SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 26
โยนิโสมนสิการ ( Crltical Reflection )
“ ในระบบการศึกษาอบรมโยนิโสมนสิการ เป็นการ ฝึกใช้ความคิด    ให้รู้จักคิดอย่างถูกวิธี    คิดอย่างมีระเบียบ รู้จักคิดวิเคราะห์ ไม่มองเห็นสิ่งต่างๆ อย่างตื้นผิวเผิน    เป็นขั้นสำคัญในการสร้างปัญหาที่บริสุทธิ์ เป็นอิสระทำให้ทุกคน ช่วยตนเองได้    และ นำไปสู่จุดมุ่งหมายของพุทธธรรมอย่างถ่องแท้ ”  พระธรรมปิฎก
“ ว่า โดยรูปศัพท์     โยนิโสมนสิการ    ประกอบด้วยโยนิโส กับมนสิการ    โยนิโส มาจาก โยนิ แปลว่า  เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปัญญาอุบาย    วิธี    ทาง   ส่วนมนสิการ แปลว่า    การทำในใจ    การคิด คำนึง นึกถึง ใส่ใจ    พิจารณา    เมื่อรวมเข้าเป็นโยนิโสมนสิการ    ท่านแปลสืบทอดกันมาว่า  การทำในใจโดยแยบคาย …”  โยนิโส มนสิการ + = พระธรรมปิฎก  ( ป . อ .  ปยุตโต )
กล่าวอีกนัยหนึ่ง    การทำในใจโดยแยบคาย ก็คือ การคิดเป็น   คือคิดถูกต้องตามความเป็นจริงอาศัยการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ    และคิดเชื่อมโยงตีความข้อมูลเพื่อนำไปใช้ต่อไป
การทำในใจโดยแยบคาย ความหมายอาจ แยก เป็นลักษณะต่างๆ  ได้ดังต่อไปนี้ 1 .  อุบายมนสิการ    2 .  ปถมสิการ  3 .  การณมนสิการ    4 .  อุปปาทกมนสิการ
1 .  อุบายมนสิการ     แปลว่า    คิดพิจารณาโดยอุบาย  คือ คิดอย่างมีวิธีหรือคิดถูกวิธี    หมายถึง ถูกวิธีที่จะเข้าถึงความจริง    สอดคล้องเข้าแนวสัจจะทำให้หยั่งรู้สภาวะลักษณะ และสามัญลักษณะของสิ่งทั้งหลาย
2 .  ปถมสิการ  แปลว่า  คิดเป็นทาง หรือคิดถูกทาง    คือคิดได้ต่อเนื่องเป็นลำดับ จัดลำดับได้  หรือมีลำดับมีขั้นตอนแล่นไปเป็นแถว เป็นแนว  หมายถึง ความคิดเป็นระเบียบตามแนวเหตุผล   เป็นต้น  ไม่ยุ่งเหยิงสับสน ไม่ใช่วกเวียนติดพันประเดี๋ยวเรื่องนี้ ที่นี่   เดี๋ยวเตลิดออกไปเรื่องนั้นที่โน้น หรือกระโดดไปกระโดดมา    ต่อเป็นชิ้นเป็นอันไม่ได้   ทั้งนี้รวมทั้งความสามารถที่จะชักความนึกคิดเข้าสู่แนวทางที่ถูกต้อง
คิดตามเหตุ  คิดมีเหตุผล   คิดหาผล หรือคิดอย่างมีเหตุผล  หมายถึง  การคิดสืบค้นตามแนวความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยที่สืบทอดกัน  พิจารณาสืบสาวหาสาเหตุให้เข้าใจถึงต้นเค้า   หรือแหล่งที่มาซึ่งส่งผลต่อเนื่องมาตามลำดับ  3 .  การณมนสิการ     แปลว่า
4 .  อุปปาทกมนสิการ   แปลว่า คิดให้เกิดผล     คือใช้ความคิดให้เกิดผลที่พึงประสงค์ เล็งถึงการคิดอย่างมีเป้าหมาย    ท่านหมายถึง การคิดพิจารณาที่ทำให้เกิดกุศลธรรม    เช่น ปลุกเร้าให้เกิดความเพียรการรู้จักคิดที่จะทำให้หายหวาดกลัวให้หายโกรธ    การพิจารณาที่ทำให้มีสติ    หรือทำให้จิตใจเข้มแข็งมั่นคง เป็นต้น
“ ถ้ามองในแง่ของขอบเขต โยนิโสมนสิการ กินความกว้าง ครอบคลุมตั้งแต่ความคิดในแนวทางของ ศีลธรรม การคิดตามหลัก ความดีงาม และหลัก ความจริง ต่างๆ    ที่ตนได้ศึกษาหรือรับการอบรมสั่งสอนมา    มีความรู้ความเข้าใจดีอยู่แล้ว  เช่น คิดในทางที่จะเป็นมิตรคิดรัก คิดปรารถนาดีมีเมตตา คิดที่จะให้หรือช่วยเหลือเกื้อกูล    คิดในทางที่จะเข้มแข็ง    ทำการจริงจังไม่ย่อท้อ    เป็นต้น     ซึ่งไม่ต้องใช้ปัญญาลึกซึ้งอะไร ตลอดขึ้นไปจนถึงการคิดแยกแยะองค์ประกอบและสืบสาวหาสาเหตุปัจจัยที่ต้องใช้ ปัญญาละเอียดประณีต    เนื่องด้วยโยนิโสมนสิการมีขอบเขตกว้างขวางอย่างนี้    ปกติชนทุกคนสามารถใช้โยนิโสมนสิการได้ ”  ขอบเขต ของโยนิโสมนสิการ
“ ถ้ามองในแง่หน้าที่  โยนิโสมนสิการก็คือ   ความคิดที่ สกัด อวิชชาตัณหา   หรือการคิดเพื่อสกัดตัดหน้าอวิชชาและตัณหา ”    … หน้าที่ ของโยนิโสมนสิการ
[object Object],[object Object],ลักษณะ ของ ความคิด ตาม อวิชชาตัณหา
อย่างไรก็ตาม  เมื่อพูดลึกลงไปอีกในด้านสภาวะ อวิชชาเป็นฐานก่อตัวของตัณหา และ ตัณหาเป็นตัวเสริมกำลังให้แก่อวิชชา     ดังนั้น  ถ้าจะกำจัดความชั่วร้ายให้สิ้นเชิง ก็จะต้องกำจัดให้ถึงอวิชชา
วิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2 .  วิธีคิดแบบ แยกแยะส่วนประกอบ หรือกระจายเนื้อหา    มุ่งให้มองและรู้จักสิ่งทั้งหลายตามสภาวะของมันเอง  เป็นวิภัชชวิธี หรือวิธีคิดแบบวิเคราะห์ เป็นการคิดพิจารณาที่แยกแยะโดย ถือเอานามรูปเป็นหลัก   คือ ไม่ มองสัตว์บุคคลตามสมมุติบัญญัติ    ว่าเป็นเขาเป็นเรา เป็นนายนั่นนายนี่  แต่มองตามสภาวะ แยกออกไปว่าเป็นนามธรรมและรูปธรรม
  3 .  วิธีคิดแบบ สามัญลักษณ์  =  วิธีคิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา  หมายถึง  การรู้เท่าทันความเป็นไปของสิ่งทั้งหลาย   เช่น มีการเกิด เปลี่ยนแปลงและดับสลายไปในที่สุด เป็นต้น    ว่าสิ่งทั้งหลายที่เป็นธรรมชาติย่อมเกิดจาก เหตุปัจจัย   และขึ้นต่อเหตุปัจจัยเช่นเดียวกัน   วิธีคิดแบบนี้แบ่งได้เป็น   2   ขั้นตอน   คือ    ขั้นที่หนึ่ง คือ     รู้เท่าทันและ ยอมรับ ความจริง    ขั้นที่สอง คือ     การคิด แก้ไข และทำการไปตามเหตุปัจจัย
  4 .  วิธีคิดแบบ อริยสัจ    มี  2   วิธี คือ     1 )  วิธีคิดตามเหตุผล  เป็นการ สืบสาวจากผลไปหาเหตุแล้วแก้ไขที่เหตุนั้น   จัดเป็น  2   คู่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้    คู่ที่  1   ทุกข์เป็นผล   เป็นที่มาของปัญหา เป็นจุดที่ต้องการแก้ไข    คู่ที่  2   นิโรธเป็นผล    เป็นภาวะสิ้นปัญหาอันได้แก่ความดับทุกข์   เป็นจุดหมายที่ต้องการจะเข้าถึง 2 )  วิธีคิดที่ตรงจุดตรงเรื่อง  เป็นการคิดอย่างตรงไปตรงมา  สนใจแต่เรื่องที่เกี่ยวข้อง ** กำหนดขอบเขตปัญหา หาสาเหตุ กำหนดเป้าหมาย คิดวิธีแก้ปัญหา ** =  คิดแบบแก้ปัญหา
5 .  วิธีคิดแบบ อรรถธรรมสัมพันธ์   =  คิดตามหลักการและความมุ่งหมาย    คือพิจารณาให้ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง  ธรรม ( หลักการ )  กับ  อรรถ ( ความมุ่งหมาย )  คำว่า หลักการ ในที่นี้   หมายถึง  หลักความจริง หลักความดีงาม   หลักการปฏิบัติ รวมทั้งหลักคำสอนที่จะให้ประพฤติปฏิบัติและการทำการได้ถูกต้อง    ส่วน ความมุ่งหมาย ก็หมายถึง จุดหมาย หรือประโยชน์ที่ต้องการ   หรือสาระที่พึงประสงค์    ความเข้าใจถูกต้อง ในเรื่องหลักการและความมุ่งหมายจะ - นำไปสู่การปฏิบัติถูกต้อง   ซึ่งสำคัญมาก   กล่าวได้ว่าเป็นตัวตัดสินว่าการกระทำนั้นๆจะสำเร็จผล    บรรลุจุดมุ่งหมายได้หรือไม่
6 .  วิธีคิดแบบ คุณโทษและทางออก   ต้องพิจารณาปัญหาให้ครบทุกด้าน ได้แก่  ด้านดี ( อัสสาทะ )    ด้านเสีย ( อทีนนวะ )  ต่อจากนั้นจึงหา ทางออก ( นิสสรหะ ) ลักษณะที่พึงย้ำ  2   ประการ  คือ    1 )  การมองเห็นตามความเป็นจริง   จะต้องมองเห็นทั้งด้านดีและด้านเสียของสิ่งนั้นๆ ไม่ใช่มองเพียงด้านหนึ่งด้านใดด้านเดียว    2 )  เมื่อจะ แก้ปัญหา หรือลงมือปฏิบัติจะต้องมองเห็นจุดหมายหรือทางออก ต้องพิจารณาไปพร้อมๆ กับการพิจารณาผลดีผลเสีย จะทำให้หาทางออกได้ดีที่สุดและปฏิบัติได้ถูกต้องที่สุด
7 .  วิธีคิดแบบ คุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม   ประโยชน์ของสิ่งทั้งหลายในแง่ที่ สนองความต้องการของชีวิตโดยตรง   อาศัย ปัญญา เป็นเครื่องวัด ประโยชน์ในแง่  การปรนเปรอ   การเสวยเสพเวทนา  อาศัย ตัณหา เป็นเครื่องวัด  ชีวิตรุ่งเรือง + มีความสุข
8 .  วิธีคิดแบบ อุบายปลุกเร้าคุณธรรม   ส่งเสริมชักนำไปในทางที่ดีงามและเป็นประโยชน์    เป็นการขัดเกลาและบรรเทาปัญหา  พระพุทธเจ้าทรงแนะนำหลักทั่วไป  ในการแก้ความคิดอกุศลไว้เป็น  5   ขั้นคือ    1 )  คิดนึกใส่ใจเรื่องอื่นที่ดีงามเป็นกุศล      2 )  พิจารณาโทษของความคิดที่เป็นอกุศลเหล่านั้น 3 )  ไม่คิดถึง ไม่ใส่ใจในความชั่วร้ายที่เป็นอกุศลนั้นเลย     4 )  พิจารณาสังขารสัณฐานของความคิดเหล่านั้น    5 )  ขบฟัน เอาลิ้นดุนเพดาน    อธิษฐานจิตคือตั้งใจ  แน่วแน่เด็ดเดี่ยว  ข่มใจระงับความคิดนั้นเสีย  น้ำยังมีอีกตั้งครึ่งแก้ว  &  น้ำเหลือแค่ครึ่งแก้ว  ?
9 .  วิธีคิดแบบ เป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน  ความคิดที่เป็นอยู่ในปัจจุบันหมายถึง    การคิดในแนวทางของความรู้ หรือคิดด้วยอำนวยปัญญา  การคิดแบบนี้ถือว่า ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่เป็นอยู่ในขณะนี้    หรือเป็นเรื่องที่ล่วงไปแล้ว หรือเป็นเรื่องของกาลภายหน้า    ก็จัดเข้าไปเป็นการปัจจุบันทั้งสิ้น ช่วยให้การปฏิบัติในปัจจุบันถูกต้องได้ผลดียิ่งขึ้น    และสนับสนุนให้มีการตระเตรียมวางแผนล่วงหน้า
10 .  วิธีคิดแบบ วิภัชช วาท   =  การพูดจำแนก   พูดแยกแยะหรือแสดงคำสอนแบบวิเคราะห์   แยกแยะ จำแนกแจกแจง  ลักษณะ   :   การมองและแสดงความจริงโดยแยกแยะออกให้เห็นแต่ละด้านครบทุกด้าน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จำแนกได้ดังนี้
สรุป วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ     ( 1 )  โยนิโสมนสิการแบบ ปลุกปัญญา    มุ่งให้เกิดความรู้แจ้งตามสภาวะ เน้นที่การขจัดอวิชชา เป็นฝ่ายวิปัสสนา   มีลักษณะเป็นการส่องสว่าง ทำลายความมืด หรือชำระล้างสิ่งสกปรก ให้ผลไม่จำกัดกาล    หรือเด็ดขาด นำไปสู่โลกุตรสัมมาทิฎฐิ ( 2 )   โยนิโสมนสิการแบบ สร้างเสริมคุณภาพจิต    มุ่งปลุกเร้ากุศลธรรม เน้นที่การสกัดหรือข่มตัณหา เป็นฝ่ายสมถะ    มีลักษณะเป็นการเสริมสร้างพลังหรือปริมาณฝ่ายดีขี้นมากดข่มทับหรือบังฝ่าย ชั่วไว้    ให้ผลขึ้นแก่การชั่วคราวหรือเป็นเครื่องตระเตรียมหนุนเสริมความพร้อมและ สร้างนิสัยที่นำไปสู่โลกียสัมมาทิฎฐิ
ศาสตราจารย์ ดร . ธำรง    บัวศรี บรรณานุกรม พระธรรมปิฎก    ( ป . อ . ปยุตโต ).    พุทธธรรม    เล่มที่  4,   ฉบับปรับปรุงและขยายความ .  โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย , 2542 . พระ ราชวรมุนี    ( ประยูร ธมมจิตโต ).    ขอบฟ้าแห่งความรู้ เอกสารพัฒนากระบวนการเรียนรู้อันดับที่  5   กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ .    โรงพิมพ์คุรุสภา    ลาดพร้าว , 2541 . สาโรช    บัวศรี .  “ การคิด . ”  สารานุกรมศึกษาศาสตร์ .  8  : 9 – 11;  มกราคม - ธันวาคม  2531 . Popkin, R . H .  and Stroll .  Phllosophy Made Slmple .  New York  :  Made Simple Books Inc . , 1956 . จากสารานุกรมศึกศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2546 ---------------------------- ที่มา  :  จาก หนังสือเราคือครู    60   ปี มศว    หน้า  31-43 เว็บลิงค์  www.swuaa.com ที่มาภาพ  :   http://www.budpage.com/forum/view.php?id=5167 http :// www . m-culture . go . th / detail_page . php?sub_id = 588

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
Pannaray Kaewmarueang
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
dokdai
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
โอ๋ อโนทัย
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
NU
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Similar a Presentation1

การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
Note Na-ngam
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
chamriang
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
sivapong klongpanich
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
Aaesah
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 

Similar a Presentation1 (20)

งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
10
1010
10
 

Presentation1

  • 2. “ ในระบบการศึกษาอบรมโยนิโสมนสิการ เป็นการ ฝึกใช้ความคิด   ให้รู้จักคิดอย่างถูกวิธี   คิดอย่างมีระเบียบ รู้จักคิดวิเคราะห์ ไม่มองเห็นสิ่งต่างๆ อย่างตื้นผิวเผิน   เป็นขั้นสำคัญในการสร้างปัญหาที่บริสุทธิ์ เป็นอิสระทำให้ทุกคน ช่วยตนเองได้   และ นำไปสู่จุดมุ่งหมายของพุทธธรรมอย่างถ่องแท้ ” พระธรรมปิฎก
  • 3. “ ว่า โดยรูปศัพท์   โยนิโสมนสิการ   ประกอบด้วยโยนิโส กับมนสิการ   โยนิโส มาจาก โยนิ แปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปัญญาอุบาย   วิธี   ทาง ส่วนมนสิการ แปลว่า   การทำในใจ   การคิด คำนึง นึกถึง ใส่ใจ   พิจารณา   เมื่อรวมเข้าเป็นโยนิโสมนสิการ   ท่านแปลสืบทอดกันมาว่า การทำในใจโดยแยบคาย …” โยนิโส มนสิการ + = พระธรรมปิฎก ( ป . อ . ปยุตโต )
  • 4. กล่าวอีกนัยหนึ่ง   การทำในใจโดยแยบคาย ก็คือ การคิดเป็น คือคิดถูกต้องตามความเป็นจริงอาศัยการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ   และคิดเชื่อมโยงตีความข้อมูลเพื่อนำไปใช้ต่อไป
  • 5. การทำในใจโดยแยบคาย ความหมายอาจ แยก เป็นลักษณะต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้ 1 . อุบายมนสิการ   2 . ปถมสิการ 3 . การณมนสิการ   4 . อุปปาทกมนสิการ
  • 6. 1 . อุบายมนสิการ   แปลว่า   คิดพิจารณาโดยอุบาย คือ คิดอย่างมีวิธีหรือคิดถูกวิธี   หมายถึง ถูกวิธีที่จะเข้าถึงความจริง   สอดคล้องเข้าแนวสัจจะทำให้หยั่งรู้สภาวะลักษณะ และสามัญลักษณะของสิ่งทั้งหลาย
  • 7. 2 . ปถมสิการ แปลว่า คิดเป็นทาง หรือคิดถูกทาง   คือคิดได้ต่อเนื่องเป็นลำดับ จัดลำดับได้ หรือมีลำดับมีขั้นตอนแล่นไปเป็นแถว เป็นแนว หมายถึง ความคิดเป็นระเบียบตามแนวเหตุผล   เป็นต้น ไม่ยุ่งเหยิงสับสน ไม่ใช่วกเวียนติดพันประเดี๋ยวเรื่องนี้ ที่นี่   เดี๋ยวเตลิดออกไปเรื่องนั้นที่โน้น หรือกระโดดไปกระโดดมา   ต่อเป็นชิ้นเป็นอันไม่ได้   ทั้งนี้รวมทั้งความสามารถที่จะชักความนึกคิดเข้าสู่แนวทางที่ถูกต้อง
  • 8. คิดตามเหตุ คิดมีเหตุผล คิดหาผล หรือคิดอย่างมีเหตุผล หมายถึง การคิดสืบค้นตามแนวความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยที่สืบทอดกัน พิจารณาสืบสาวหาสาเหตุให้เข้าใจถึงต้นเค้า หรือแหล่งที่มาซึ่งส่งผลต่อเนื่องมาตามลำดับ 3 . การณมนสิการ   แปลว่า
  • 9. 4 . อุปปาทกมนสิการ แปลว่า คิดให้เกิดผล   คือใช้ความคิดให้เกิดผลที่พึงประสงค์ เล็งถึงการคิดอย่างมีเป้าหมาย   ท่านหมายถึง การคิดพิจารณาที่ทำให้เกิดกุศลธรรม   เช่น ปลุกเร้าให้เกิดความเพียรการรู้จักคิดที่จะทำให้หายหวาดกลัวให้หายโกรธ   การพิจารณาที่ทำให้มีสติ   หรือทำให้จิตใจเข้มแข็งมั่นคง เป็นต้น
  • 10. “ ถ้ามองในแง่ของขอบเขต โยนิโสมนสิการ กินความกว้าง ครอบคลุมตั้งแต่ความคิดในแนวทางของ ศีลธรรม การคิดตามหลัก ความดีงาม และหลัก ความจริง ต่างๆ   ที่ตนได้ศึกษาหรือรับการอบรมสั่งสอนมา   มีความรู้ความเข้าใจดีอยู่แล้ว เช่น คิดในทางที่จะเป็นมิตรคิดรัก คิดปรารถนาดีมีเมตตา คิดที่จะให้หรือช่วยเหลือเกื้อกูล   คิดในทางที่จะเข้มแข็ง   ทำการจริงจังไม่ย่อท้อ   เป็นต้น    ซึ่งไม่ต้องใช้ปัญญาลึกซึ้งอะไร ตลอดขึ้นไปจนถึงการคิดแยกแยะองค์ประกอบและสืบสาวหาสาเหตุปัจจัยที่ต้องใช้ ปัญญาละเอียดประณีต   เนื่องด้วยโยนิโสมนสิการมีขอบเขตกว้างขวางอย่างนี้   ปกติชนทุกคนสามารถใช้โยนิโสมนสิการได้ ” ขอบเขต ของโยนิโสมนสิการ
  • 11. “ ถ้ามองในแง่หน้าที่ โยนิโสมนสิการก็คือ   ความคิดที่ สกัด อวิชชาตัณหา   หรือการคิดเพื่อสกัดตัดหน้าอวิชชาและตัณหา ”   … หน้าที่ ของโยนิโสมนสิการ
  • 12.
  • 13. อย่างไรก็ตาม เมื่อพูดลึกลงไปอีกในด้านสภาวะ อวิชชาเป็นฐานก่อตัวของตัณหา และ ตัณหาเป็นตัวเสริมกำลังให้แก่อวิชชา   ดังนั้น ถ้าจะกำจัดความชั่วร้ายให้สิ้นเชิง ก็จะต้องกำจัดให้ถึงอวิชชา
  • 14.
  • 15.
  • 16. 2 . วิธีคิดแบบ แยกแยะส่วนประกอบ หรือกระจายเนื้อหา   มุ่งให้มองและรู้จักสิ่งทั้งหลายตามสภาวะของมันเอง เป็นวิภัชชวิธี หรือวิธีคิดแบบวิเคราะห์ เป็นการคิดพิจารณาที่แยกแยะโดย ถือเอานามรูปเป็นหลัก คือ ไม่ มองสัตว์บุคคลตามสมมุติบัญญัติ   ว่าเป็นเขาเป็นเรา เป็นนายนั่นนายนี่ แต่มองตามสภาวะ แยกออกไปว่าเป็นนามธรรมและรูปธรรม
  • 17.   3 . วิธีคิดแบบ สามัญลักษณ์ = วิธีคิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา หมายถึง การรู้เท่าทันความเป็นไปของสิ่งทั้งหลาย เช่น มีการเกิด เปลี่ยนแปลงและดับสลายไปในที่สุด เป็นต้น   ว่าสิ่งทั้งหลายที่เป็นธรรมชาติย่อมเกิดจาก เหตุปัจจัย และขึ้นต่อเหตุปัจจัยเช่นเดียวกัน วิธีคิดแบบนี้แบ่งได้เป็น 2 ขั้นตอน คือ   ขั้นที่หนึ่ง คือ   รู้เท่าทันและ ยอมรับ ความจริง   ขั้นที่สอง คือ   การคิด แก้ไข และทำการไปตามเหตุปัจจัย
  • 18.   4 . วิธีคิดแบบ อริยสัจ   มี 2 วิธี คือ   1 ) วิธีคิดตามเหตุผล เป็นการ สืบสาวจากผลไปหาเหตุแล้วแก้ไขที่เหตุนั้น   จัดเป็น 2 คู่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้   คู่ที่ 1  ทุกข์เป็นผล   เป็นที่มาของปัญหา เป็นจุดที่ต้องการแก้ไข    คู่ที่ 2  นิโรธเป็นผล   เป็นภาวะสิ้นปัญหาอันได้แก่ความดับทุกข์ เป็นจุดหมายที่ต้องการจะเข้าถึง 2 ) วิธีคิดที่ตรงจุดตรงเรื่อง เป็นการคิดอย่างตรงไปตรงมา สนใจแต่เรื่องที่เกี่ยวข้อง ** กำหนดขอบเขตปัญหา หาสาเหตุ กำหนดเป้าหมาย คิดวิธีแก้ปัญหา ** = คิดแบบแก้ปัญหา
  • 19. 5 . วิธีคิดแบบ อรรถธรรมสัมพันธ์ = คิดตามหลักการและความมุ่งหมาย   คือพิจารณาให้ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ธรรม ( หลักการ ) กับ อรรถ ( ความมุ่งหมาย ) คำว่า หลักการ ในที่นี้ หมายถึง หลักความจริง หลักความดีงาม หลักการปฏิบัติ รวมทั้งหลักคำสอนที่จะให้ประพฤติปฏิบัติและการทำการได้ถูกต้อง   ส่วน ความมุ่งหมาย ก็หมายถึง จุดหมาย หรือประโยชน์ที่ต้องการ   หรือสาระที่พึงประสงค์   ความเข้าใจถูกต้อง ในเรื่องหลักการและความมุ่งหมายจะ - นำไปสู่การปฏิบัติถูกต้อง   ซึ่งสำคัญมาก   กล่าวได้ว่าเป็นตัวตัดสินว่าการกระทำนั้นๆจะสำเร็จผล   บรรลุจุดมุ่งหมายได้หรือไม่
  • 20. 6 . วิธีคิดแบบ คุณโทษและทางออก ต้องพิจารณาปัญหาให้ครบทุกด้าน ได้แก่ ด้านดี ( อัสสาทะ )   ด้านเสีย ( อทีนนวะ ) ต่อจากนั้นจึงหา ทางออก ( นิสสรหะ ) ลักษณะที่พึงย้ำ 2 ประการ คือ   1 ) การมองเห็นตามความเป็นจริง จะต้องมองเห็นทั้งด้านดีและด้านเสียของสิ่งนั้นๆ ไม่ใช่มองเพียงด้านหนึ่งด้านใดด้านเดียว   2 ) เมื่อจะ แก้ปัญหา หรือลงมือปฏิบัติจะต้องมองเห็นจุดหมายหรือทางออก ต้องพิจารณาไปพร้อมๆ กับการพิจารณาผลดีผลเสีย จะทำให้หาทางออกได้ดีที่สุดและปฏิบัติได้ถูกต้องที่สุด
  • 21. 7 . วิธีคิดแบบ คุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม ประโยชน์ของสิ่งทั้งหลายในแง่ที่ สนองความต้องการของชีวิตโดยตรง อาศัย ปัญญา เป็นเครื่องวัด ประโยชน์ในแง่ การปรนเปรอ การเสวยเสพเวทนา อาศัย ตัณหา เป็นเครื่องวัด ชีวิตรุ่งเรือง + มีความสุข
  • 22. 8 . วิธีคิดแบบ อุบายปลุกเร้าคุณธรรม ส่งเสริมชักนำไปในทางที่ดีงามและเป็นประโยชน์   เป็นการขัดเกลาและบรรเทาปัญหา พระพุทธเจ้าทรงแนะนำหลักทั่วไป ในการแก้ความคิดอกุศลไว้เป็น 5 ขั้นคือ   1 ) คิดนึกใส่ใจเรื่องอื่นที่ดีงามเป็นกุศล   2 ) พิจารณาโทษของความคิดที่เป็นอกุศลเหล่านั้น 3 ) ไม่คิดถึง ไม่ใส่ใจในความชั่วร้ายที่เป็นอกุศลนั้นเลย   4 ) พิจารณาสังขารสัณฐานของความคิดเหล่านั้น   5 ) ขบฟัน เอาลิ้นดุนเพดาน   อธิษฐานจิตคือตั้งใจ แน่วแน่เด็ดเดี่ยว ข่มใจระงับความคิดนั้นเสีย น้ำยังมีอีกตั้งครึ่งแก้ว & น้ำเหลือแค่ครึ่งแก้ว ?
  • 23. 9 . วิธีคิดแบบ เป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน ความคิดที่เป็นอยู่ในปัจจุบันหมายถึง   การคิดในแนวทางของความรู้ หรือคิดด้วยอำนวยปัญญา การคิดแบบนี้ถือว่า ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่เป็นอยู่ในขณะนี้   หรือเป็นเรื่องที่ล่วงไปแล้ว หรือเป็นเรื่องของกาลภายหน้า   ก็จัดเข้าไปเป็นการปัจจุบันทั้งสิ้น ช่วยให้การปฏิบัติในปัจจุบันถูกต้องได้ผลดียิ่งขึ้น   และสนับสนุนให้มีการตระเตรียมวางแผนล่วงหน้า
  • 24.
  • 25. สรุป วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ   ( 1 ) โยนิโสมนสิการแบบ ปลุกปัญญา   มุ่งให้เกิดความรู้แจ้งตามสภาวะ เน้นที่การขจัดอวิชชา เป็นฝ่ายวิปัสสนา มีลักษณะเป็นการส่องสว่าง ทำลายความมืด หรือชำระล้างสิ่งสกปรก ให้ผลไม่จำกัดกาล   หรือเด็ดขาด นำไปสู่โลกุตรสัมมาทิฎฐิ ( 2 ) โยนิโสมนสิการแบบ สร้างเสริมคุณภาพจิต   มุ่งปลุกเร้ากุศลธรรม เน้นที่การสกัดหรือข่มตัณหา เป็นฝ่ายสมถะ   มีลักษณะเป็นการเสริมสร้างพลังหรือปริมาณฝ่ายดีขี้นมากดข่มทับหรือบังฝ่าย ชั่วไว้   ให้ผลขึ้นแก่การชั่วคราวหรือเป็นเครื่องตระเตรียมหนุนเสริมความพร้อมและ สร้างนิสัยที่นำไปสู่โลกียสัมมาทิฎฐิ
  • 26. ศาสตราจารย์ ดร . ธำรง   บัวศรี บรรณานุกรม พระธรรมปิฎก   ( ป . อ . ปยุตโต ).   พุทธธรรม   เล่มที่ 4,  ฉบับปรับปรุงและขยายความ . โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย , 2542 . พระ ราชวรมุนี   ( ประยูร ธมมจิตโต ).   ขอบฟ้าแห่งความรู้ เอกสารพัฒนากระบวนการเรียนรู้อันดับที่ 5 กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ .   โรงพิมพ์คุรุสภา   ลาดพร้าว , 2541 . สาโรช   บัวศรี . “ การคิด . ” สารานุกรมศึกษาศาสตร์ . 8 : 9 – 11; มกราคม - ธันวาคม 2531 . Popkin, R . H . and Stroll . Phllosophy Made Slmple . New York : Made Simple Books Inc . , 1956 . จากสารานุกรมศึกศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2546 ---------------------------- ที่มา : จาก หนังสือเราคือครู   60 ปี มศว   หน้า 31-43 เว็บลิงค์ www.swuaa.com ที่มาภาพ :   http://www.budpage.com/forum/view.php?id=5167 http :// www . m-culture . go . th / detail_page . php?sub_id = 588