรึกษา รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งได
กรุณาทําหนาที่ประธาน และรวมใหความคิดเห็นในการประชุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.อรรถสิทธิ์
เวชชาชีวะ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.นสพ.ดร.พีระศักดิ์ จันทรประทีป ศ.ดร.ปยะวัติ
บุญหลง รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา รศ.เยาวลักษณ สุขธนะ ผศ.ดร.แกวคํา ไกรสรพงษ
ดร.นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ดร.กระหยิ่ม ศานตตระกูล ดร.พันธศํกดิ์ ศิริรัชตพงษ ดร.วีรสิทธิ์
สิทธิไตรย คุณวีระพจน แพสุวรรณ คุณปราโมทย วิทยาสุข คุณขจรศักดิ์ มหคุณวรรณ และ
คุณจิโรจน ไพฑูรย
               ทานอาจารยและผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาชวยทบทวนและปรับแกแบบสอบถามกอนนํา
ออกใช รวมถึงคณะอนุกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของคณะ
นักศึกษา วปอ. 2551 ที่ไดใหขอมูลเพื่อใชประกอบเปนสวนหนึ่งของแบบสอบถาม
               ทานผูบริหารระดับกลางและระดับสูง ไดใหความสําคัญตอประเด็นที่ผูวิจัยทําการ
ศึกษาคนควา ดวยการเสียสละเวลาตอบแบบสอบถามอยางละเอียด แมจะมีภาระงานมากดังเปนที่
ทราบอยู นอกจากนั้นหลายทานยังไดติดตอกลับเพื่อใหความเห็นเพิ่มเติมอีกดวย
               ดร.กระหยิ่ม ศานตตระกูล และดร.รุงเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ ประธานและเลขานุการ
ตลอดจนคณะอนุกรรมาธิการดานการจัดการเทคโนโลยี คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และการสื่อสาร สภานิติบัญญัติแหงชาติที่ก รุณ าอนุญาตใหนําขอมูลจากการปฎิบั ติงาน มาใช
คํานํา

                ปจจุบันโลกมีวิวัฒนาการและมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมไปอยางมาก มีความ
เจริ ญ ก า วหน า ขึ้ น มาเป น ลํ า ดั บ จากยุ ค หนึ่ ง สู ยุ ค หนึ่ ง และกํ า ลั ง เปลี่ ย นผ า นจากยุ ค เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารไปเปนยุคของเศรษฐกิจฐานความรู ประเทศที่พัฒนาแลวตางๆ จึงให
ความสนใจและพัฒนาการวิจัยใหเปนพลังในการเสาะแสวงหาองคความรู แกไขปญหาและใชหา
หนทางในการพัฒนา อันนําไปสูการสรางนวัตกรรมใหมเพื่อการใชในการสรางประเทศใหมั่นคง
และมั่ ง คั่ ง ซึ่ ง สํ า หรั บ ประเทศไทยก็ ไ ด มี ก ารตั้ ง เป า หมายในการพั ฒ นาประเทศไปสู ป ระเทศ
เศรษฐกิจฐานความรูใหเจริญกาวหนาทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกเชนเดียวกัน ดังนั้นการวิจัย
จึงเปนประเด็นสําคัญที่ตองมีการพัฒนา
                จากประสบการณของผูวิจัยทั้งทางดานการปฏิบัติงานวิจัยเปนเวลากวา 30 ป ทางดาน
บริหารดานวิชาการและวิจัย กวา 10 ป ตั้งแตระดับภาควิชา คณะ จนถึงระดับมหาวิทยาลัย และการ
รวมงานภารกิจที่เกี่ยวของกับการวิจัยดานนโยบายและบริหารจัดการในระดับประเทศเพื่อการ
พัฒนาการวิจัยของไทย ทําใหผูวิจัยไดเห็นทั้งศักยภาพของประเทศ ปญหา อุปสรรค และประเด็นที่
นาสนใจหลายประเด็น จึงเล็งเห็นวา การมียุทธศาสตรโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนา
ดานการวิจัยอยางเปนระบบ จะเปนสิ่งสําคัญในการชวยสงเสริมการวิจัยของประเทศใหมีคุณภาพ
สามารถนําไปใชในการแกไขปญหา และ/หรือ ใชเพื่อการพัฒนาประเทศในดานตางๆ ตั้งแต ดาน
ประชาสังคม จนถึงดานเศรษฐกิจ ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจในการจัดทํายุทธศาสตรเชิงรุกใน
การพัฒนาดานการวิจัย โดยการศึกษาหาขอมูลจากหลายๆแหลง และวิเคราะหตามขั้นตอนของการ
จัดทํายุทธศาสตร แลวนํามาสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสราง
ความเขมแข็งของประเทศ
                ผูวิจัยหวังวาผลการวิจัยในเรื่องยุทธศาสตรดังกลาวจะเปนสวนชวยใหผูที่สนใจหรือผู
ที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศ สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชน และมี
สวนชวยในการพัฒนาประเทศไปสูเปาหมายที่วางไวไมมากก็นอย

                                                            (ศ.นพ. สุทธิพร จิตตมิตรภาพ)
                                                        นักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
                                                               หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51
                                                                      ผูวิจัย
สรุปยอ
เรื่อง ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย ศาสตราจารย นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51

ความเปนมา
         การศึกษาคนควาวิจัยในแขนงตางๆ เพื่อนําความรูหรือองคความรูที่หลากหลายมาใชในการ
พัฒนาประเทศ ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของนานาประเทศ เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนา
กาวสูการเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู ซึ่งก็เปนไปตามวิวัฒนาการของโลก ประเทศไทยก็
เชนเดียวกัน มีการระบุใหการวิจัยเปนพลังในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรตางๆในการพัฒนาประเทศ
ใหเปนไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 โดยไดมีการนอมนําเอากระแส
พระราชดําริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงมาใชประกอบดวย เพื่อใหการพัฒนาประเทศเปนไปอยางยั่งยืน

วัตถุประสงคของการวิจัย
          เพื่อศึกษากลยุทธการพัฒนาดานวิจัยของประเทศตางๆ และกลยุทธของหนวยงานที่เกี่ยวของ
กับการวิจัยในประเทศไทย รวมถึงศึกษาการดําเนินการดานวิจัยของหนวยงานตาง ๆ วิเคราะห จุด
แข็ ง จุด ออ นโอกาส ภาวะคุ ก คาม ปจ จัย สนั บ สนุน ป ญหาและอุป สรรค นํ า มาสั ง เคราะหเ ป น
ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาการวิจัย เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกประเทศ


ขอบเขตการวิจัย
        การวิ จั ย เน น การศึ ก ษาในหน ว ยงานทุ ก หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ งานวิ จั ย หรื อ มี ก าร
ดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัย แตจะเนนที่หนวยงานภาครัฐเปนสวนใหญ โดยไดแบงขอบเขตใน
การศึกษาการพัฒนาดานการวิจัยที่ยึดหนวยงานเปนหลัก มุงประเด็นการวิจัยเปนหลัก และมุง
ผลผลิตเปนหลักดวย
2

วิธีดําเนินการวิจัย
        การวิจัยนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีดําเนินการดังตอไปนี้
        1. การรวบรวมขอมูล ใชวิธีการรวบรวมขอมูล 5 วิธี ไดแก 1.การศึกษาจากเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature review) 2.การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัย
ของประเทศและข อ มู ล การเปรี ย บเที ย บป จ จั ย ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพและ
ความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยในเวทีโลก 3.การใชแบบสอบถามความคิดเห็น 4.การ
สัมภาษณเชิงลึก(In-depth interview) โดยใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550 ซึ่งผูวิจัยได
รวมสัมภาษณในประเด็นนี้ และการสัมภาษณเฉพาะกลุมเจาะจง (Purposive sampling)ไดแก ผูบริหาร
ระดับสูงของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ
5.การเสวนาของกลุมผูทรงคุณวุฒิ
        2. การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลจากการรวบรวมทั้งเอกสารงานวิจัย ขอมูลจากแบบสอบถาม
และการสัมภาษณเชิงลึก มาทําการวิเคราะหใหไดขอมูลและขอเท็จจริงในประเด็นตาง ๆ ที่จะนําไป
สังเคราะหเปน ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย

ผลการวิจัย
         จากข อมูลสถานภาพในอดีต และปจจุบันของประเทศไทย ที่ แสดงถึ งความเข มแข็ งและ
ความสามารถในการแขงขัน ซึ่งศึกษาและรายงานโดย International Institute for Management
Development – IMD ประเทศไทยไดรับการประเมินวามีความสามารถในการแขงขันในระดับปาน
กลางตลอดชวงเวลา 5 ปที่ผานมา และมีการพัฒนาในแตละดานสูงขึ้นเปนลําดับอยางชา ๆ แตพบวา
ยังออนดอยกวาบางประเทศที่มีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ปจจัยที่พบวายังออนดอยไดแก เศรษฐกิจ
ภายในประเทศ ผลิตภาพและประสิทธิภาพการผลิต สุขภาพและสิ่งแวดลอม การลงทุนระหวาง
ประเทศ ระบบการศึกษา (รวมถึงการวิจัย) โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี โครงสรางพื้นฐานดาน
วิทยาศาสตร กรอบโครงสรางสังคม ซึ่งนับเปนปญหาและจุดออนดอยที่ตองปรับแกไข
         จากการศึกษาระบบการวิจัยของตางประเทศ กรณีตัวอยาง สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุน
ออสเตรเลีย และ สิงคโปร ยืนยันไดวา การวิจัยเปนแรงขับเคลื่อนที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ การ
มีการวิจัยที่มีเปาหมายแนวทางชัดเจนและตอบสนองตอความตองการ จะเปนประโยชนตอการพัฒนา
ประเทศ การจัดทํายุทธศาสตร นโยบาย และแผนวิจัย เพื่อเปนแนวทางการวิจัยใหหนวยงานวิจัยหรือ
สถาบันตางๆ มีทิศทางการวิจัยไปในทางเดียวกัน แตมีการกระจายอํานาจการตัดสินใจใหแกองคกร
ระดับตาง ๆ ที่มีการกําหนดพันธกิจที่ชัดเจน โดยที่ตางมุงเปาหมายเปนหลัก โดยมีการประเมินเปน
3

ระยะ ๆ ประกอบกับมีการลงทุนคอนขางสูงในดานโครงสรางพื้นฐาน และทุนสนับสนุนการวิจัย เปน
ปจจัยแหงความสําเร็จในการพัฒนา
          การวิเคราะหยุทธศาสตรดานการพัฒนาการวิจัยและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของของประเทศ พบวา
ยุทธศาสตรหรือนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติในปจจุบันยังขาดการมีสวนรวม ทําใหไมไดรบ      ั
การยอมรับ ไมตอบสนองตอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ขณะเดียวกันก็มียุทธศาสตรของ
หลายองคกรมีสวนคาบเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา ซึ่งแตละองคกรจัดทําขึ้นเพื่อตอบสนองตอพันธ
กิจของตนเองเทานั้นไมมีลักษณะการบูรณาการ โดยเฉพาะในสวนขององคกรที่ทําหนาที่จัดสรรทุนที่
กอใหเกิดความซ้ําซอน หรือกลายเปนสวนเสี้ยวไมตอเนื่อง ไมเชื่อมโยง ขาดน้ําหนัก และไมสามารถ
ดําเนินไปจนครบวงจรที่จะนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรม หรือเพิ่มคุณภาพชีวิต ประเทศไทยยังมี
ปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาดานการวิจัยคอนขางมาก โดยมีประเด็นที่นาสนใจหลายประการดังนี้
          1. ป ญ หาด า นระบบ แนวคิ ด และกระบวนทั ศ น ใ นการพั ฒ นา ตั้ ง แต ร ะดั บ นโยบาย
บริหารจัดการ ไปจนถึงระดับปฏิบัตการ ยุทธศาสตรหรือนโยบายและแผนวิจัยแหงชาติในปจจุบันยัง
                                   ิ
ขาดความชัดเจน ขาดทิศทาง ขาดการมีสวนรวมในการจัดทํา ทําใหขาดการยอมรับ การจัดสรรทุน
เพื่อการวิจัยก็ไมสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
          ระบบวิจัยของประเทศไมมีความชัดเจนในดานโครงสราง องคกร การประสานเครือขาย
ความร ว มมื อ หลายหน ว ยงานที่ มี พั น ธกิ จ คาบเกี่ ย วหลายพั น ธกิ จ การขาดความตระหนั ก ใน
ความสําคัญของการวิจัย ในทุกระดับ และไมไดใชการศึกษาวิจัยอยางเปนระบบระเบียบในการ
แกปญหา กลาวไดวางานวิจัยของประเทศ ไมครบวงจร ไมสมดุล ไมตอเนื่องเชื่อมโยงระหวางผูวิจัย
และผูที่ควรนําผลไปใชงาน
          2. การขาดแคลนทรัพยากรเพื่อการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เนื่องจากงบเพื่อการวิจัย
พึ่งพางบประมาณภาครัฐเปนสวนใหญ แตจัดไวเพียงรอยละ 0.2 ของผลผลิตมวลรวมของประชาชาติ
นอกจากนี้ยังขาดแคลนเครื่องมืออุปกรณในการวิจัย การใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดอยางไมคุมคา
          3. โครงสรางพื้นฐานทั่วไป โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยังไมดีพอ
          4. มีปญหาดานการบริหารจัดการ ขาดประสิทธิภาพ ทั้งดานการบริหารคน บริหารเงิน
และบริหารงาน ที่สําคัญที่สุดคือขาดการประเมินผลเพื่อนํามาใชปอนกลับในการพัฒนางานตอไป
          5. ปญหาดานกําลังคน บุคลากรสายวิจัย สายวิทยาศาสตรเทคโนโลยีมีจํานวนไมพอเพียง
          6. คุณภาพของงานไมดีเพียงพอ ทั้งที่มีผลในเชิงวิชาการ หรือการเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ
          7. การขาดการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ ทุกระดับ ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา
          8. ขาดการบูรณาการในดานการวิจัยในทุกระดับ และทุกมิติ
4

         ในการสังเคราะหยุทธศาสตรในการพัฒนาดานการวิจัยเนนที่ยุทธศาสตรเชิงรุก พิจารณาจาก
สวนที่ประเมินวา มีจุดแข็งและมีโอกาสที่ดี กับในสวนที่ประเมินวามีโอกาสสูงแตยังมีจุดออนที่ตอง
เรงแกไข ซึ่งไดกําหนดเปนยุทธศาสตรใหครอบคลุมทั้ง 3 องคประกอบหลัก ไดแก
         1. การสรางความรูใหม องคความรูใหม (Knowledge Creation) สรางความรู รวมไปถึงการ
สรางคนที่มีจิตวิจัย และมีความรูทักษะการวิจัย ครอบคลุมทุกสาขา
         2. การจัดการความรูที่ไดรับ (Knowledge Management) เพื่อใหสามารถนําเอาความรูนั้นไป
ประยุกตใชประโยชนเชิงวิชาการ ชุมชน สังคม เศรษฐกิจและเพื่อพัฒนากระบวนการในทุกภาคสวน
         3. การใชความรูเปนฐานสรางพลังในตนเอง (Empowerment) โดยมุงเปาผลผลิต เพื่อลดการ
พึ่งพา และการมีภูมิคุมกันเสริมความแข็งแรงในตนเอง และการสรางความสามารถในการแขงขัน
         โดยแตละองคประกอบมี 3 ระดับ 3 มิติ 3 ขอบเขต เพื่อใหเกิดภาพองครวมของการพัฒนา
โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ คือ
         ระดับการพัฒนาดานการวิจัย แบงไดเปน 3 ระดับ คือ 1.ระดับนโยบาย อํานวยการ กํากับ
2. ระดับบริหารจัดการ ประสาน สนับสนุนและตรวจสอบ ประเมิน และ 3. ระดับปฏิบัติการ
         มิติของการพัฒนาดานการวิจัย ไดแก 1. การสนับสนุนสงเสริมการจัดสรรทรัพยากร 2.การ
ดําเนินการศึกษาคนควาวิจัย และ 3. การเผยแพรความรู ของงานวิจัยในทุกๆดานเพื่อการใชประโยชน
         ขอบเขตของการพัฒนาดานการวิจัย ประกอบดวย 1. ขอบเขตที่ยึดหนวยงานรับผิดชอบ
เปนหลัก 2. ขอบเขตที่ยึดประเด็นการวิจัยเปนหลัก และ 3. ขอบเขตที่ยึดเปาหมายผลการวิจัยเปนหลัก

การนําไปใชประโยชน
         จากการสังเคราะหขอมูล สามารถสรุปรวมเปนยุทธศาสตรเชิงรุก 8 ยุทธศาสตร ที่จะนําไปสู
การดําเนินการใหเกิดประโยชนแกประเทศ ไดแก
         ยุทธศาสตร 1 การปรับกระบวนทัศนเกี่ยวกับการวิจัยใหเห็นวาการวิจัยเปนปจจัยสําคัญตอ
การดําเนินงานเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง การวิจัยเปนการลงทุนของประเทศ การวิจยสามารถ
                                                                                     ั
ตอบสนองการพัฒนาประเทศไดทุกดานทั้งระดับ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่งคงของมนุษย
         ยุทธศาสตร 2 การปรับปรุงระบบวิจัย ปรับองคกร กําหนดบทบาทหนาที่ใหมีการบูรณา
การ ทั้งในระดับโครงการวิจัย บุคลากร หนวยงานรวมวิจัย หนวยงานบริหารจัดการ และหนวยงาน
นโยบาย เพื่อนําไปสูการจัดทํายุทธศาสตรนโยบายและแผนงานวิจัยของชาติแบบบูรณาการ ซึ่งมีการ
กํากับ ติดตามการดําเนินงาน มีการประเมินผลเพื่อใชในการปรับปรุงแผนใหเหมาะสมอยางตอเนื่อง
5

           ยุทธศาสตร 3 การกําหนดงบประมาณเพื่อการวิจัยอยางพอเพียง ทั่วถึง และเกิดผลสัมฤทธิ์
ที่ดี ปรับปรุงระบบการจัดสรรใหสอดคลองกับระบบวิจัยและแผนงาน ครอบคลุมทุกภาคสวน มี
หลากหลายมิติ มีการกําหนดหนวยงานที่รับผิดชอบงบประมาณนั้นๆ รวมทั้งสามารถแยกประเภท
งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการที่ดีการพัฒนาคนให
           ยุทธศาสตร 4 การพัฒนาคนใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภารกิจ สามารถขับเคลื่อน
ยุ ท ธศาสตร และมี ศั ก ยภาพในการปฏิ บั ติ ง านตามภารกิ จ สายอาชี พ นั ก วิ จั ย นั ก วิ ท ยาศาสตร ที่ มี
คุณลักษณะและวิธีการทํางานที่อาศัยความรูและการคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล รวมถึงการพัฒนา
อาชีพนักวิจัย นักวิทยาศาสตรที่ยังขาดแคลน เพื่อใหเปนฐานกําลังสนับสนุนและสงเสริมการสราง
เครือขายวิจัยเพื่อเสริมพลังซึ่งกันและกันและใชทรัพยากรอยางคุมคา
           ยุทธศาสตร 5 การสรางมูลคาแกผลผลิตการวิจัย การกระจายความรูผลผลิตงานวิจัย พัฒนา
ตําแหนงและบริหารหวงโซอุปทาน (Value Chain) ของผลผลิตเพื่อใหผลงานใหเปนที่รับรูโดย
กวางขวาง ใหผูที่จะใชประโยชนสืบคนเขาถึงขอมูลได ทั้งการนําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไป
สรางนวัตกรรม พัฒนาผลิตภัณฑสินคาและบริการ ที่ใหประโยชนเชิงพาณิชยมีเอกลักษณ จําหนาย
แขงขันได รวมถึงมีการบริหารจัดการการใชประโยชนในรูปแบบของทรัพยสินทางปญญาที่มีการจด
ทะเบียน คุมครอง แบงสรรผลประโยชนอยางยุติธรรม รวมถึงการปกปองสิทธิของผูประดิษฐคิดคน
           ยุทธศาสตร 6 การเนนสรางการทํางานแบบบูรณาการดานการวิจัยในทุกองคประกอบ ทุก
มิติ ทุกระดับ และครอบคลุมขอบเขตตางๆที่จําเปนใหเกิดบูรณาการตั้งแตสวนใหญไปจนถึงสวนยอย
           ยุทธศาสตร 7 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัยในภาพรวม โครงสราง
พื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เทคโนโลยีการเชื่อมตอระบบ การ
คมนาคม และระบบโลจิสติกส เพื่อเปนปจจัยสําคัญสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาและการบูรณาการ
งานวิจัย อยางเหมาะสม พอเพียงสําหรับการพัฒนาในอนาคต และเปนไปตามระบบมาตรฐาน
           ยุทธศาสตร 8 การพัฒนาการวิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจาก
ตางประเทศ ผานความรวมมือที่มีอยู หรือรับถายทอดโดยอาศัยทรัพยากรบุคคลชาวไทยที่มีศักยภาพ
ในตางประเทศ ในการพัฒนาเฉพาะดานที่ถูกกําหนดโดยยุทธศาสตรใหมีลําดับความสําคัญในลําดับ
ตน ๆ หรือที่ประเทศมีความเขมแข็งเปนทุน หรือเปนฐานการผลิตขนาดใหญของโลกในปจจุบัน
           “ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ” เปน
ยุทธศาสตรที่สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนาใหประเทศไทยไดเจริญกาวหนาไปสู
ประเทศที่พัฒนาบนเศรษฐกิจฐานความรู เปนหนึ่งในผูนําในระดับนานาชาติ และเปนประเทศที่ภาค
ประชาสังคมมีการพัฒนาโดยอาศัยปญญาและบนพื้นฐานของปรัชญาพอเพียง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวไดทรงพระราชทานแนวทางการพัฒนาประเทศไว
บทคัดยอ
เรื่อง ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย ศาสตราจารย นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51

                  การคนควาวิจัยเพื่อหาความรู และสรางนวัตกรรม ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญ
เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนาเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู และกาวสูความมั่งคั่งและ
มั่นคง ประเทศไทยก็ไดวางแนวทางที่จะนําการวิจัยมาใชเปนพลังในการขับเคลื่อนไปสูเปาหมาย
เชนเดียวกัน อยางไรก็ตามการกําหนดยุทธศาสตรที่เหมาะสมโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกเปน
ปจจัยสําคัญที่จะชวยใหมีการดําเนินงานจนประสบความสําเร็จ
                  ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาขอมูลการพัฒนาดานงานวิจัยของประเทศตาง ๆ ที่มีความ
เจริญกาวหนา เปรียบเทียบกับขอมูลของหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของกับการวิจัยของไทย นํามา
วิ เ คราะห เ พื่ อ แสดงให เ ห็ น ป จ จั ย สนั บ สนุ น จุ ด แข็ ง โอกาส จุ ด อ อ น ภาวะคุ ก คาม แล ว นํ า มา
สังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ
                  การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยทําการรวบรวมขอมูล 5 วิธี ไดแก 1.การศึกษา
จากเอกสาร 2.การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศ และขอมูลการ
เปรียบเทียบปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศไทยในเวทีโลก 3.การใชแบบสอบถามความคิดเห็น 4.การสัมภาษณเชิงลึก 5.การเสวนา
ของกลุมผูทรงคุณวุฒิ
                  จากการรวบรวมขอมูลสามารถสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุก 8 ยุทธศาสตรไดแก
1.การปรับกระบวนทัศนเกี่ยวกับการวิจัย 2.การปรับปรุงระบบวิจัยของประเทศ ปรับองคกรและการ
กําหนดบทบาทหนาที่ที่มีการบูรณาการ และมีการประเมินผลอยางเหมาะสมและตอเนื่อง 3.การ
กํา หนดงบประมาณที่ พ อเพี ย งและปรั บ ปรุ ง ระบบการจั ด สรรให ส อดคล อ งกั บ ระบบวิ จั ย และ
แผนงาน 4.การพัฒนาคนใหสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร และมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตาม
ภารกิ จ สายอาชี พ นั ก วิ จั ย นั ก วิ ท ยาศาสตร 5.การเน น สร า งการทํ า งานแบบบู ร ณาการในทุ ก
องคประกอบ ทุกระดับ ทุกมิติ 6.การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัย 7.การพัฒนาการ
วิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ หรือรับถายทอดโดยอาศัย
ทรั พยากรบุ คคลชาวไทยที่มี ศักยภาพในตางประเทศ 8.การสรางมูลคาแก ผลผลิตการวิจั ย การ
กระจายความรูผลผลิตงานวิจัย ทั้งการนําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไปสรางนวัตกรรม พัฒนา
ผลิตภัณฑสินคาและบริการซึ่งทั้งหมดนี้ตองดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง
Abstract

Title Proactive strategies for the development of research to strengthen Thailand’s
      potential power and competitiveness
Field Science and Technology
Name Professor Dr. Soottiporn Chittmittrapap Course NDC                   Class 51

             Research to develop knowledge and innovation is a key strategy to drive many
countries towards a knowledge-based economy and wealth of the nation. Thailand also determines
to use research as an important driving tool for the rapid development of the country to achieve a
similar target together with the self-sufficient approach, thus requires a set of proactive strategies.
             This is a descriptive study using 5 methods of data collection; 1.Literature review
2.Review of strategies and plans on research development especially in relation to capacity building
and competitiveness of Thailand in the global arena 3.Questionnaires 4.In-depth interviews
5.Focus Group discussion.
             This study has analyzed the development on research of the developed countries and
compared it with the current situation and trends on Thailand’s development on research by using
information and data of the concerned agencies and others sources of the above-mentioned data.
The result was categorized and grouped as enabling factors, strengths, opportunities, weaknesses,
threats and problems. Based on these factors, a set of proactive strategies on research reform and
development has been synthesized in order to enhance Thailand’s capacities and competitiveness.
             Eight proactive strategies have been formulated as follows: 1.Paradigm change on the
concept of research 2.Structural reform of the national research system 3.Reform of national
research budget system, appropriated amount of budget and its allocation 4.Human resource
development in research, science and technology 5.Value-adding to the research products and to the
value-chain of goods and products of Thailand 6.Enhancement of harmonization and collaboration
in comprehensive plan and management 7.Improvement of research, science and technology
infrastructures 8.International technology transfer for a great-leap forward in research development.
Implementation of these proactive strategies must be fully supported and continuously deployed
hence resulting in a reform of research system in Thailand and therefore enhancing Thailand’s
capacities and competitiveness.
บทที่ 1
                                           บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
              การศึกษาคนควาวิจัยในแขนงตาง ๆ เพื่อนําความรู หรือองคความรูที่หลากหลายมาใช
ในการพัฒนาประเทศ ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของนานาประเทศ เพื่อผลักดันใหประเทศ
เจริญพัฒนา โดยอาศัยฐานความรู เปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ นับเปนการเปลี่ยนแปลงและเปนแรง
ขับ เคลื่อ นในทิ ศ ทางใหมที่ สํา คั ญ ของสถานการณ ระดับ โลก ในสว นของประเทศไทยก็ มีก าร
ปรับเปลี่ยนแนวทางและรูปแบบการพัฒนา ซึ่งไดเล็งเห็นความสําคัญในดานการวิจัยเชนกัน โดยมี
แนวคิดใหพัฒนาการวิจัยที่ตองเห็นผลเปนรูปธรรม ประเมินได และแปรใหเกิดประโยชนไดทั้งใน
เชิงผลลัพธ และ/หรือ ผลกระทบตอความกาวหนาของประเทศอยางชัดเจน ตองมีการบริหารจัดการ
การวิจัยแบบใหมที่มีประสิทธิภาพ และยังเนนการวิจัยในประเด็นเรงดวนที่เปนภัยคุกคาม เชน
ภั ย ด า นความมั่ น คง ภั ย จากความยากจน ภั ย จากการขาดความสามารถในการแข ง ขั น ในด า น
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ ธุรกิจบริการ
              แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาดานวิจัยอันดับแรก ก็คือ ความเขาใจในบทบาทของ
การวิจัยสําหรับภารกิจตาง ๆ ซึ่งพบวาการวิจัยมีบทบาทหลักอยูหลายประการ
              ประการแรก การวิจัยเปนการสรางความรู ซึ่งจะนําสูการตัดสินใจในการแกปญหา และ
การพัฒนา เพราะความรูเปนสิ่งสําคัญสําหรับการปฏิบัติงานใด ๆ ก็ตาม ทั้งนี้ความรูที่มีอยูแลวอาจ
ไมเพียงพอจึงตองมีการหาและสรางความรูใหม ๆ ความรูหลาย ๆ อยางเปนความรูที่มีความจําเพาะ
ในถิ่นหนึ่ง ๆ ในกลุมคนที่มีชาติพันธุหนึ่ง ๆ ที่ไมอาจนําความรูสากลมาใชได หรือนํามาใชไดเพียง
บางสวน
              ประการที่ 2 การวิจัยเปนเครื่องมือในการสรางคนในระบบการศึกษา ชวยใหไดคนที่มี
ความสามารถในการหาความรู การรูจักคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ รูจักเก็บและใชขอมูลที่แมนตรง
เชื่อถือได และรูจักใชสถิติและเหตุผลที่เหมาะสมในการตัดสินใจ มีวิจารณญาณ คิดเปน ทําเปน
แกปญหาเปน ดียิ่งไปกวานั้นคือรูจักสังเคราะหความรู แนวปฏิบัติ จากความรูที่ไดรับ มีความคิด
ริเริ่มสรางสรรค และมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง แมจะผานชวงระยะเวลาในการศึกษาไปแลวก็
ตามยังสามารถเรียนรูอยูไดตลอดเวลา
              ประการที่ 3 การวิจัยเปนเครื่องมือในการนําความรูมาใช เพราะความรูเปนพลวัตรที่มี
การเปลี่ยนแปลง และมีการเกิดขึ้นใหมตลอดเวลา ในการนํามาใชถารูจักใชหลักของการวิจัยก็จะทํา
ใหสามารถสืบคน ประเมินคุณคา และเลือกใชขอมูลความรูที่เปนจริง หรือเชื่อถือได นอกจากนั้นยัง
อาจใช ก ระบวนการวิ จั ย มาใช ใ นการปรั บ แต ง จั ด หมวดหมู จั ด การให เ กิ ด การเผยแพร ใ ห ไ ด
ประโยชน หรือจัดเปนมาตรฐาน เปนแนวทงปฏิบัติ
             ประการที่ 4 การวิจัยเปนเครื่องมือในการสรางพลังของตนเอง สรางคุณคามากขึ้น ใน
แงของการพึ่งตนเองไมตองอาศัยความรูผูอื่นหรืออาศัยแตเ พียงส วนนอย ยกตัว อยาง ประเทศ
สหรัฐอเมริกา สวีเดน ฟนแลนด เนนในเรื่องการวิจัยและพัฒนา สามารถเปนผูนําในการคิดคนสิ่ง
ใหมๆ ทั้งความรูและประยุกตนําไปสรางผลิตภัณฑใหม ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เชน ญี่ปุน เกาหลี
และไตหวัน ก็พัฒนาไดมากเพราะมีการสรางนักวิจัยมาก ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา
ดังนั้นงานวิจัยจึงทําใหประเทศไทยพึ่งตนเองไดมากขึ้น เมื่อถึงระดับหนึ่งก็จะเปนเครื่องมือในการ
สรางศักยภาพและความสามารถในการแขงขัน ในภาวะที่มีกระแสโลกาภิวัตน และการดําเนินงาน
ในระดับโลกไรพรมแดน และตลาดเสรีในทุก ๆ ดาน

             แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาดานวิจัยอันดับที่สอง ก็คือ งานวิจัยที่ควรมีลักษณะ
บูรณาการ ซึ่งหมายรวมถึง
             1. งานวิจัยที่มีการผสมผสานวิชาการหลาย ๆ ดาน และใชความเชี่ยวชาญของนักวิจัย
ตางศาสตร
             2. งานวิจัยที่มีศักยภาพนําไปสูการใชประโยชนที่เปนรูปธรรม ทั้งประโยชนในดาน
วิชาการและประโยชนในเชิงประยุกตใชงาน หรือประโยชนในเชิงพาณิชย
             3. งานวิจัยที่ผสมผสานไปกับการสรางทีมวิจัย ทั้งการพัฒนาศักยภาพของอาจารยรุน
ใหม การผลิตบัณฑิตศึกษา ดังไดกลาวเนนแลวเกี่ยวกับแนวคิดอันดับแรก ประการที่สอง และได
ขยายไปถึงการพัฒนาความสามารถในการวิจัยสําหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตดวย การสรางทีมวิจัย
แบบผสมผสานยังนาจะไดรวมถึงบุคลากรในพื้นที่ ในชุมชน ที่มารวมทําการวิจัยเพื่อพัฒนาทองถิ่น
หรือบุคลากรของภาคอุตสาหกรรมที่มารวมกันทําวิจัย เพื่อความเจริญกาวหนาในกระบวนการผลิต
หรือพัฒนาผลิตภัณฑของภาคอุตสาหกรรม
             แนวความคิดของการพัฒนาดานวิจัยอันดับที่สาม นับวามีความสําคัญเชนกัน ไดแก
ความเชื่อมโยงระหวางสถาบันอุดมศึกษา หรือหนวยวิจัย กับหนวยงานปฏิบัติที่ตางเขาใจบทบาท
ของตนเองและผูอื่น เพื่อสงตอหรือถายทอดผลจากการวิจัยนําไปสูภาคปฏิบัติ
             สถาบันอุดมศึกษาเปนแหลงความรู แหลงที่มีทรัพยากรบุคคลที่มีความรูความสามารถ
และได ดํ า เนิ น ภารกิ จ ในการสร า งป ญ ญาความรู ม าอย า งต อ เนื่ อ ง จึ ง เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ใน
กระบวนการพัฒนาประเทศโดยใชฐานความรู ในสวนของสถาบันอุดมศึกษาที่มีความพรอมใน
งานวิจัยระดับหนึ่ง ก็ไดพยายามใชศักยภาพในการพัฒนางานวิจัยขึ้นอยางตอเนื่อง มีการสนับสนุน
สงเสริมการวิจัย สนับสนุนบุคลากรในสวนอาจารยและนักวิจัย เกิดผลงานดานการวิจัยที่โดดเดน
ในหลายสาขา นักวิจัยจํานวนหนึ่งไดรับการยอมรับในความสามารถและเปนแกนนําในดานหนึ่ง ๆ
ในระยะตอมามีการจัดตั้งหนวยงาน/องคกรวิจัย ทั้งแบบเปนทางการในรูปแบบสถาบันวิจัย มีระบบ
บริหารจัดการอยางเปนระบบระเบียบ มีอุปกรณการวิจัย และ นักวิจัย ของแตละสถาบัน เพื่อหวัง
สรางงานวิจัยแบบกลุมกอน นอกเหนือไปจากการวิจัยของภาควิชา ของคณะ/วิทยาลัย/สํานักวิชา
นอกจากนั้นก็มีแนวคิดในการสงเสริมสนับสนุนการวิจัยในลักษณะกลุมที่มีความยืดหยุนมากขึ้น
ไดแก หนวยวิจัย ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อยางไรก็ตามวิเคราะหไดวาองคกรวิจัยทั้งระดับคณะ/
สถาบันวิจัย หนวยวิจัย ศูนยตาง ๆ ก็ยังมีปญหาความชัดเจนในเชิงนโยบาย ทิศทาง และพื้นฐานที่
สําคัญในดานตางๆ ที่จะผนึกกําลังรวมกันใหเปนภาพรวมของการวิจัยทั่วทั้งมหาวิทยาลัย
              สภาพการณปจจุบันของสถาบันอุดมศึกษา จึงมีลักษณะที่มีงานวิจัยในปริมาณรวมที่
เปนที่ยอมรับไดในระดับหนึ่ง มีความหลากหลายสูงมาก มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดีเดนจํานวนไมนอย
กระจัดกระจายไปในแตละกลุม แตละสาขา มีงานวิจัยในประเด็นที่ใกลเคียงกันหรือเกี่ยวของกันใน
แตละสาขาความเชี่ยวชาญที่ไมเชื่อมโยง หรือเสริมกันและกันอยางเปนรูปธรรม มีอาจารย/นักวิจัย
ที่ใหความสําคัญตอการวิจัยและมีการวิจัยอยางตอเนื่องจํานวนหนึ่ง แมวาในสวนของอาจารย/
นักวิจัยรุนใหมที่สนใจและใหน้ําหนักสูงตอการวิจัย สัดสวนนี้จะมากเปนที่นาพอใจ แตในภาพรวม
ประเมินวายังเปนสัดสวนที่นอยกวาความตองการ ในบางสถานที่มีเครื่องมืออุปกรณสนับสนุนการ
วิจัยที่พอเพียง แตอาจารย/นักวิจัย ที่อาจสามารถใชประโยชนจากเครื่องมือ อุปกรณ ยังไมทราบ
หรือไมมีก ลไกในการเข าร ว มกลุม เพื่อ ใหสามารถใชเครื่ องมื อพัฒนาศัก ยภาพของตนเองและ
งานวิจัยไดเต็มที่
              ลักษณะของการพัฒนาดานการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาที่กลาวมานี้สวนใหญยังอยู
ภายในสถาบัน และอาจารย นักวิชาการเปนศูนยกลาง และอาศัยพื้นความรูหรือประสบการณความ
ถนัดเดิมของนักวิชาการเหลานี้ในอดีตเปนหลัก ประโยชนจึงมักเกิดกับความกาวหนาทางวิชาการ
ของสาขาวิชานั้นๆและความกาวหนาของบุคคลหรือหนวยงานวิชาการ
              ในขณะเดียวกัน หนวยปฏิบัติเชนหนวยงานของกระทรวง กรม กองตาง ๆ มีหนาที่ใน
การพัฒนาประเทศ ซึ่งสวนใหญบุคลากรของหนวยงานก็ไดอาศัยความรูที่ศึกษามาจากสถานศึกษา
ไปดําเนินการโดยมีการปรับใหเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพทางสังคม และสภาพของ
ทรัพยากรสนับสนุน อยางไรก็ตามในความเปนจริง มีปญหาจํานวนไมนอยที่ไมสามารถแกไขดวย
การใชพื้นความรูเดิม หรือไดดําเนินการอยางประสบความสําเร็จมาขั้นหนึ่งแลวยังคงตองการการ
พัฒนาตอ ก็พบวาตองการความรูมากขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง หากไมมีการศึกษา คนควา วิจัย ก็อาจทํา
ใหไมสามารถแกไขปญหาที่ซับซอนได หรือไมสามารถพัฒนาตอได เมื่อเห็นวาการวิจัยสามารถ
แกปญหาหรือพัฒนาได ก็อาจขวนขวายดําเนินการ แตทั้งนี้ก็มักประสบอุปสรรคมากมายในหลาย
ดานทั้งบุคลากรสนับสนุน เครื่องมืออุปกรณการวิจัย การติดตามความรูใหมที่ทันสมัยมาใช อีกทั้ง
ภารกิจหลักในดานการปฏิบัติ บริการ ก็มากเต็มกําลัง
การเชื่อมโยงระหวางสถาบันการศึกษา หรือหนวยวิจัย กับหนวยปฏิบัติ ที่ตางเขาใจ
บทบาทและหนาที่ของตนเองและของผูอื่น จึงทําใหเกิดการใชประโยชนความถนัดและความ
เชี่ยวชาญของทั้งสองฝายเขามาผสมผสาน ทําใหสามารถแกไขปญหาที่ซับซอน หรือสามารถหา
หนทางพัฒนาไดอยางตอเนื่องไมมีวนสิ้นสุด
                                    ั
               อันดับสุดทายของแนวความคิดก็คือ ภาพของ “การพัฒนาดานวิจัย” นั้นตองใหเปนที่
รับรูเปนที่ยอมรับในทุกวงการ ทั้งวงการการศึกษา วงการธุรกิจ วงการอุตสาหกรรม ประชาสังคม ที่
ไดเห็นและยอมรับวา การศึกษาคนควาวิจัย เพื่อสรางองคความรูไมใชแตเพียงสามารถนําไปสู
ความกาวหนาดานวิชาการ แตยังสามารถนําไปสูการพัฒนาระบบอุตสาหกรรม วงการธุรกิจ สราง
ศักยภาพในการแขงขันของประเทศ กับสามารถนําไปสูการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งทั้งหมดใน
ภาพรวมทําใหประเทศนั้นเขมแข็งในทุกภาคสวน
               แนวความคิดเกี่ยวกับการวิจัยที่กลาวมานี้จึงเปนประเด็นหลักในการดําเนินการหลาย
ประการสําหรับการกําหนดยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อพัฒนางานดานวิจัย เพื่อการสรางความเขมแข็ง
ใหแกประเทศไทย นอกจากการตีพิมพเพื่อแสดงความสําเร็จหรือความกาวหนาดานวิชาการ สวนที่
มีศักยภาพในการพัฒนาตอเนื่องไปถึงการประยุกตใชในดานตาง ๆ ก็มีการเชื่อมโยงไปยังภาคสวน
นั้น ในขณะเดียวกันงานวิจัยนั้นตองดําเนินการตามมาตรฐานสากลของการวิจัย เชื่อถือไดในความ
ถูกตอง แมนตรง เพื่อใหการพัฒนานั้นเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด
               การที่ประเทศไทยจะยกระดับการดําเนินงานดานการวิจัยของประเทศใหเปนที่ยอมรับ
ในระดับสากล จึงนาจะสามารถพัฒนาไดจากศักยภาพที่มีอยู แตตองการการพัฒนาระบบวิจัยและ
การบริหารจัดการงานวิจัย ในหลาย ๆ ดาน โดยความมุงมั่นในเปาหมายรวมกันในทุกระดับ และ
พัฒนาอยางตอเนื่อง เชื่อมโยงสัมพันธกัน พรอม ๆ ไปกับการพัฒนาระบบคุณภาพ และระบบการ
จัดการความรูเพื่อใหเกิดระบบที่มีการประสานสัมพันธกันระหวางหนวยงานนโยบาย หนวยวิจัย
และหนวยสนับสนุนที่มุงไปสูเปาหมายที่ตั้งไวรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ที่สําคัญมากที่สุดก็คือ
ตองมียุทธศาสตรเชิงรุก หรือยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งจะตองมีการ
กําหนดประเด็นยุทธศาสตร กําหนดมาตรการ แลวแปลงเปนแผนงานที่มีความชัดเจน และ ความ
ละเอียด ในแตละแผนงานตามกลยุทธที่วางไว เพื่อใหสามารถนําไปสูการปฏิบัติ และดําเนินการให
เกิดผลตามเปาหมาย อันจะเปนพื้นฐานใหประเทศไทยมีความเขมแข็งมากขึ้น มีการพัฒนาไปสู
เศรษฐกิ จ ฐานความรู โ ดยมี ก ารสร า ง และพิ สู จ น ค วามรู ตลอดจนถ า ยทอดสู ก ารปฏิ บั ติ และ
ประยุกตใชทั้งในเชิงการพัฒนางานทั้งของหนวยงานภาครัฐ และในเชิงธุรกิจในภาคเอกชน รวมถึง
การพัฒนาทองถิ่นชุมชนในภาคประชาสังคม อีกทั้งมีความสามารถในการแขงขันในเวทีโลกที่มี
การเปลี่ยนแปลงพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ทั้งนี้โดยยังคงดําเนินการใหสอดคลองกับหลัก
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานไวเปนแนวปฏิบติ             ั
ในทุกระดับควบคูกันไปดวย
รวมพัฒนา “วิจัย”
                                          เพื่อไทยกาวนําในสากล
                                         บนเศรษฐกิจฐานความรู
                                          และสูสังคมอุดมปญญา
                                         ดวยปรัชญา “พอเพียง”

วัตถุประสงคของการวิจัย
              1. เพื่อศึกษารู ปแบบกลยุทธการพัฒนาดา นวิจัย โดยเฉพาะกลยุทธเ ชิงรุกและ
กระบวนการการดํ า เนิ น งานตามแผนกลยุ ท ธ เพื่ อ เสริ ม สร า งศั ก ยภาพ ในการใช ง านวิ จั ย เพื่ อ
แกปญหา หาหนทางพัฒนา และการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืนของประเทศตาง ๆ ที่มีความ
เจริญกาวหนาโดยอาศัยหลักเศรษฐกิจฐานความรู
              2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห กลยุทธการพัฒนาดานการวิจัย ของหนวยงานที่เกี่ยวของ
ของประเทศไทย
              3. เพื่อศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค จุดออน ภาวะคุกคาม จุดแข็ง และโอกาส ในดาน
การวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
              4. เพื่อสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย เพื่อใหประเทศไทยมี
ความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน ลดการพี่งพาความรูหรือเทคโนโลยีจากตางประเทศ และสามารถ
พัฒนาใหประเทศไทยเปนประเทศที่ใชเศรษฐกิจฐานความรูในการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ดาน

ขอบเขตของการวิจัย
            ขอบเขตของพื้นที่
            กําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา โดยทําการศึกษาหนวยงานทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับ
งานวิจัย หรือหนวยงานที่มีการดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัยแตจะเนนที่หนวยงานภาครัฐเปนสวน
ใหญ และเพิ่มเติมขอมูลทั้งจากภาครัฐวิสาหกิจ และ ภาคเอกชนดวยบางสวน เนื่องจากพบวา
หนวยงานดังกลาวมีการพัฒนา และจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยแตเปนจํานวนไมมาก เมื่อเทียบ
กับจํานวนในภาคสวนของรัฐ

             ขอบเขตของเนื้อหา แบงเปน 3 สวน
                  สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่ยึดหนวยงานเปนหลัก
                  สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่มุงประเด็นเปนหลัก
สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่มุงผลผลิตเปนหลัก

วิธีดําเนินการวิจัย
            การวิจัยนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสถานภาพปจจุบันของบทบาทของการ
วิจัยในการพัฒนาประเทศไทย และวิเคราะหถึงจุดออน จุดแข็ง โอกาส และภาวะคุกคาม เพื่อนํามา
สังเคราะหเปน “ยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อการพัฒนาดานการวิจัย” โดยมีวิธีดําเนินการดังตอไปนี้

              1. การรวบรวมขอมูล
                การศึกษาวิจัยนี้จะใชวิธีการรวบรวมขอมูล 5 วิธีไดแก
                   1.1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature review)
                   1.2. การศึกษาขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศไทย
                       1.2.1. ข อ มู ล ยุ ท ธศาสตร ก ารวิ จั ย และยุ ท ธศาสตร ที่ เ กี่ ย วกั บ การวิ จั ย ของ
หนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
                       1.2.2. ขอมูลงบประมาณที่จัดสรรเพื่อการวิจัย
                       1.2.3. ขอมูลรูปแบบการบริหารจัดการ กับการดําเนินงานดานการวิจัยตาม
แผนงานของหนวยงานระดับตาง ๆ
                       1.2.4. ขอมูลการเปรียบเทียบปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพ
และความสามารถในการแขงขันของไทย
                   1.3. การรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามความคิดเห็น (Questionnaire)
                   ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ ผูบริหารระดับสูงที่รับผิดชอบดานการวางนโยบาย
การวิจัยของหนวยงานจัดสรรทุน และหนวยงานดําเนินการวิจัย ผูบริหารระดับกลางที่รับผิดชอบใน
การดําเนินการตามแผนกลยุทธการวิจัยของหนวยงาน
                   1.4. การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth interview)
                   กลุมตัวอยางแบงเปน 2 กลุม ไดแก
                       1.4.1. กลุ ม ที่ ไ ด รั บ เชิ ญ มาให ข อ มู ล ข อ เท็ จ จริ ง และแสดงความคิ ด เห็ น
ตลอดจนให ข อ เสนอแนะ ในการศึ ก ษาแนวทางการพั ฒ นาด า นการวิ จั ย และการพั ฒ นาด า น
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย ทั้งนี้ใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550
ซึ่งผูวิจัยไดรวมสัมภาษณในประเด็นนี้ระหวางทําหนาที่เปนที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการการ
จัดการเทคโนโลยี ในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร
                       1.4.2. กลุมที่เจาะจง (Purposive Sampling) ไดแก ผูบริหารระดับสูงของ
หนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ
1.5. การจัดกลุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิที่มีสวนเกี่ยวของหรือเคยมีสวนเกี่ยวของกับ
การกําหนดยุทธศาสตรดานการวิจัย เพื่อรับทราบความคิดเห็นตอผลการวิจัยในลักษณะ Focus
Group

            2. วิธีการและขันตอนการวิจัย
                           ้
                 2.1. ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดกรอบแนวคิดและแผนงาน
             ทบทวนและทําความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดประเด็น “การวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ”
รวมทั้งบริบทการสรางความเขมแข็งของประเทศไทย เพื่อการแกปญหา และการหาหนทางพัฒนา
อยางตอเนื่องและยั่งยืน รวมถึง แนวคิดที่เกี่ยวของกับประเด็นสําคัญดังกลาว ไดแก แนวคิดการ
พัฒนาสูเศรษฐกิจฐานความรู และ แนวคิดการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนการ
ทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญากับแนวคิดที่ไดรับพระราชทานในเรื่อง “ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” ที่เปนประเด็นสําคัญในการลดการพึ่งพาจากตางประเทศ
                 2.2. ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบเครื่องมือวิจัย
                 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย
                     2.2.1. แบบสอบถามความคิดเห็น
                            การสรางแบบสอบถาม ดําเนินการดังนี้
                            2.2.1.1. ไดจากการศึกษา คนควา เอกสาร หนังสือ และขอมูลที่ปรากฎ
บนเวปไซต งานวิจัยที่เกี่ยวของประชุมหารือกับกลุมอาจารยและเจาหนาที่ที่มีประสบการณในการ
ดําเนินงานดานการ พัฒนาการวิจัย เพื่อกําหนดกรอบในการสรางแบบสอบถาม และรวมกัน
                            2.2.1.2. สรางแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดที่วางไวนําแบบสอบถาม
เสนอผูทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความถูกตองตามเนื้อหา และเพิ่มเติมประเด็นใหแบบสอบถาม
สมบูรณ (Validity)
                     2.2.2. แบบที่ใชในการสัมภาษณ
                            2.2.2.1. ผูวิจัยสรางแบบสัมภาษณจากพื้นฐานของการวิเคราะหขอมูลที่
ไดจากการศึกษา ทบทวนเอกสาร ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม และขอมูลของประเทศไทย
                            2.2.2.2. กําหนดคําถามที่ตองการทราบความคิดเห็น หรือตองการการ
ยืนยันความคิดเห็นที่ไดจากกลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม
                 2.3. ขั้นตอนที่ 3 การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล
               เปนการรวบรวมขอมูลจากทุกแหลงตามที่ออกแบบวิธีวิทยาการวิจัยทําการวิเคราะห
ตามหัวขอและประเด็นที่กําหนดไว
                 2.4. ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะหจากขอมูลและการวิเคราะห เพือจัดทําเปน
                                                                             ่
ยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อการพัฒนาดานการวิจัย
ขั้นตอนการวิจัย แสดงไดดังแผนภาพที่ 1

ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย
               1. ไดกรอบยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศที่ประสบความสําเร็จ
จากการใชการศึกษาวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจฐานความรู และสรางความ
มั่งคั่งใหแกประเทศ
               2. ไดขอมูลนโยบายและกลยุทธก ารพั ฒนาดานการวิจั ยของหนวยงานตาง ๆ ทั้ง
หนวยงานที่เปนผูใหทุน หนวยงานปฏิบัติการวิจัย และหนวยงานที่นํางานวิจัยไปใช
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกKlangpanya
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงSurachai Chobseang
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 

La actualidad más candente (9)

ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
i
ii
i
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 

Destacado

Mouse Tutorial
Mouse TutorialMouse Tutorial
Mouse Tutorialdoggiemama
 
Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)
Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)
Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)NSTDA THAILAND
 
αγιο οροσ Mount athos
αγιο οροσ  Mount athosαγιο οροσ  Mount athos
αγιο οροσ Mount athosKostas Tampakis
 
Portuguese exhibition
Portuguese exhibitionPortuguese exhibition
Portuguese exhibitionRafatalytal
 
РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»
РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»
РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»Тарасов Константин
 
SRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORS
SRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORSSRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORS
SRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORSNSTDA THAILAND
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dantemid
 
מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013
מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013
מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013yossi koren
 
U.S. Corporate & Org Social Media 2010
U.S. Corporate & Org Social Media 2010U.S. Corporate & Org Social Media 2010
U.S. Corporate & Org Social Media 2010John Cass
 
Wellness Pp Nov08.Doc
Wellness Pp Nov08.DocWellness Pp Nov08.Doc
Wellness Pp Nov08.Docdrewgrdina
 

Destacado (20)

Yandex Direct
Yandex DirectYandex Direct
Yandex Direct
 
Brazil sao paolo
Brazil   sao paoloBrazil   sao paolo
Brazil sao paolo
 
Mouse Tutorial
Mouse TutorialMouse Tutorial
Mouse Tutorial
 
Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)
Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)
Intel International Science & Engineering Fair (ISEF)
 
αγιο οροσ Mount athos
αγιο οροσ  Mount athosαγιο οροσ  Mount athos
αγιο οροσ Mount athos
 
Portuguese exhibition
Portuguese exhibitionPortuguese exhibition
Portuguese exhibition
 
Yandex On Content Autumn 2009
Yandex On Content Autumn 2009Yandex On Content Autumn 2009
Yandex On Content Autumn 2009
 
РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»
РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»
РИФ 2016. Телематика – будущее «Умного страхования»
 
SRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORS
SRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORSSRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORS
SRIVIROJ FARM IS NO. 1 FOR NORTHEASTERN OPERATORS
 
d-day
d-dayd-day
d-day
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation Full 1.3
Presentation Full 1.3Presentation Full 1.3
Presentation Full 1.3
 
Vedete1940 1970
Vedete1940 1970Vedete1940 1970
Vedete1940 1970
 
Philosophy foroldage
Philosophy foroldagePhilosophy foroldage
Philosophy foroldage
 
מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013
מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013
מאמר בירחון משאבי אנוש ספטמבר אוקטובר 2013
 
U.S. Corporate & Org Social Media 2010
U.S. Corporate & Org Social Media 2010U.S. Corporate & Org Social Media 2010
U.S. Corporate & Org Social Media 2010
 
2. кохановский.екатеринбург
2. кохановский.екатеринбург2. кохановский.екатеринбург
2. кохановский.екатеринбург
 
Giants
GiantsGiants
Giants
 
Wellness Pp Nov08.Doc
Wellness Pp Nov08.DocWellness Pp Nov08.Doc
Wellness Pp Nov08.Doc
 
Activism Reader
Activism ReaderActivism Reader
Activism Reader
 

Similar a 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้Alisa Samansri
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตfreelance
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5benty2443
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5wanneemayss
 

Similar a 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen (20)

03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

Más de NSTDA THAILAND

Más de NSTDA THAILAND (20)

20111006 news-ssh-oct-2011
20111006 news-ssh-oct-201120111006 news-ssh-oct-2011
20111006 news-ssh-oct-2011
 
20111005 cpm-e-news
20111005 cpm-e-news20111005 cpm-e-news
20111005 cpm-e-news
 
20111005 e-news-ssh-v2-no74
20111005 e-news-ssh-v2-no7420111005 e-news-ssh-v2-no74
20111005 e-news-ssh-v2-no74
 
20111005 e-news-ssh-v2-no73
20111005 e-news-ssh-v2-no7320111005 e-news-ssh-v2-no73
20111005 e-news-ssh-v2-no73
 
20111005 e-news-ssh-v2-no72
20111005 e-news-ssh-v2-no7220111005 e-news-ssh-v2-no72
20111005 e-news-ssh-v2-no72
 
20110420 nanotechnology-news
20110420 nanotechnology-news20110420 nanotechnology-news
20110420 nanotechnology-news
 
20110604 nstda.news
20110604 nstda.news20110604 nstda.news
20110604 nstda.news
 
20110209 circum-zenithal-arc
20110209 circum-zenithal-arc20110209 circum-zenithal-arc
20110209 circum-zenithal-arc
 
Nstda annual2007
Nstda annual2007Nstda annual2007
Nstda annual2007
 
20101224 wild-animal
20101224 wild-animal20101224 wild-animal
20101224 wild-animal
 
20101224 siamensis
20101224 siamensis20101224 siamensis
20101224 siamensis
 
Geminids news-53-pic
Geminids news-53-picGeminids news-53-pic
Geminids news-53-pic
 
20101116 e-news-ssh
20101116 e-news-ssh20101116 e-news-ssh
20101116 e-news-ssh
 
20101115 nano-news
20101115 nano-news20101115 nano-news
20101115 nano-news
 
20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter
 
20101118 most-news
20101118 most-news20101118 most-news
20101118 most-news
 
20101118 nano-news
20101118 nano-news20101118 nano-news
20101118 nano-news
 
20101119 fs-kratong53
20101119 fs-kratong5320101119 fs-kratong53
20101119 fs-kratong53
 
15112010 fireworks
15112010 fireworks15112010 fireworks
15112010 fireworks
 
20101104 ssh-news
20101104 ssh-news20101104 ssh-news
20101104 ssh-news
 

20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

  • 1. กิตติกรรมประกาศ ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและเปนเกียรติ และขอขอบพระคุณทานผูมีเกียรติจํานวนมากที่ได กรุณาใหการสนับสนุน และอนุเคราะหตอการดําเนินการโครงการวิจัย ดังตอไปนี้ ศ. นพ.จรัส สุวรรณเวลา นายกสภาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนเสมือนครูผูชี้นํา หรือ mentor ในดานการบริหารวิชาการและวิจัย และกระตุนใหผูวิจัยศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติม ตลอดเวลา ศ.นพ.วิจารณ พานิช ผูกระตุนแนวคิดของการจัดการความรู ศ.ดร.เทียนฉาย และ ศ. ดร.สุชาดา กีระนันทน กับ ศ.นพ.ภิรมย กมลรัตนกุล ที่ผูวิจัยไดมีโอกาสเรียนรูดานการจัดทํา ยุทธศาสตรในระหวางรวมงานในชวงเวลาที่ผานมา ทานอาจารย ผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารระดับสูง จํานวนมากที่ไดกรุณาสละเวลาให ผูวิจัยไดเขาพบ ทําการสัมภาษณความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อันมีประโยชนตอการวิเคราะห และสังเคราะหขอมูล อาทิ เชน ฯพณฯองคมนตรี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย รศ.ดร.วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คุณสมนึก พิมลเสถียร สํานักงบประมาณ รศ.ดร.สุชาตา ชินะ จิตร สํานักงานกองทุนวิจัย รวมถึงทานรองอธิการบดีของมหาวิทยาลัยหลายแหง เปนตน ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาสละเวลามารวมเสวนาประกอบดวย ศ.ดร.สันทัด โรจนสุนทร ราชบัณฑิต ประธานคณะที่ปรึกษา รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งได กรุณาทําหนาที่ประธาน และรวมใหความคิดเห็นในการประชุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.นสพ.ดร.พีระศักดิ์ จันทรประทีป ศ.ดร.ปยะวัติ บุญหลง รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา รศ.เยาวลักษณ สุขธนะ ผศ.ดร.แกวคํา ไกรสรพงษ ดร.นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ดร.กระหยิ่ม ศานตตระกูล ดร.พันธศํกดิ์ ศิริรัชตพงษ ดร.วีรสิทธิ์ สิทธิไตรย คุณวีระพจน แพสุวรรณ คุณปราโมทย วิทยาสุข คุณขจรศักดิ์ มหคุณวรรณ และ คุณจิโรจน ไพฑูรย ทานอาจารยและผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาชวยทบทวนและปรับแกแบบสอบถามกอนนํา ออกใช รวมถึงคณะอนุกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของคณะ นักศึกษา วปอ. 2551 ที่ไดใหขอมูลเพื่อใชประกอบเปนสวนหนึ่งของแบบสอบถาม ทานผูบริหารระดับกลางและระดับสูง ไดใหความสําคัญตอประเด็นที่ผูวิจัยทําการ ศึกษาคนควา ดวยการเสียสละเวลาตอบแบบสอบถามอยางละเอียด แมจะมีภาระงานมากดังเปนที่ ทราบอยู นอกจากนั้นหลายทานยังไดติดตอกลับเพื่อใหความเห็นเพิ่มเติมอีกดวย ดร.กระหยิ่ม ศานตตระกูล และดร.รุงเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ ประธานและเลขานุการ ตลอดจนคณะอนุกรรมาธิการดานการจัดการเทคโนโลยี คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการสื่อสาร สภานิติบัญญัติแหงชาติที่ก รุณ าอนุญาตใหนําขอมูลจากการปฎิบั ติงาน มาใช
  • 2. คํานํา ปจจุบันโลกมีวิวัฒนาการและมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมไปอยางมาก มีความ เจริ ญ ก า วหน า ขึ้ น มาเป น ลํ า ดั บ จากยุ ค หนึ่ ง สู ยุ ค หนึ่ ง และกํ า ลั ง เปลี่ ย นผ า นจากยุ ค เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารไปเปนยุคของเศรษฐกิจฐานความรู ประเทศที่พัฒนาแลวตางๆ จึงให ความสนใจและพัฒนาการวิจัยใหเปนพลังในการเสาะแสวงหาองคความรู แกไขปญหาและใชหา หนทางในการพัฒนา อันนําไปสูการสรางนวัตกรรมใหมเพื่อการใชในการสรางประเทศใหมั่นคง และมั่ ง คั่ ง ซึ่ ง สํ า หรั บ ประเทศไทยก็ ไ ด มี ก ารตั้ ง เป า หมายในการพั ฒ นาประเทศไปสู ป ระเทศ เศรษฐกิจฐานความรูใหเจริญกาวหนาทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกเชนเดียวกัน ดังนั้นการวิจัย จึงเปนประเด็นสําคัญที่ตองมีการพัฒนา จากประสบการณของผูวิจัยทั้งทางดานการปฏิบัติงานวิจัยเปนเวลากวา 30 ป ทางดาน บริหารดานวิชาการและวิจัย กวา 10 ป ตั้งแตระดับภาควิชา คณะ จนถึงระดับมหาวิทยาลัย และการ รวมงานภารกิจที่เกี่ยวของกับการวิจัยดานนโยบายและบริหารจัดการในระดับประเทศเพื่อการ พัฒนาการวิจัยของไทย ทําใหผูวิจัยไดเห็นทั้งศักยภาพของประเทศ ปญหา อุปสรรค และประเด็นที่ นาสนใจหลายประเด็น จึงเล็งเห็นวา การมียุทธศาสตรโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนา ดานการวิจัยอยางเปนระบบ จะเปนสิ่งสําคัญในการชวยสงเสริมการวิจัยของประเทศใหมีคุณภาพ สามารถนําไปใชในการแกไขปญหา และ/หรือ ใชเพื่อการพัฒนาประเทศในดานตางๆ ตั้งแต ดาน ประชาสังคม จนถึงดานเศรษฐกิจ ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจในการจัดทํายุทธศาสตรเชิงรุกใน การพัฒนาดานการวิจัย โดยการศึกษาหาขอมูลจากหลายๆแหลง และวิเคราะหตามขั้นตอนของการ จัดทํายุทธศาสตร แลวนํามาสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสราง ความเขมแข็งของประเทศ ผูวิจัยหวังวาผลการวิจัยในเรื่องยุทธศาสตรดังกลาวจะเปนสวนชวยใหผูที่สนใจหรือผู ที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศ สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชน และมี สวนชวยในการพัฒนาประเทศไปสูเปาหมายที่วางไวไมมากก็นอย (ศ.นพ. สุทธิพร จิตตมิตรภาพ) นักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51 ผูวิจัย
  • 3. สรุปยอ เรื่อง ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย ศาสตราจารย นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51 ความเปนมา การศึกษาคนควาวิจัยในแขนงตางๆ เพื่อนําความรูหรือองคความรูที่หลากหลายมาใชในการ พัฒนาประเทศ ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของนานาประเทศ เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนา กาวสูการเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู ซึ่งก็เปนไปตามวิวัฒนาการของโลก ประเทศไทยก็ เชนเดียวกัน มีการระบุใหการวิจัยเปนพลังในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรตางๆในการพัฒนาประเทศ ใหเปนไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 โดยไดมีการนอมนําเอากระแส พระราชดําริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงมาใชประกอบดวย เพื่อใหการพัฒนาประเทศเปนไปอยางยั่งยืน วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษากลยุทธการพัฒนาดานวิจัยของประเทศตางๆ และกลยุทธของหนวยงานที่เกี่ยวของ กับการวิจัยในประเทศไทย รวมถึงศึกษาการดําเนินการดานวิจัยของหนวยงานตาง ๆ วิเคราะห จุด แข็ ง จุด ออ นโอกาส ภาวะคุ ก คาม ปจ จัย สนั บ สนุน ป ญหาและอุป สรรค นํ า มาสั ง เคราะหเ ป น ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาการวิจัย เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกประเทศ ขอบเขตการวิจัย การวิ จั ย เน น การศึ ก ษาในหน ว ยงานทุ ก หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ งานวิ จั ย หรื อ มี ก าร ดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัย แตจะเนนที่หนวยงานภาครัฐเปนสวนใหญ โดยไดแบงขอบเขตใน การศึกษาการพัฒนาดานการวิจัยที่ยึดหนวยงานเปนหลัก มุงประเด็นการวิจัยเปนหลัก และมุง ผลผลิตเปนหลักดวย
  • 4. 2 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีดําเนินการดังตอไปนี้ 1. การรวบรวมขอมูล ใชวิธีการรวบรวมขอมูล 5 วิธี ไดแก 1.การศึกษาจากเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature review) 2.การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัย ของประเทศและข อ มู ล การเปรี ย บเที ย บป จ จั ย ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพและ ความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยในเวทีโลก 3.การใชแบบสอบถามความคิดเห็น 4.การ สัมภาษณเชิงลึก(In-depth interview) โดยใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550 ซึ่งผูวิจัยได รวมสัมภาษณในประเด็นนี้ และการสัมภาษณเฉพาะกลุมเจาะจง (Purposive sampling)ไดแก ผูบริหาร ระดับสูงของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ 5.การเสวนาของกลุมผูทรงคุณวุฒิ 2. การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลจากการรวบรวมทั้งเอกสารงานวิจัย ขอมูลจากแบบสอบถาม และการสัมภาษณเชิงลึก มาทําการวิเคราะหใหไดขอมูลและขอเท็จจริงในประเด็นตาง ๆ ที่จะนําไป สังเคราะหเปน ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย ผลการวิจัย จากข อมูลสถานภาพในอดีต และปจจุบันของประเทศไทย ที่ แสดงถึ งความเข มแข็ งและ ความสามารถในการแขงขัน ซึ่งศึกษาและรายงานโดย International Institute for Management Development – IMD ประเทศไทยไดรับการประเมินวามีความสามารถในการแขงขันในระดับปาน กลางตลอดชวงเวลา 5 ปที่ผานมา และมีการพัฒนาในแตละดานสูงขึ้นเปนลําดับอยางชา ๆ แตพบวา ยังออนดอยกวาบางประเทศที่มีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ปจจัยที่พบวายังออนดอยไดแก เศรษฐกิจ ภายในประเทศ ผลิตภาพและประสิทธิภาพการผลิต สุขภาพและสิ่งแวดลอม การลงทุนระหวาง ประเทศ ระบบการศึกษา (รวมถึงการวิจัย) โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี โครงสรางพื้นฐานดาน วิทยาศาสตร กรอบโครงสรางสังคม ซึ่งนับเปนปญหาและจุดออนดอยที่ตองปรับแกไข จากการศึกษาระบบการวิจัยของตางประเทศ กรณีตัวอยาง สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุน ออสเตรเลีย และ สิงคโปร ยืนยันไดวา การวิจัยเปนแรงขับเคลื่อนที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ การ มีการวิจัยที่มีเปาหมายแนวทางชัดเจนและตอบสนองตอความตองการ จะเปนประโยชนตอการพัฒนา ประเทศ การจัดทํายุทธศาสตร นโยบาย และแผนวิจัย เพื่อเปนแนวทางการวิจัยใหหนวยงานวิจัยหรือ สถาบันตางๆ มีทิศทางการวิจัยไปในทางเดียวกัน แตมีการกระจายอํานาจการตัดสินใจใหแกองคกร ระดับตาง ๆ ที่มีการกําหนดพันธกิจที่ชัดเจน โดยที่ตางมุงเปาหมายเปนหลัก โดยมีการประเมินเปน
  • 5. 3 ระยะ ๆ ประกอบกับมีการลงทุนคอนขางสูงในดานโครงสรางพื้นฐาน และทุนสนับสนุนการวิจัย เปน ปจจัยแหงความสําเร็จในการพัฒนา การวิเคราะหยุทธศาสตรดานการพัฒนาการวิจัยและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของของประเทศ พบวา ยุทธศาสตรหรือนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติในปจจุบันยังขาดการมีสวนรวม ทําใหไมไดรบ ั การยอมรับ ไมตอบสนองตอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ขณะเดียวกันก็มียุทธศาสตรของ หลายองคกรมีสวนคาบเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา ซึ่งแตละองคกรจัดทําขึ้นเพื่อตอบสนองตอพันธ กิจของตนเองเทานั้นไมมีลักษณะการบูรณาการ โดยเฉพาะในสวนขององคกรที่ทําหนาที่จัดสรรทุนที่ กอใหเกิดความซ้ําซอน หรือกลายเปนสวนเสี้ยวไมตอเนื่อง ไมเชื่อมโยง ขาดน้ําหนัก และไมสามารถ ดําเนินไปจนครบวงจรที่จะนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรม หรือเพิ่มคุณภาพชีวิต ประเทศไทยยังมี ปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาดานการวิจัยคอนขางมาก โดยมีประเด็นที่นาสนใจหลายประการดังนี้ 1. ป ญ หาด า นระบบ แนวคิ ด และกระบวนทั ศ น ใ นการพั ฒ นา ตั้ ง แต ร ะดั บ นโยบาย บริหารจัดการ ไปจนถึงระดับปฏิบัตการ ยุทธศาสตรหรือนโยบายและแผนวิจัยแหงชาติในปจจุบันยัง ิ ขาดความชัดเจน ขาดทิศทาง ขาดการมีสวนรวมในการจัดทํา ทําใหขาดการยอมรับ การจัดสรรทุน เพื่อการวิจัยก็ไมสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระบบวิจัยของประเทศไมมีความชัดเจนในดานโครงสราง องคกร การประสานเครือขาย ความร ว มมื อ หลายหน ว ยงานที่ มี พั น ธกิ จ คาบเกี่ ย วหลายพั น ธกิ จ การขาดความตระหนั ก ใน ความสําคัญของการวิจัย ในทุกระดับ และไมไดใชการศึกษาวิจัยอยางเปนระบบระเบียบในการ แกปญหา กลาวไดวางานวิจัยของประเทศ ไมครบวงจร ไมสมดุล ไมตอเนื่องเชื่อมโยงระหวางผูวิจัย และผูที่ควรนําผลไปใชงาน 2. การขาดแคลนทรัพยากรเพื่อการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เนื่องจากงบเพื่อการวิจัย พึ่งพางบประมาณภาครัฐเปนสวนใหญ แตจัดไวเพียงรอยละ 0.2 ของผลผลิตมวลรวมของประชาชาติ นอกจากนี้ยังขาดแคลนเครื่องมืออุปกรณในการวิจัย การใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดอยางไมคุมคา 3. โครงสรางพื้นฐานทั่วไป โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยังไมดีพอ 4. มีปญหาดานการบริหารจัดการ ขาดประสิทธิภาพ ทั้งดานการบริหารคน บริหารเงิน และบริหารงาน ที่สําคัญที่สุดคือขาดการประเมินผลเพื่อนํามาใชปอนกลับในการพัฒนางานตอไป 5. ปญหาดานกําลังคน บุคลากรสายวิจัย สายวิทยาศาสตรเทคโนโลยีมีจํานวนไมพอเพียง 6. คุณภาพของงานไมดีเพียงพอ ทั้งที่มีผลในเชิงวิชาการ หรือการเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ 7. การขาดการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ ทุกระดับ ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา 8. ขาดการบูรณาการในดานการวิจัยในทุกระดับ และทุกมิติ
  • 6. 4 ในการสังเคราะหยุทธศาสตรในการพัฒนาดานการวิจัยเนนที่ยุทธศาสตรเชิงรุก พิจารณาจาก สวนที่ประเมินวา มีจุดแข็งและมีโอกาสที่ดี กับในสวนที่ประเมินวามีโอกาสสูงแตยังมีจุดออนที่ตอง เรงแกไข ซึ่งไดกําหนดเปนยุทธศาสตรใหครอบคลุมทั้ง 3 องคประกอบหลัก ไดแก 1. การสรางความรูใหม องคความรูใหม (Knowledge Creation) สรางความรู รวมไปถึงการ สรางคนที่มีจิตวิจัย และมีความรูทักษะการวิจัย ครอบคลุมทุกสาขา 2. การจัดการความรูที่ไดรับ (Knowledge Management) เพื่อใหสามารถนําเอาความรูนั้นไป ประยุกตใชประโยชนเชิงวิชาการ ชุมชน สังคม เศรษฐกิจและเพื่อพัฒนากระบวนการในทุกภาคสวน 3. การใชความรูเปนฐานสรางพลังในตนเอง (Empowerment) โดยมุงเปาผลผลิต เพื่อลดการ พึ่งพา และการมีภูมิคุมกันเสริมความแข็งแรงในตนเอง และการสรางความสามารถในการแขงขัน โดยแตละองคประกอบมี 3 ระดับ 3 มิติ 3 ขอบเขต เพื่อใหเกิดภาพองครวมของการพัฒนา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ คือ ระดับการพัฒนาดานการวิจัย แบงไดเปน 3 ระดับ คือ 1.ระดับนโยบาย อํานวยการ กํากับ 2. ระดับบริหารจัดการ ประสาน สนับสนุนและตรวจสอบ ประเมิน และ 3. ระดับปฏิบัติการ มิติของการพัฒนาดานการวิจัย ไดแก 1. การสนับสนุนสงเสริมการจัดสรรทรัพยากร 2.การ ดําเนินการศึกษาคนควาวิจัย และ 3. การเผยแพรความรู ของงานวิจัยในทุกๆดานเพื่อการใชประโยชน ขอบเขตของการพัฒนาดานการวิจัย ประกอบดวย 1. ขอบเขตที่ยึดหนวยงานรับผิดชอบ เปนหลัก 2. ขอบเขตที่ยึดประเด็นการวิจัยเปนหลัก และ 3. ขอบเขตที่ยึดเปาหมายผลการวิจัยเปนหลัก การนําไปใชประโยชน จากการสังเคราะหขอมูล สามารถสรุปรวมเปนยุทธศาสตรเชิงรุก 8 ยุทธศาสตร ที่จะนําไปสู การดําเนินการใหเกิดประโยชนแกประเทศ ไดแก ยุทธศาสตร 1 การปรับกระบวนทัศนเกี่ยวกับการวิจัยใหเห็นวาการวิจัยเปนปจจัยสําคัญตอ การดําเนินงานเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง การวิจัยเปนการลงทุนของประเทศ การวิจยสามารถ ั ตอบสนองการพัฒนาประเทศไดทุกดานทั้งระดับ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่งคงของมนุษย ยุทธศาสตร 2 การปรับปรุงระบบวิจัย ปรับองคกร กําหนดบทบาทหนาที่ใหมีการบูรณา การ ทั้งในระดับโครงการวิจัย บุคลากร หนวยงานรวมวิจัย หนวยงานบริหารจัดการ และหนวยงาน นโยบาย เพื่อนําไปสูการจัดทํายุทธศาสตรนโยบายและแผนงานวิจัยของชาติแบบบูรณาการ ซึ่งมีการ กํากับ ติดตามการดําเนินงาน มีการประเมินผลเพื่อใชในการปรับปรุงแผนใหเหมาะสมอยางตอเนื่อง
  • 7. 5 ยุทธศาสตร 3 การกําหนดงบประมาณเพื่อการวิจัยอยางพอเพียง ทั่วถึง และเกิดผลสัมฤทธิ์ ที่ดี ปรับปรุงระบบการจัดสรรใหสอดคลองกับระบบวิจัยและแผนงาน ครอบคลุมทุกภาคสวน มี หลากหลายมิติ มีการกําหนดหนวยงานที่รับผิดชอบงบประมาณนั้นๆ รวมทั้งสามารถแยกประเภท งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการที่ดีการพัฒนาคนให ยุทธศาสตร 4 การพัฒนาคนใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภารกิจ สามารถขับเคลื่อน ยุ ท ธศาสตร และมี ศั ก ยภาพในการปฏิ บั ติ ง านตามภารกิ จ สายอาชี พ นั ก วิ จั ย นั ก วิ ท ยาศาสตร ที่ มี คุณลักษณะและวิธีการทํางานที่อาศัยความรูและการคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล รวมถึงการพัฒนา อาชีพนักวิจัย นักวิทยาศาสตรที่ยังขาดแคลน เพื่อใหเปนฐานกําลังสนับสนุนและสงเสริมการสราง เครือขายวิจัยเพื่อเสริมพลังซึ่งกันและกันและใชทรัพยากรอยางคุมคา ยุทธศาสตร 5 การสรางมูลคาแกผลผลิตการวิจัย การกระจายความรูผลผลิตงานวิจัย พัฒนา ตําแหนงและบริหารหวงโซอุปทาน (Value Chain) ของผลผลิตเพื่อใหผลงานใหเปนที่รับรูโดย กวางขวาง ใหผูที่จะใชประโยชนสืบคนเขาถึงขอมูลได ทั้งการนําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไป สรางนวัตกรรม พัฒนาผลิตภัณฑสินคาและบริการ ที่ใหประโยชนเชิงพาณิชยมีเอกลักษณ จําหนาย แขงขันได รวมถึงมีการบริหารจัดการการใชประโยชนในรูปแบบของทรัพยสินทางปญญาที่มีการจด ทะเบียน คุมครอง แบงสรรผลประโยชนอยางยุติธรรม รวมถึงการปกปองสิทธิของผูประดิษฐคิดคน ยุทธศาสตร 6 การเนนสรางการทํางานแบบบูรณาการดานการวิจัยในทุกองคประกอบ ทุก มิติ ทุกระดับ และครอบคลุมขอบเขตตางๆที่จําเปนใหเกิดบูรณาการตั้งแตสวนใหญไปจนถึงสวนยอย ยุทธศาสตร 7 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัยในภาพรวม โครงสราง พื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เทคโนโลยีการเชื่อมตอระบบ การ คมนาคม และระบบโลจิสติกส เพื่อเปนปจจัยสําคัญสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาและการบูรณาการ งานวิจัย อยางเหมาะสม พอเพียงสําหรับการพัฒนาในอนาคต และเปนไปตามระบบมาตรฐาน ยุทธศาสตร 8 การพัฒนาการวิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจาก ตางประเทศ ผานความรวมมือที่มีอยู หรือรับถายทอดโดยอาศัยทรัพยากรบุคคลชาวไทยที่มีศักยภาพ ในตางประเทศ ในการพัฒนาเฉพาะดานที่ถูกกําหนดโดยยุทธศาสตรใหมีลําดับความสําคัญในลําดับ ตน ๆ หรือที่ประเทศมีความเขมแข็งเปนทุน หรือเปนฐานการผลิตขนาดใหญของโลกในปจจุบัน “ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ” เปน ยุทธศาสตรที่สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนาใหประเทศไทยไดเจริญกาวหนาไปสู ประเทศที่พัฒนาบนเศรษฐกิจฐานความรู เปนหนึ่งในผูนําในระดับนานาชาติ และเปนประเทศที่ภาค ประชาสังคมมีการพัฒนาโดยอาศัยปญญาและบนพื้นฐานของปรัชญาพอเพียง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวไดทรงพระราชทานแนวทางการพัฒนาประเทศไว
  • 8. บทคัดยอ เรื่อง ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย ศาสตราจารย นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51 การคนควาวิจัยเพื่อหาความรู และสรางนวัตกรรม ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญ เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนาเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู และกาวสูความมั่งคั่งและ มั่นคง ประเทศไทยก็ไดวางแนวทางที่จะนําการวิจัยมาใชเปนพลังในการขับเคลื่อนไปสูเปาหมาย เชนเดียวกัน อยางไรก็ตามการกําหนดยุทธศาสตรที่เหมาะสมโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกเปน ปจจัยสําคัญที่จะชวยใหมีการดําเนินงานจนประสบความสําเร็จ ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาขอมูลการพัฒนาดานงานวิจัยของประเทศตาง ๆ ที่มีความ เจริญกาวหนา เปรียบเทียบกับขอมูลของหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของกับการวิจัยของไทย นํามา วิ เ คราะห เ พื่ อ แสดงให เ ห็ น ป จ จั ย สนั บ สนุ น จุ ด แข็ ง โอกาส จุ ด อ อ น ภาวะคุ ก คาม แล ว นํ า มา สังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยทําการรวบรวมขอมูล 5 วิธี ไดแก 1.การศึกษา จากเอกสาร 2.การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศ และขอมูลการ เปรียบเทียบปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแขงขันของ ประเทศไทยในเวทีโลก 3.การใชแบบสอบถามความคิดเห็น 4.การสัมภาษณเชิงลึก 5.การเสวนา ของกลุมผูทรงคุณวุฒิ จากการรวบรวมขอมูลสามารถสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุก 8 ยุทธศาสตรไดแก 1.การปรับกระบวนทัศนเกี่ยวกับการวิจัย 2.การปรับปรุงระบบวิจัยของประเทศ ปรับองคกรและการ กําหนดบทบาทหนาที่ที่มีการบูรณาการ และมีการประเมินผลอยางเหมาะสมและตอเนื่อง 3.การ กํา หนดงบประมาณที่ พ อเพี ย งและปรั บ ปรุ ง ระบบการจั ด สรรให ส อดคล อ งกั บ ระบบวิ จั ย และ แผนงาน 4.การพัฒนาคนใหสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร และมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตาม ภารกิ จ สายอาชี พ นั ก วิ จั ย นั ก วิ ท ยาศาสตร 5.การเน น สร า งการทํ า งานแบบบู ร ณาการในทุ ก องคประกอบ ทุกระดับ ทุกมิติ 6.การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัย 7.การพัฒนาการ วิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ หรือรับถายทอดโดยอาศัย ทรั พยากรบุ คคลชาวไทยที่มี ศักยภาพในตางประเทศ 8.การสรางมูลคาแก ผลผลิตการวิจั ย การ กระจายความรูผลผลิตงานวิจัย ทั้งการนําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไปสรางนวัตกรรม พัฒนา ผลิตภัณฑสินคาและบริการซึ่งทั้งหมดนี้ตองดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง
  • 9. Abstract Title Proactive strategies for the development of research to strengthen Thailand’s potential power and competitiveness Field Science and Technology Name Professor Dr. Soottiporn Chittmittrapap Course NDC Class 51 Research to develop knowledge and innovation is a key strategy to drive many countries towards a knowledge-based economy and wealth of the nation. Thailand also determines to use research as an important driving tool for the rapid development of the country to achieve a similar target together with the self-sufficient approach, thus requires a set of proactive strategies. This is a descriptive study using 5 methods of data collection; 1.Literature review 2.Review of strategies and plans on research development especially in relation to capacity building and competitiveness of Thailand in the global arena 3.Questionnaires 4.In-depth interviews 5.Focus Group discussion. This study has analyzed the development on research of the developed countries and compared it with the current situation and trends on Thailand’s development on research by using information and data of the concerned agencies and others sources of the above-mentioned data. The result was categorized and grouped as enabling factors, strengths, opportunities, weaknesses, threats and problems. Based on these factors, a set of proactive strategies on research reform and development has been synthesized in order to enhance Thailand’s capacities and competitiveness. Eight proactive strategies have been formulated as follows: 1.Paradigm change on the concept of research 2.Structural reform of the national research system 3.Reform of national research budget system, appropriated amount of budget and its allocation 4.Human resource development in research, science and technology 5.Value-adding to the research products and to the value-chain of goods and products of Thailand 6.Enhancement of harmonization and collaboration in comprehensive plan and management 7.Improvement of research, science and technology infrastructures 8.International technology transfer for a great-leap forward in research development. Implementation of these proactive strategies must be fully supported and continuously deployed hence resulting in a reform of research system in Thailand and therefore enhancing Thailand’s capacities and competitiveness.
  • 10. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การศึกษาคนควาวิจัยในแขนงตาง ๆ เพื่อนําความรู หรือองคความรูที่หลากหลายมาใช ในการพัฒนาประเทศ ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของนานาประเทศ เพื่อผลักดันใหประเทศ เจริญพัฒนา โดยอาศัยฐานความรู เปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ นับเปนการเปลี่ยนแปลงและเปนแรง ขับ เคลื่อ นในทิ ศ ทางใหมที่ สํา คั ญ ของสถานการณ ระดับ โลก ในสว นของประเทศไทยก็ มีก าร ปรับเปลี่ยนแนวทางและรูปแบบการพัฒนา ซึ่งไดเล็งเห็นความสําคัญในดานการวิจัยเชนกัน โดยมี แนวคิดใหพัฒนาการวิจัยที่ตองเห็นผลเปนรูปธรรม ประเมินได และแปรใหเกิดประโยชนไดทั้งใน เชิงผลลัพธ และ/หรือ ผลกระทบตอความกาวหนาของประเทศอยางชัดเจน ตองมีการบริหารจัดการ การวิจัยแบบใหมที่มีประสิทธิภาพ และยังเนนการวิจัยในประเด็นเรงดวนที่เปนภัยคุกคาม เชน ภั ย ด า นความมั่ น คง ภั ย จากความยากจน ภั ย จากการขาดความสามารถในการแข ง ขั น ในด า น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ ธุรกิจบริการ แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาดานวิจัยอันดับแรก ก็คือ ความเขาใจในบทบาทของ การวิจัยสําหรับภารกิจตาง ๆ ซึ่งพบวาการวิจัยมีบทบาทหลักอยูหลายประการ ประการแรก การวิจัยเปนการสรางความรู ซึ่งจะนําสูการตัดสินใจในการแกปญหา และ การพัฒนา เพราะความรูเปนสิ่งสําคัญสําหรับการปฏิบัติงานใด ๆ ก็ตาม ทั้งนี้ความรูที่มีอยูแลวอาจ ไมเพียงพอจึงตองมีการหาและสรางความรูใหม ๆ ความรูหลาย ๆ อยางเปนความรูที่มีความจําเพาะ ในถิ่นหนึ่ง ๆ ในกลุมคนที่มีชาติพันธุหนึ่ง ๆ ที่ไมอาจนําความรูสากลมาใชได หรือนํามาใชไดเพียง บางสวน ประการที่ 2 การวิจัยเปนเครื่องมือในการสรางคนในระบบการศึกษา ชวยใหไดคนที่มี ความสามารถในการหาความรู การรูจักคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ รูจักเก็บและใชขอมูลที่แมนตรง เชื่อถือได และรูจักใชสถิติและเหตุผลที่เหมาะสมในการตัดสินใจ มีวิจารณญาณ คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน ดียิ่งไปกวานั้นคือรูจักสังเคราะหความรู แนวปฏิบัติ จากความรูที่ไดรับ มีความคิด ริเริ่มสรางสรรค และมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง แมจะผานชวงระยะเวลาในการศึกษาไปแลวก็ ตามยังสามารถเรียนรูอยูไดตลอดเวลา ประการที่ 3 การวิจัยเปนเครื่องมือในการนําความรูมาใช เพราะความรูเปนพลวัตรที่มี การเปลี่ยนแปลง และมีการเกิดขึ้นใหมตลอดเวลา ในการนํามาใชถารูจักใชหลักของการวิจัยก็จะทํา
  • 11. ใหสามารถสืบคน ประเมินคุณคา และเลือกใชขอมูลความรูที่เปนจริง หรือเชื่อถือได นอกจากนั้นยัง อาจใช ก ระบวนการวิ จั ย มาใช ใ นการปรั บ แต ง จั ด หมวดหมู จั ด การให เ กิ ด การเผยแพร ใ ห ไ ด ประโยชน หรือจัดเปนมาตรฐาน เปนแนวทงปฏิบัติ ประการที่ 4 การวิจัยเปนเครื่องมือในการสรางพลังของตนเอง สรางคุณคามากขึ้น ใน แงของการพึ่งตนเองไมตองอาศัยความรูผูอื่นหรืออาศัยแตเ พียงส วนนอย ยกตัว อยาง ประเทศ สหรัฐอเมริกา สวีเดน ฟนแลนด เนนในเรื่องการวิจัยและพัฒนา สามารถเปนผูนําในการคิดคนสิ่ง ใหมๆ ทั้งความรูและประยุกตนําไปสรางผลิตภัณฑใหม ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เชน ญี่ปุน เกาหลี และไตหวัน ก็พัฒนาไดมากเพราะมีการสรางนักวิจัยมาก ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา ดังนั้นงานวิจัยจึงทําใหประเทศไทยพึ่งตนเองไดมากขึ้น เมื่อถึงระดับหนึ่งก็จะเปนเครื่องมือในการ สรางศักยภาพและความสามารถในการแขงขัน ในภาวะที่มีกระแสโลกาภิวัตน และการดําเนินงาน ในระดับโลกไรพรมแดน และตลาดเสรีในทุก ๆ ดาน แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาดานวิจัยอันดับที่สอง ก็คือ งานวิจัยที่ควรมีลักษณะ บูรณาการ ซึ่งหมายรวมถึง 1. งานวิจัยที่มีการผสมผสานวิชาการหลาย ๆ ดาน และใชความเชี่ยวชาญของนักวิจัย ตางศาสตร 2. งานวิจัยที่มีศักยภาพนําไปสูการใชประโยชนที่เปนรูปธรรม ทั้งประโยชนในดาน วิชาการและประโยชนในเชิงประยุกตใชงาน หรือประโยชนในเชิงพาณิชย 3. งานวิจัยที่ผสมผสานไปกับการสรางทีมวิจัย ทั้งการพัฒนาศักยภาพของอาจารยรุน ใหม การผลิตบัณฑิตศึกษา ดังไดกลาวเนนแลวเกี่ยวกับแนวคิดอันดับแรก ประการที่สอง และได ขยายไปถึงการพัฒนาความสามารถในการวิจัยสําหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตดวย การสรางทีมวิจัย แบบผสมผสานยังนาจะไดรวมถึงบุคลากรในพื้นที่ ในชุมชน ที่มารวมทําการวิจัยเพื่อพัฒนาทองถิ่น หรือบุคลากรของภาคอุตสาหกรรมที่มารวมกันทําวิจัย เพื่อความเจริญกาวหนาในกระบวนการผลิต หรือพัฒนาผลิตภัณฑของภาคอุตสาหกรรม แนวความคิดของการพัฒนาดานวิจัยอันดับที่สาม นับวามีความสําคัญเชนกัน ไดแก ความเชื่อมโยงระหวางสถาบันอุดมศึกษา หรือหนวยวิจัย กับหนวยงานปฏิบัติที่ตางเขาใจบทบาท ของตนเองและผูอื่น เพื่อสงตอหรือถายทอดผลจากการวิจัยนําไปสูภาคปฏิบัติ สถาบันอุดมศึกษาเปนแหลงความรู แหลงที่มีทรัพยากรบุคคลที่มีความรูความสามารถ และได ดํ า เนิ น ภารกิ จ ในการสร า งป ญ ญาความรู ม าอย า งต อ เนื่ อ ง จึ ง เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ใน กระบวนการพัฒนาประเทศโดยใชฐานความรู ในสวนของสถาบันอุดมศึกษาที่มีความพรอมใน งานวิจัยระดับหนึ่ง ก็ไดพยายามใชศักยภาพในการพัฒนางานวิจัยขึ้นอยางตอเนื่อง มีการสนับสนุน สงเสริมการวิจัย สนับสนุนบุคลากรในสวนอาจารยและนักวิจัย เกิดผลงานดานการวิจัยที่โดดเดน
  • 12. ในหลายสาขา นักวิจัยจํานวนหนึ่งไดรับการยอมรับในความสามารถและเปนแกนนําในดานหนึ่ง ๆ ในระยะตอมามีการจัดตั้งหนวยงาน/องคกรวิจัย ทั้งแบบเปนทางการในรูปแบบสถาบันวิจัย มีระบบ บริหารจัดการอยางเปนระบบระเบียบ มีอุปกรณการวิจัย และ นักวิจัย ของแตละสถาบัน เพื่อหวัง สรางงานวิจัยแบบกลุมกอน นอกเหนือไปจากการวิจัยของภาควิชา ของคณะ/วิทยาลัย/สํานักวิชา นอกจากนั้นก็มีแนวคิดในการสงเสริมสนับสนุนการวิจัยในลักษณะกลุมที่มีความยืดหยุนมากขึ้น ไดแก หนวยวิจัย ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อยางไรก็ตามวิเคราะหไดวาองคกรวิจัยทั้งระดับคณะ/ สถาบันวิจัย หนวยวิจัย ศูนยตาง ๆ ก็ยังมีปญหาความชัดเจนในเชิงนโยบาย ทิศทาง และพื้นฐานที่ สําคัญในดานตางๆ ที่จะผนึกกําลังรวมกันใหเปนภาพรวมของการวิจัยทั่วทั้งมหาวิทยาลัย สภาพการณปจจุบันของสถาบันอุดมศึกษา จึงมีลักษณะที่มีงานวิจัยในปริมาณรวมที่ เปนที่ยอมรับไดในระดับหนึ่ง มีความหลากหลายสูงมาก มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดีเดนจํานวนไมนอย กระจัดกระจายไปในแตละกลุม แตละสาขา มีงานวิจัยในประเด็นที่ใกลเคียงกันหรือเกี่ยวของกันใน แตละสาขาความเชี่ยวชาญที่ไมเชื่อมโยง หรือเสริมกันและกันอยางเปนรูปธรรม มีอาจารย/นักวิจัย ที่ใหความสําคัญตอการวิจัยและมีการวิจัยอยางตอเนื่องจํานวนหนึ่ง แมวาในสวนของอาจารย/ นักวิจัยรุนใหมที่สนใจและใหน้ําหนักสูงตอการวิจัย สัดสวนนี้จะมากเปนที่นาพอใจ แตในภาพรวม ประเมินวายังเปนสัดสวนที่นอยกวาความตองการ ในบางสถานที่มีเครื่องมืออุปกรณสนับสนุนการ วิจัยที่พอเพียง แตอาจารย/นักวิจัย ที่อาจสามารถใชประโยชนจากเครื่องมือ อุปกรณ ยังไมทราบ หรือไมมีก ลไกในการเข าร ว มกลุม เพื่อ ใหสามารถใชเครื่ องมื อพัฒนาศัก ยภาพของตนเองและ งานวิจัยไดเต็มที่ ลักษณะของการพัฒนาดานการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาที่กลาวมานี้สวนใหญยังอยู ภายในสถาบัน และอาจารย นักวิชาการเปนศูนยกลาง และอาศัยพื้นความรูหรือประสบการณความ ถนัดเดิมของนักวิชาการเหลานี้ในอดีตเปนหลัก ประโยชนจึงมักเกิดกับความกาวหนาทางวิชาการ ของสาขาวิชานั้นๆและความกาวหนาของบุคคลหรือหนวยงานวิชาการ ในขณะเดียวกัน หนวยปฏิบัติเชนหนวยงานของกระทรวง กรม กองตาง ๆ มีหนาที่ใน การพัฒนาประเทศ ซึ่งสวนใหญบุคลากรของหนวยงานก็ไดอาศัยความรูที่ศึกษามาจากสถานศึกษา ไปดําเนินการโดยมีการปรับใหเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพทางสังคม และสภาพของ ทรัพยากรสนับสนุน อยางไรก็ตามในความเปนจริง มีปญหาจํานวนไมนอยที่ไมสามารถแกไขดวย การใชพื้นความรูเดิม หรือไดดําเนินการอยางประสบความสําเร็จมาขั้นหนึ่งแลวยังคงตองการการ พัฒนาตอ ก็พบวาตองการความรูมากขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง หากไมมีการศึกษา คนควา วิจัย ก็อาจทํา ใหไมสามารถแกไขปญหาที่ซับซอนได หรือไมสามารถพัฒนาตอได เมื่อเห็นวาการวิจัยสามารถ แกปญหาหรือพัฒนาได ก็อาจขวนขวายดําเนินการ แตทั้งนี้ก็มักประสบอุปสรรคมากมายในหลาย ดานทั้งบุคลากรสนับสนุน เครื่องมืออุปกรณการวิจัย การติดตามความรูใหมที่ทันสมัยมาใช อีกทั้ง ภารกิจหลักในดานการปฏิบัติ บริการ ก็มากเต็มกําลัง
  • 13. การเชื่อมโยงระหวางสถาบันการศึกษา หรือหนวยวิจัย กับหนวยปฏิบัติ ที่ตางเขาใจ บทบาทและหนาที่ของตนเองและของผูอื่น จึงทําใหเกิดการใชประโยชนความถนัดและความ เชี่ยวชาญของทั้งสองฝายเขามาผสมผสาน ทําใหสามารถแกไขปญหาที่ซับซอน หรือสามารถหา หนทางพัฒนาไดอยางตอเนื่องไมมีวนสิ้นสุด ั อันดับสุดทายของแนวความคิดก็คือ ภาพของ “การพัฒนาดานวิจัย” นั้นตองใหเปนที่ รับรูเปนที่ยอมรับในทุกวงการ ทั้งวงการการศึกษา วงการธุรกิจ วงการอุตสาหกรรม ประชาสังคม ที่ ไดเห็นและยอมรับวา การศึกษาคนควาวิจัย เพื่อสรางองคความรูไมใชแตเพียงสามารถนําไปสู ความกาวหนาดานวิชาการ แตยังสามารถนําไปสูการพัฒนาระบบอุตสาหกรรม วงการธุรกิจ สราง ศักยภาพในการแขงขันของประเทศ กับสามารถนําไปสูการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งทั้งหมดใน ภาพรวมทําใหประเทศนั้นเขมแข็งในทุกภาคสวน แนวความคิดเกี่ยวกับการวิจัยที่กลาวมานี้จึงเปนประเด็นหลักในการดําเนินการหลาย ประการสําหรับการกําหนดยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อพัฒนางานดานวิจัย เพื่อการสรางความเขมแข็ง ใหแกประเทศไทย นอกจากการตีพิมพเพื่อแสดงความสําเร็จหรือความกาวหนาดานวิชาการ สวนที่ มีศักยภาพในการพัฒนาตอเนื่องไปถึงการประยุกตใชในดานตาง ๆ ก็มีการเชื่อมโยงไปยังภาคสวน นั้น ในขณะเดียวกันงานวิจัยนั้นตองดําเนินการตามมาตรฐานสากลของการวิจัย เชื่อถือไดในความ ถูกตอง แมนตรง เพื่อใหการพัฒนานั้นเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด การที่ประเทศไทยจะยกระดับการดําเนินงานดานการวิจัยของประเทศใหเปนที่ยอมรับ ในระดับสากล จึงนาจะสามารถพัฒนาไดจากศักยภาพที่มีอยู แตตองการการพัฒนาระบบวิจัยและ การบริหารจัดการงานวิจัย ในหลาย ๆ ดาน โดยความมุงมั่นในเปาหมายรวมกันในทุกระดับ และ พัฒนาอยางตอเนื่อง เชื่อมโยงสัมพันธกัน พรอม ๆ ไปกับการพัฒนาระบบคุณภาพ และระบบการ จัดการความรูเพื่อใหเกิดระบบที่มีการประสานสัมพันธกันระหวางหนวยงานนโยบาย หนวยวิจัย และหนวยสนับสนุนที่มุงไปสูเปาหมายที่ตั้งไวรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ที่สําคัญมากที่สุดก็คือ ตองมียุทธศาสตรเชิงรุก หรือยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา นอกเหนือจากงานประจํา ซึ่งจะตองมีการ กําหนดประเด็นยุทธศาสตร กําหนดมาตรการ แลวแปลงเปนแผนงานที่มีความชัดเจน และ ความ ละเอียด ในแตละแผนงานตามกลยุทธที่วางไว เพื่อใหสามารถนําไปสูการปฏิบัติ และดําเนินการให เกิดผลตามเปาหมาย อันจะเปนพื้นฐานใหประเทศไทยมีความเขมแข็งมากขึ้น มีการพัฒนาไปสู เศรษฐกิ จ ฐานความรู โ ดยมี ก ารสร า ง และพิ สู จ น ค วามรู ตลอดจนถ า ยทอดสู ก ารปฏิ บั ติ และ ประยุกตใชทั้งในเชิงการพัฒนางานทั้งของหนวยงานภาครัฐ และในเชิงธุรกิจในภาคเอกชน รวมถึง การพัฒนาทองถิ่นชุมชนในภาคประชาสังคม อีกทั้งมีความสามารถในการแขงขันในเวทีโลกที่มี การเปลี่ยนแปลงพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ทั้งนี้โดยยังคงดําเนินการใหสอดคลองกับหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานไวเปนแนวปฏิบติ ั ในทุกระดับควบคูกันไปดวย
  • 14. รวมพัฒนา “วิจัย” เพื่อไทยกาวนําในสากล บนเศรษฐกิจฐานความรู และสูสังคมอุดมปญญา ดวยปรัชญา “พอเพียง” วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษารู ปแบบกลยุทธการพัฒนาดา นวิจัย โดยเฉพาะกลยุทธเ ชิงรุกและ กระบวนการการดํ า เนิ น งานตามแผนกลยุ ท ธ เพื่ อ เสริ ม สร า งศั ก ยภาพ ในการใช ง านวิ จั ย เพื่ อ แกปญหา หาหนทางพัฒนา และการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืนของประเทศตาง ๆ ที่มีความ เจริญกาวหนาโดยอาศัยหลักเศรษฐกิจฐานความรู 2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห กลยุทธการพัฒนาดานการวิจัย ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ของประเทศไทย 3. เพื่อศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค จุดออน ภาวะคุกคาม จุดแข็ง และโอกาส ในดาน การวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 4. เพื่อสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย เพื่อใหประเทศไทยมี ความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน ลดการพี่งพาความรูหรือเทคโนโลยีจากตางประเทศ และสามารถ พัฒนาใหประเทศไทยเปนประเทศที่ใชเศรษฐกิจฐานความรูในการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ดาน ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของพื้นที่ กําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา โดยทําการศึกษาหนวยงานทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับ งานวิจัย หรือหนวยงานที่มีการดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัยแตจะเนนที่หนวยงานภาครัฐเปนสวน ใหญ และเพิ่มเติมขอมูลทั้งจากภาครัฐวิสาหกิจ และ ภาคเอกชนดวยบางสวน เนื่องจากพบวา หนวยงานดังกลาวมีการพัฒนา และจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยแตเปนจํานวนไมมาก เมื่อเทียบ กับจํานวนในภาคสวนของรัฐ ขอบเขตของเนื้อหา แบงเปน 3 สวน สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่ยึดหนวยงานเปนหลัก สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่มุงประเด็นเปนหลัก
  • 15. สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่มุงผลผลิตเปนหลัก วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสถานภาพปจจุบันของบทบาทของการ วิจัยในการพัฒนาประเทศไทย และวิเคราะหถึงจุดออน จุดแข็ง โอกาส และภาวะคุกคาม เพื่อนํามา สังเคราะหเปน “ยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อการพัฒนาดานการวิจัย” โดยมีวิธีดําเนินการดังตอไปนี้ 1. การรวบรวมขอมูล การศึกษาวิจัยนี้จะใชวิธีการรวบรวมขอมูล 5 วิธีไดแก 1.1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature review) 1.2. การศึกษาขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศไทย 1.2.1. ข อ มู ล ยุ ท ธศาสตร ก ารวิ จั ย และยุ ท ธศาสตร ที่ เ กี่ ย วกั บ การวิ จั ย ของ หนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 1.2.2. ขอมูลงบประมาณที่จัดสรรเพื่อการวิจัย 1.2.3. ขอมูลรูปแบบการบริหารจัดการ กับการดําเนินงานดานการวิจัยตาม แผนงานของหนวยงานระดับตาง ๆ 1.2.4. ขอมูลการเปรียบเทียบปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพ และความสามารถในการแขงขันของไทย 1.3. การรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามความคิดเห็น (Questionnaire) ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ ผูบริหารระดับสูงที่รับผิดชอบดานการวางนโยบาย การวิจัยของหนวยงานจัดสรรทุน และหนวยงานดําเนินการวิจัย ผูบริหารระดับกลางที่รับผิดชอบใน การดําเนินการตามแผนกลยุทธการวิจัยของหนวยงาน 1.4. การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth interview) กลุมตัวอยางแบงเปน 2 กลุม ไดแก 1.4.1. กลุ ม ที่ ไ ด รั บ เชิ ญ มาให ข อ มู ล ข อ เท็ จ จริ ง และแสดงความคิ ด เห็ น ตลอดจนให ข อ เสนอแนะ ในการศึ ก ษาแนวทางการพั ฒ นาด า นการวิ จั ย และการพั ฒ นาด า น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย ทั้งนี้ใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550 ซึ่งผูวิจัยไดรวมสัมภาษณในประเด็นนี้ระหวางทําหนาที่เปนที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการการ จัดการเทคโนโลยี ในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร 1.4.2. กลุมที่เจาะจง (Purposive Sampling) ไดแก ผูบริหารระดับสูงของ หนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ
  • 16. 1.5. การจัดกลุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิที่มีสวนเกี่ยวของหรือเคยมีสวนเกี่ยวของกับ การกําหนดยุทธศาสตรดานการวิจัย เพื่อรับทราบความคิดเห็นตอผลการวิจัยในลักษณะ Focus Group 2. วิธีการและขันตอนการวิจัย ้ 2.1. ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดกรอบแนวคิดและแผนงาน ทบทวนและทําความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดประเด็น “การวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ” รวมทั้งบริบทการสรางความเขมแข็งของประเทศไทย เพื่อการแกปญหา และการหาหนทางพัฒนา อยางตอเนื่องและยั่งยืน รวมถึง แนวคิดที่เกี่ยวของกับประเด็นสําคัญดังกลาว ไดแก แนวคิดการ พัฒนาสูเศรษฐกิจฐานความรู และ แนวคิดการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนการ ทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญากับแนวคิดที่ไดรับพระราชทานในเรื่อง “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ที่เปนประเด็นสําคัญในการลดการพึ่งพาจากตางประเทศ 2.2. ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบเครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 2.2.1. แบบสอบถามความคิดเห็น การสรางแบบสอบถาม ดําเนินการดังนี้ 2.2.1.1. ไดจากการศึกษา คนควา เอกสาร หนังสือ และขอมูลที่ปรากฎ บนเวปไซต งานวิจัยที่เกี่ยวของประชุมหารือกับกลุมอาจารยและเจาหนาที่ที่มีประสบการณในการ ดําเนินงานดานการ พัฒนาการวิจัย เพื่อกําหนดกรอบในการสรางแบบสอบถาม และรวมกัน 2.2.1.2. สรางแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดที่วางไวนําแบบสอบถาม เสนอผูทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความถูกตองตามเนื้อหา และเพิ่มเติมประเด็นใหแบบสอบถาม สมบูรณ (Validity) 2.2.2. แบบที่ใชในการสัมภาษณ 2.2.2.1. ผูวิจัยสรางแบบสัมภาษณจากพื้นฐานของการวิเคราะหขอมูลที่ ไดจากการศึกษา ทบทวนเอกสาร ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม และขอมูลของประเทศไทย 2.2.2.2. กําหนดคําถามที่ตองการทราบความคิดเห็น หรือตองการการ ยืนยันความคิดเห็นที่ไดจากกลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม 2.3. ขั้นตอนที่ 3 การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล เปนการรวบรวมขอมูลจากทุกแหลงตามที่ออกแบบวิธีวิทยาการวิจัยทําการวิเคราะห ตามหัวขอและประเด็นที่กําหนดไว 2.4. ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะหจากขอมูลและการวิเคราะห เพือจัดทําเปน ่ ยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อการพัฒนาดานการวิจัย
  • 17. ขั้นตอนการวิจัย แสดงไดดังแผนภาพที่ 1 ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1. ไดกรอบยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศที่ประสบความสําเร็จ จากการใชการศึกษาวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจฐานความรู และสรางความ มั่งคั่งใหแกประเทศ 2. ไดขอมูลนโยบายและกลยุทธก ารพั ฒนาดานการวิจั ยของหนวยงานตาง ๆ ทั้ง หนวยงานที่เปนผูใหทุน หนวยงานปฏิบัติการวิจัย และหนวยงานที่นํางานวิจัยไปใช