SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
1
                                  บทที่ 1
                                  บทนำำ
     ควำมเป็น มำและควำมสำำ คัญ ของปัญ หำ

       ควำมท้ำทำยใหม่ๆ ภำยใต้สังคมแห่งยุคโลกำภิวัตน์ และฐำนควำมรู้
ส่งผลให้เกิดกระแสกำรปฏิรูปกำรศึกษำทั่วทุกภำคของโลก คุณภำพของ
ผู้เรียนเป็นประเด็นสำำคัญของกำรอภิปรำยในทุกเวทีกำรศึกษำและ เห็น
พ้องในกำรปฏิรูปกำรศึกษำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งด้ำนกำรเรียนกำรสอน
กำรพัฒนำกำรศึกษำจะต้องเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำงของกำรพัฒนำทุก
มิติอย่ำงเป็นองค์รวม กำรจัดกำรศึกษำต้องคำำนึงถึงกำรพัฒนำพหุปัญญำ
ในสิ่งแวดล้อมที่สะท้อนว่ำผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำในวันนี้จะสำมำรถเป็น
ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็น    นักวัฒนธรรม นักสังคม นักเศรษฐศำสตร์
และนักเทคโนโลยี อันจะทำำให้เขำเหล่ำนั้นเป็นผลผลิตของกำร จัดกำร
ศึกษำที่สำมำรถสร้ำงสรรค์ สำมำรถปรับตัวรู้เท่ำทันและตอบสนองต่อสิ่ง
ท้ำทำยในอนำคตได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม กระบวนทัศน์ใหม่นี้สถำน
ศึกษำจึงเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีภำระควำมรับผิดชอบผลักดันกำรพัฒนำกำร
ศึกษำให้      มีคุณภำพ บนพื้นฐำนควำมหลำกหลำย และควำมแตกต่ำง
ของปัจเจกบุคคล ตลอดจนสร้ำงกลไกขับเคลื่อน              กำรพัฒนำไปข้ำง
หน้ำอย่ำงต่อเนื่อง (กระทรวงศึกษำธิกำร. 2545 : ส่วนหน้ำ)
       พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มำตรำ 6 ที่ว่ำ กำรจัดกำรศึกษำต้องเป็นไปเพื่อ
พัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่ำงกำย จิตใจ (หมำยถึงสุขกำย
สุขใจ สติปัญญำ ควำมรู้ หมำยถึง เป็นคนเก่ง) และคุณธรรม มีจริยธรรม
และวัฒนธรรมในกำรดำำรงชีวิต สำมำรถอยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอย่ำงมีควำม
สุข (หมำยถึงเป็นคนดีของคนรอบข้ำงและสังคม) และแผนพัฒนำ
เศรษฐกิจสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ได้มุ่งเน้นกำร
พัฒนำคนเป็นศูนย์กลำงและสร้ำงควำมสมดุลในกำรพัฒนำ อีกทั้งจุดมุ่ง
หมำยของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551
มุ่งพัฒนำผู้เรียน      ทุกคน ซึ่งเป็นกำำลังของชำติให้เป็นมนุษย์ที่มีควำม
สมดุลทั้งด้ำนร่ำงกำย ควำมรู้ คุณธรรม มีจิตสำำนึกในควำมเป็นพลเมือง
ไทยและเป็นพลโลกยึดมั่นในกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยอันมี
พระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีควำมรู้และทักษะพื้นฐำน รวมทั้ง
เจตคติ ที่จำำเป็นต่อกำรศึกษำต่อ กำรประกอบอำชีพและกำรศึกษำตลอด
ชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำำคัญบนพื้นฐำนควำมเชื่อว่ำ ทุกคนสำมำรถ
เรียนรู้และพัฒนำตนเองได้เต็มตำมศักยภำพซึ่งกำรพัฒนำประเทศให้
เจริญก้ำวหน้ำนั้น ต้องอำศัยองค์ประกอบหลำยประกำรด้วยกัน องค์
ประกอบที่สำำคัญอย่ำงหนึ่ง คือ องค์ประกอบด้ำนกำรศึกษำ เพรำะกำร
2
ศึกษำเป็นกระบวนกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ซึ่งทรัพยำกรมนุษย์จะมี
คุณภำพชีวิตที่สมบูรณ์ สำมำรถศึกษำเล่ำเรียนจนสำำเร็จตำมวัตถุประสงค์
โดยมิได้มีกำรเจ็บป่วยจนต้องหยุดพักกำรเรียนนั้นย่อมจะต้องอำศัยกำรมี
สุขภำพดีเป็นพื้นฐำน โดยมีนักปรำชญ์ถึงสองท่ำน ได้แก่ Aristotle และ
Plato มีควำมคิดเห็นสอดคล้องกันว่ำ “ในกำรที่จะให้กำรศึกษำด้ำนอื่นๆ
นั้น สมควรให้เด็กมีสุขภำพดีเสียก่อน” ซึ่งทั้งนี้หมำยควำมว่ำ หำกเด็กมี
สุขภำพไม่ดีแล้ว แม้จะได้รับกำรศึกษำอบรมดีวิเศษอย่ำงไร กำรศึกษำ
เล่ำเรียนก็ย่อมจะได้ผลไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยหรืออำจจะได้ผลเสียเลยก็
อำจเป็นได้เช่นเดียวกันกับ Pestalozzi Frobel ได้กล่ำวไว้ว่ำ “สิ่งที่เด็ก
เรียนรู้ย่อมสัมพันธ์โดยตรงกับระดับสุขภำพ เด็กที่มีสุขภำพไม่ดี แม้จะมี
สติปัญญำสูงก็มิอำจใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เท่ำที่ควร” เนื่องจำกควำม
สัมพันธ์อย่ำงใกล้ชิดนี้เองจึงกล่ำวได้ว่ำ สุขภำพเป็นบูรณำกำรที่สำำคัญ
ส่วนหนึ่งของกำรศึกษำ (มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์. 2541 : 5)
       กำรพัฒนำคนในควำมจำำเป็นดังกล่ำว จะเห็นได้ว่ำ เด็กวัยเรียนและ
เยำวชน ซึ่งปัจจุบันมีจำำนวนประชำกรร้อยละ 27 ของประชำกรทั้งหมด
เป็นกลุ่มเป้ำหมำยของกำรพัฒนำที่สำำคัญยิ่งกลุ่มหนึ่ง ดังพระรำชดำำรัส
ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในปีเด็กสำกล
พุทธศักรำช 2522 “เด็กเป็นผู้ที่รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่ำงจำกผู้ใหญ่ รวมทั้ง
ภำระควำมรับผิดชอบในกำรธำำรงรักษำควำมสงบสุขของประชำกรโลก”
และในอนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็กขององค์กำรสหประชำชำติ (UN
convention on the rights of the child) ซึ่งประเทศไทยลงนำม
และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 มีสำระสำำคัญที่มุ่งคุ้มครองสิทธิเด็ก
4 ประกำร คือ สิทธิในกำรอยู่รอด (Survival rights) สิทธิในกำรได้รับ
กำรปกป้องคุ้มครอง (Protection rights) สิทธิในกำรพัฒนำ
(Development rights) และสิทธิในกำรมีส่วนร่วม (Participation
rights) ซึ่งรัฐต้องดำำเนินกำรให้เด็กได้รับกำรคุ้มครองในสิทธิดังกล่ำว
ในทุกๆ มิตของกำรพัฒนำ อีกทั้งกำรลงทุนกับเด็กน่ำจะเป็นผลคุ้มค่ำ
             ิ
มำกกว่ำกำรลงทุนใดๆ ทั้งสิ้น เพรำะเด็กที่มีคุณภำพจะนำำไปสู่กำรเป็น
ผู้ใหญ่ที่มีคุณภำพ และผู้ใหญ่ที่มีคุณภำพก็ต้องมำจำกวัยเด็กที่ได้รับกำร
พัฒนำอย่ำงถูกต้องเหมำะสมเช่นกัน (กรมอนำมัย. 2546 : 2)
       สภำพสังคมไทยในปัจจุบัน ยังมีปัญหำวิกฤติทำงด้ำนสุขภำพ คือ
ภำวะทุพโภชนำกำรและกำรขำดสำรอำหำร ซึ่งมีผลทำำให้เด็กปฐมวัยและ
เด็กวัยกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนอยู่ในอัตรำเสี่ยงต่อภำวะทุพโภชนำกำรมำก
ถึง 5.3 ล้ำนคน จำกจำำนวน 8 ล้ำนคน หรือร้อยละ 64.5 ภำวะดังกล่ำว
มีผลกระทบต่อพัฒนำกำรทำงสมองและกำรเรียนรู้ของเด็กไทย (พนม
พงษ์ไพบูลย์และคณะ. 2546 : 307) รัฐมีนโยบำยสร้ำงหลักประกัน
สุขภำพถ้วนหน้ำ เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสุขภำพและคุณภำพชีวิตที่ดี
3
โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ นับเป็น               กลยุทธ์หนึ่งในกำรช่วย
สร้ำงหลักประกันสุขภำพถ้วนหน้ำ โดยมีโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและเป็น
ศูนย์กลำงของกำรพัฒนำสุขภำพอนำมัย (กรมอนำมัย. 2546 : คำำนำำ)
ซึ่งกรอบแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องกำรพัฒนำส่งเสริมสุขภำพในโรงเรียนได้
เริ่มมำตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ.2521 โดยปฏิญญำ อัลมำอตำ กล่ำวว่ำ โรงเรียน
เป็นจุดเริ่มต้นที่สำำคัญที่จะสอนให้เด็กรู้ว่ำมีสุขภำพที่ดีเป็นอย่ำงไรและจะ
มีผลต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย                    ได้อย่ำงๆและ
นอกจำกนั้นได้มีกำรประชุมระดับนำนำชำติ เมื่อปี พ.ศ.2535 ซึ่ง
เป็นกำรประชุม World Health Organization Global
Consultation on School Health Education ได้ทบทวนกำรดำำเนิน
งำนส่งเสริมสุขศึกษำในโรงเรียนและได้เสนอแนะวิธีกำรส่งเสริมสุขภำพ
ในโรงเรียนแบบครบถ้วน เพื่อให้ประเทศต่ำงๆ นำำไปใช้ในกำรดำำเนิน
กำรอีกด้วย และเมื่อปี พ.ศ.2538 คณะผู้เชี่ยวชำญองค์กำรอนำมัยโลก
ได้ให้ข้อเสนอแนะในกำรดำำเนินงำนส่งเสริมสุขภำพภำยใต้แนวคิดที่ว่ำ
ทุกๆ โรงเรียนสำมำรถเป็นจุดเริ่มต้นของกำรส่งเสริมสุขภำพได้ ทั้งใน
ส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชน จึงได้เสนอแนะกลวิธี Health
Promoting Schools หรือโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพขึ้น Inter Country
Consultation on Health Promoting Schools ซึ่งองค์กำรอนำมัย
โลกได้จัดขึ้นที่ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวำคม พ.ศ.2543 โดยได้ข้อ
เสนอแนะและแนวทำงในกำรดำำเนินงำนโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภำพ ตลอดจนกำรจัดตั้งเครือข่ำยทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภำพ
ด้วย ดังนั้นจึงเป็นสถำนที่ที่ดีที่สุดสำำหรับกำรสอนสุขศึกษำ ซึ่งนอกจำก
นักเรียนจะได้รับควำมรู้ด้ำนสุขภำพอนำมัยแล้ว ยังต้องมีทักษะในกำร
เลือก ตัดสินใจและปฏิบัติในทำงที่ถูกต้องและเอื้อต่อสุขภำพอนำมัยของ
ครอบครัวและชุมชนอีกด้วย (วิรัตน์ สอนคำำจันทร์. 2548 : 3) ทำงด้ำน
กระทรวงสำธำรณสุข โดยกรมอนำมัยซึ่งเป็นหน่วยงำนหลักที่รับผิดชอบ
โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ ได้ร่วมมือกับกระทรวงศึกษำธิกำร
กำำหนดนโยบำยกำรดำำเนินกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพเมื่อปี พ.ศ.2541
และทุกจังหวัดได้ให้กำรสนับสนุนอย่ำงต่อเนื่อง ในปี พ.ศ.2543 กรม
อนำมัยได้จัดทำำเกณฑ์มำตรฐำนในกำรดำำเนินงำนและในขณะเดียวกัน
เมื่อโรงเรียนดำำเนินกำรได้ตำมเกณฑ์กำำหนด สำมำรถติดต่อขอรับกำร
ประเมิน เพื่อรับรองกำรเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพจำกคณะกรรมกำร
ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพระดับอำำเภอและระดับจังหวัดได้อีกด้วย
(กระทรวงสำธำรณสุขและกระทรวงศึกษำธิกำร. 2548 : 3) ซึ่ง
สอดคล้องกับพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มำตรำ 6 กำรจัดกำรศึกษำต้องเป็นไป
เพื่อพัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ
4
ควำมรู้คู่คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในกำรดำำรงชีวิต สำมำรถอยู่
ร่วมกันได้อย่ำงมีควำมสุข (สำำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมิน
คุณภำพกำรศึกษำ. 2547 : 5)
        กำรพัฒนำเด็กและเยำวชน จึงอยู่ในกระบวนกำรจัดกำรศึกษำและ
กำรสร้ำงสุขภำพ จุดเริ่มต้นจึงจำำเป็นต้องมุ่งไปที่กำรเพิ่มประสิทธิภำพ
ของสถำบันกำรศึกษำให้เป็นแกนนำำหรือศูนย์กลำงกำรสร้ำงสุขภำพ
พร้อมๆ กับกำรพัฒนำด้ำนกำรศึกษำ ภำยใต้ควำมร่วมมือจำกทุกฝ่ำยที่
เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ครอบครัวของเด็ก โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้อง
ถิ่น ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นสถำบันพื้นฐำนทำงสังคมที่มีควำมสำำคัญยิ่งของ
กำรพัฒนำ กำรประสำนประโยชน์ที่เอื้อต่อกำรจัดกำรพัฒนำเด็ก เพื่อนำำ
ไปสู่กำรพัฒนำโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพของชุมชน (กรม
อนำมัย. 2546 : 5)
        แนวคิดของกำรดำำเนินงำนโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ มีจุดมุ่งหมำย
เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีสุขภำพดี ทั้งนี้โดยมีองค์ประกอบต่ำงๆ ของ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ ที่มุ่งจัดกำรสิ่งแวดล้อมให้โรงเรียนเอื้อต่อกำรมี
สุขภำพ มุ่งสร้ำงพฤติกรรมสุขภำพที่เหมำะสมและให้บริกำรสุขภำพขั้น
พื้นฐำนในเรื่องต่ำงๆ ที่จำำเป็น      (กรมอนำมัย. 2549 : 1)
        กรมอนำมัย (2549 : 2) ได้สรุปปัญหำในกำรดำำเนินกำรโครงกำร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพไว้ว่ำ ปัญหำสุขภำพของนักเรียนบำงประกำรยัง
คงอยู่ โดยเฉพำะปัญหำทันตสุขภำพ ซึ่งเป็นปัญหำใหญ่ในเด็กวัยเรียน
กล่ำวคือ มีนักเรียนอำยุ 12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่ฟันแท้ขึ้นครบ 28 ซี่ มีอัตรำ
โรคฟันผุสูงถึงร้อยละ 57.30 เด็กกลุ่ม อำยุ 5 – 18 ปี มีโรงฟันผุร้อย
ละ 62.10 นอกจำกนี้ปัญหำป่วยเป็นโรคอำหำรเป็นพิษจำำนวน 31,583
รำย          คิดเป็นร้อยละ 20.14 ของผู้ป่วยที่เข้ำรักษำในโรงพยำบำล
ทั้งหมดและเกิดเหตุกำรณ์อำหำรเป็นพิษหมู่ในโรงเรียน 5 แห่ง เนื่องจำก
บริโภคอำหำรที่มีกำรปนเปื้อนเชื้อโรค และผลกำรสำำรวจคุณภำพนำ้ำดื่ม
ในโรงเรียน พบว่ำนำ้ำดื่มในโรงเรียนร้อยละ 63.30 ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่
ปลอดภัย อีกปัญหำหนึ่งที่พบในโรงเรียน ซึ่งสะท้อนถึงสุขภำพอนำมัย
พื้นฐำนของเด็กวัยเรียนนั่นคือ เรื่องห้องส้วม จำกผลกำรศึกษำพบว่ำ
ส้วมในโรงเรียนระดับประถมศึกษำ ร้อยละ 66.70 และระดับมัธยมศึกษำ
ร้อยละ 50.00 มีปัญหำเรื่องกลิ่นเหม็นและโรงเรียนส่วนใหญ่ส้วมไม่พอ
เพียง และไม่มีอ่ำงล้ำงมือบริเวณห้องส้วม
        โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) เป็นหน่วยงำน
ทำงกำรศึกษำในท้องถิ่น ที่มีบทบำทหน้ำที่ในกำรพัฒนำคนให้มีคุณภำพ
ตำมพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พุทธศักรำช 2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักรำช 2545 และมำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ
ได้ตระหนักเห็นควำมสำำคัญเรื่องสุขภำพอนำมัยของนักเรียน ซึ่งเป็น
5
ปัจจัยสำำคัญที่ทำำให้นักเรียนเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ จึงทำำกำรตรวจ
สุขภำพอนำมัยและภำวะโภชนำกำรของนักเรียนในปีกำรศึกษำ 2553
(โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง. 2554 : 1) พบว่ำ จำกนักเรียนทั้งสิ้น จำำนวน 68
คน มีนำ้ำหนักตำ่ำกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 4.85 มีส่วนสูงตำ่ำกว่ำเกณฑ์ ร้อยละ
5.33 มีทั้งนำ้ำหนักและส่วนสูงตำ่ำกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 3.48 มีภำวะ
โภชนำกำรตำ่ำกว่ำเกณฑ์ ร้อยละ 3.64 เป็นโรคฟันผุ             ร้อยละ 7.42
และยังสำำรวจควำมพึงพอใจของครูและนักเรียนเรื่องควำมสะอำดของ
ส้วมในโรงเรียน พบว่ำ ทุกฝ่ำย มีควำมเห็นว่ำส้วมมีกลิ่นเหม็น ไม่
สะอำด อ่ำงล้ำงมือมีไม่พอเพียงกับจำำนวนนักเรียน
      จำกสภำพปัญหำดังกล่ำว โรงเรียนจึงได้จัดทำำโครงกำรโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภำพขึ้น เพื่อให้นักเรียนมีสุขภำพอนำมัยที่ดี มีพฤติกรรมในเรื่อง
กำรบริโภคอำหำรที่สะอำดปลอดภัย กำรดูแลสุขภำพช่องปำก ใช้ส้วม ที่
สะอำดและรู้จักกำรรักษำควำมสะอำดส้วม และพฤติกรรมกำรล้ำงมือให้
สะอำดหลังเข้ำส้วม มีสิ่งแวดล้อม ที่เอือต่อกำรพัฒนำสุขภำพ รักกำร
                                        ้
ออกกำำลังกำย กำรดำำเนินงำนตำมกิจกรรมดังกล่ำว มุ่งเน้นให้นักเรียนได้
มีส่วนร่วมมำกที่สุด โดยใช้ชมรมของนักเรียนเป็นตัวขับเคลื่อนกำร
ดำำเนินงำนตำมกิจกรรม
จำกกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพดังกล่ำว ได้
ดำำเนินกำรสิ้นสุดแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงกำร ต้องกำรทรำบผลกำรดำำเนิน
งำนตำมโครงกำรทั้งด้ำนผลสำำเร็จและควำมพึงพอใจของผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องว่ำมีมำกน้อยเพียงใด อย่ำงไร จึงดำำเนินกำรประเมินผลกำร
ดำำเนินงำนตำมโครงกำรดังกล่ำวโดยใช้วิธีกำรประเมินโครงกำรตำมรูป
แบบที่ยึดจุดมุ่งหมำยเป็นหลัก (Global Attainment Model or
Objective)         ที่เน้นวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมำยของโครงกำรเป็น
หลักในกำรประเมิน

      วัต ถุป ระสงค์ข องกำรรำยงำน
            1. เพื่อศึกษำผลสำำเร็จของกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำร
               โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
            2. เพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครอง
นักเรียนต่อผลกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ
โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
      ขอบเขตของกำรรำยงำน
            รำยงำนผลครั้งนี้ ผู้รำยงำนกำำหนดขอบเขตกำรรำยงำน ดังนี้
                   1. ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ
6
               กำรรำยงำนครั้งนี้ ผู้รำยงำนศึกษำผลสำำเร็จและควำม
               พึงพอใจต่อผลกำรดำำเนินงำน
ตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์
ประชำนุเครำะห์) ตำมองค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ 10
ประกำร (กรมอนำมัย. 2546 : 20) ดังนี้

                    1.นโยบำยส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียน
                    2.กำรบริหำรจัดกำรในโรงเรียน
                    3.โครงกำรร่วมระหว่ำงโรงเรียนกับชุมชน
                    4.กำรจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภำพ
                    5.บริกำรอนำมัยโรงเรียน
                    6.สุขศึกษำในโรงเรียน
                    7.โภชนำกำรและอำหำรที่ปลอดภัย
                    8.กำรออกกำำลังกำย กีฬำและนันทนำกำร
                    9.กำรให้คำำปรึกษำและสนับสนุนทำงสังคม
                    10.กำรส่งเสริมสุขภำพบุคลำกรในโรงเรียน
                2. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
                    2.1 ประชำกรในกำรศึกษำครั้งนี้ ได้แก่ ครูจำำนวน
            6 คน นักเรียนจำำนวน 61 คน
ผู้ปกครองนักเรียนจำำนวน 61 คน ของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์
ประชำนุเครำะห์) ปีกำรศึกษำ 2554
                         2.2 กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำได้จำกกำร
กำำหนดขนำดของกลุ่มตัวอย่ำงโดยใช้แบบเลือกเจำะจง (ยุทธพงษ์ กัย
วรรณ.2543 : 78) ได้จำำนวนกลุ่มตัวอย่ำง ดังนี้ ครู จำำนวน 6 คน
นักเรียน จำำนวน 61 คน และผู้ปกครองนักเรียน จำำนวน 61 คน
นิย ำมศัพ ท์เ ฉพำะ
            กำรประเมินโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพโรงเรียนวัด
            โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
ผู้รำยงำนได้นิยำมศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
            กำรประเมินโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพโรงเรียนวัด
            โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
 หมำยถึง กำรดำำเนินกำรวัดและประเมินผลกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำร
โรงเรียนส่งเสริม
            สุขภำพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ในปี
            กำรศึกษำ 2554 ตำมรูปแบบที่
ยึดจุดมุ่งหมำยเป็นหลักในกำรประเมินด้ำนผลสำำเร็จในกำรดำำเนินกำร
และควำมพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนซึ่งวัดได้ดังนี้
7
            1. ผลสำำเร็จของโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพวัดได้จำก
                ผลกำรประเมินของคณะ
กรรมกำรประ เมินโครงกำรจำกคณะกรรมกำรของสำำนักงำนสำธำรณสุข
จังหวัดอ่ำงทอง
            2. ควำมพึงพอใจต่อผลกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียน
                ส่งเสริมสุขภำพวัดได้โดย
 ใช้แบบสอบถำมที่ผู้รำยงำนได้สร้ำงขึ้นเองตำมมำตรฐำนของโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภำพ
            ควำมพึงพอใจ หมำยถึง ควำมรู้สึกชอบ เห็นด้วย หรือเจตคติ
            ที่ดีของครู นักเรียนและ
 ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ซึ่งวัด
ได้โดยแบบสอบถำม ที่ผู้รำยงำนได้สร้ำงขึ้นเองตำมมำตรฐำนของ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ซึ่ง
วัดได้โดยแบบสอบถำมที่ผู้รำยงำนได้สร้ำงขึ้นเองตำมมำตรฐำนของ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ
            กำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ หมำย
      ถึง กำรดำำเนินงำนตำม
โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ ตำมที่กรมอนำมัย กระทรวง
สำธำรณสุข ได้กำำหนดองค์ประกอบ 10
ประกำร มีกำรวำงแผนกำรดำำเนินงำนอย่ำงเป็นระบบ มีขั้นตอนกำร
ดำำเนินงำนที่ชัดเจนดังนี้
            1. นโยบำยส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียน หมำยถึง ข้อควำมที่
                กำำหนดทิศทำงสำำหรับกำร
ดำำเนินงำนด้ำนกำรส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์
ประชำนุเครำะห์)
            2. กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน หมำยถึง กำรจัดองค์กรหรือ
      แผนภูมิกำรบริหำรงำนใน
โรงเรียน เพื่อสนับสนุนงำนด้ำนกำรส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
      3. โครงกำรร่วมระหว่ำงโรงเรียนกับชุมชน หมำยถึง โครงกำรหรือ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภำพที่ต้อง
ดำำเนินกำรร่วมระหว่ำงโรงเรียน ผู้ปกครองและสมำชิกในชุมชนของ
โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
            3. กำรจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภำพ หมำยถึง
                กำรจัดกำร กำรควบคุม
ปรับปรุงภำวะต่ำงๆ ของโรงเรียนให้ถูกต้อง เหมำะสม ถูกสุขลักษณะเอื้อ
ต่อกำรเรียนรู้ของโรงเรียน
8
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
             4. บริกำรอนำมัยโรงเรียน หมำยถึง กำรที่โรงเรียนจัดให้มี
                 กำรบริกำรสำธำรณสุข
ขั้นพื้นฐำนสำำหรับนักเรียนทุกคนของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำ
นุเครำะห์)
             6. สุขศึกษำในโรงเรียน หมำยถึง กำรจัดกิจกรรมส่งเสริมกำร
       เรียนรู้ด้ำนสุขศึกษำให้
สอดคล้องตำมหลักสูตรสถำนศึกษำและกิจกรรมพัฒนำนักเรียนของ
โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง
(วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
             7. โภชนำกำรและอำหำรที่ปลอดภัย หมำยถึง กำรส่งเสริมให้
       นักเรียนมีภำวกำรณ์
เจริญเติบโตตำมวัย โดยกำรจัดให้มีอำหำรที่มีคุณค่ำต่อสุขภำพ สะอำด
และปลอดภัยของโรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
             8. กำรออกกำำลังกำย กีฬำและนันทนำกำร หมำยถึง กำรส่ง
       เสริมสนับสนุนให้นักเรียนและ
บุคลำกรในโรงเรียนมีกำรออกกำำลังกำยเพื่อสุขภำพ โดยกำรจัดสถำนที่
อุปกรณ์และกิจกรรมออก
กำำลังกำย พร้อมเปิดโอกำสให้ประชำชนมำใช้สถำนที่และอุปกรณ์ มี
โอกำสได้เข้ำร่วมกิจกรรมตำม
สมควรของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
             9. กำรให้คำำปรึกษำและสนับสนุนทำงสังคม หมำยถึง ระบบ
       บริกำรให้คำำปรึกษำ แนะแนว
และช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหำทำงด้ำนสุขภำพ สุขภำพจิตและภำวะ
เสี่ยง รวมทั้งพฤติกรรมเสี่ยงของ
นักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
             10. กำรส่งเสริมสุขภำพบุคลำกรในโรงเรียน หมำยถึง กำร
       พัฒนำบุคลำกรภำยในโรงเรียน
ให้มีกำรตรวจสุขภำพประจำำปี ทรำบข้อมูลด้ำนสุขภำพ เข้ำร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ
สุขภำพของบุคลำกรในโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์)
(วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) หมำยถึง สถำนศึกษำที่จัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
ตั้งแต่ระดับอนุบำลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 สังกัดสำำนักงำนเขต
พื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำอ่ำงทอง สำำนักงำนคณะกรรมกำร กำร
ศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
9
           ครูผู้สอน หมำยถึง ครูผู้ทำำหน้ำที่ในกำรสอนในโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ในปีกำรศึกษำ 2554
           นักเรียน หมำยถึง นักเรียนของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์
ประชำนุเครำะห์) ที่กำำลังศึกษำ ในปีกำรศึกษำ 2554
           ผู้ปกครองนักเรียน หมำยถึง บิดำ มำรดำ หรือบุคคลที่ดูแล
อุปกำระ นักเรียนใน โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ปีกำร
ศึกษำ 2554

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาWatcharasak Chantong
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานtanongsak
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelSircom Smarnbua
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน Sircom Smarnbua
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561teacherarty
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานKatekyo Sama
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนyana54
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 

La actualidad más candente (20)

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
Sar 2556
Sar 2556Sar 2556
Sar 2556
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการO16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 

Similar a รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้Alisa Samansri
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 

Similar a รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) (20)

บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำำ ควำมเป็น มำและควำมสำำ คัญ ของปัญ หำ ควำมท้ำทำยใหม่ๆ ภำยใต้สังคมแห่งยุคโลกำภิวัตน์ และฐำนควำมรู้ ส่งผลให้เกิดกระแสกำรปฏิรูปกำรศึกษำทั่วทุกภำคของโลก คุณภำพของ ผู้เรียนเป็นประเด็นสำำคัญของกำรอภิปรำยในทุกเวทีกำรศึกษำและ เห็น พ้องในกำรปฏิรูปกำรศึกษำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งด้ำนกำรเรียนกำรสอน กำรพัฒนำกำรศึกษำจะต้องเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำงของกำรพัฒนำทุก มิติอย่ำงเป็นองค์รวม กำรจัดกำรศึกษำต้องคำำนึงถึงกำรพัฒนำพหุปัญญำ ในสิ่งแวดล้อมที่สะท้อนว่ำผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำในวันนี้จะสำมำรถเป็น ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็น นักวัฒนธรรม นักสังคม นักเศรษฐศำสตร์ และนักเทคโนโลยี อันจะทำำให้เขำเหล่ำนั้นเป็นผลผลิตของกำร จัดกำร ศึกษำที่สำมำรถสร้ำงสรรค์ สำมำรถปรับตัวรู้เท่ำทันและตอบสนองต่อสิ่ง ท้ำทำยในอนำคตได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม กระบวนทัศน์ใหม่นี้สถำน ศึกษำจึงเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีภำระควำมรับผิดชอบผลักดันกำรพัฒนำกำร ศึกษำให้ มีคุณภำพ บนพื้นฐำนควำมหลำกหลำย และควำมแตกต่ำง ของปัจเจกบุคคล ตลอดจนสร้ำงกลไกขับเคลื่อน กำรพัฒนำไปข้ำง หน้ำอย่ำงต่อเนื่อง (กระทรวงศึกษำธิกำร. 2545 : ส่วนหน้ำ) พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มำตรำ 6 ที่ว่ำ กำรจัดกำรศึกษำต้องเป็นไปเพื่อ พัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่ำงกำย จิตใจ (หมำยถึงสุขกำย สุขใจ สติปัญญำ ควำมรู้ หมำยถึง เป็นคนเก่ง) และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในกำรดำำรงชีวิต สำมำรถอยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอย่ำงมีควำม สุข (หมำยถึงเป็นคนดีของคนรอบข้ำงและสังคม) และแผนพัฒนำ เศรษฐกิจสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ได้มุ่งเน้นกำร พัฒนำคนเป็นศูนย์กลำงและสร้ำงควำมสมดุลในกำรพัฒนำ อีกทั้งจุดมุ่ง หมำยของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 มุ่งพัฒนำผู้เรียน ทุกคน ซึ่งเป็นกำำลังของชำติให้เป็นมนุษย์ที่มีควำม สมดุลทั้งด้ำนร่ำงกำย ควำมรู้ คุณธรรม มีจิตสำำนึกในควำมเป็นพลเมือง ไทยและเป็นพลโลกยึดมั่นในกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยอันมี พระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีควำมรู้และทักษะพื้นฐำน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำำเป็นต่อกำรศึกษำต่อ กำรประกอบอำชีพและกำรศึกษำตลอด ชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำำคัญบนพื้นฐำนควำมเชื่อว่ำ ทุกคนสำมำรถ เรียนรู้และพัฒนำตนเองได้เต็มตำมศักยภำพซึ่งกำรพัฒนำประเทศให้ เจริญก้ำวหน้ำนั้น ต้องอำศัยองค์ประกอบหลำยประกำรด้วยกัน องค์ ประกอบที่สำำคัญอย่ำงหนึ่ง คือ องค์ประกอบด้ำนกำรศึกษำ เพรำะกำร
  • 2. 2 ศึกษำเป็นกระบวนกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ซึ่งทรัพยำกรมนุษย์จะมี คุณภำพชีวิตที่สมบูรณ์ สำมำรถศึกษำเล่ำเรียนจนสำำเร็จตำมวัตถุประสงค์ โดยมิได้มีกำรเจ็บป่วยจนต้องหยุดพักกำรเรียนนั้นย่อมจะต้องอำศัยกำรมี สุขภำพดีเป็นพื้นฐำน โดยมีนักปรำชญ์ถึงสองท่ำน ได้แก่ Aristotle และ Plato มีควำมคิดเห็นสอดคล้องกันว่ำ “ในกำรที่จะให้กำรศึกษำด้ำนอื่นๆ นั้น สมควรให้เด็กมีสุขภำพดีเสียก่อน” ซึ่งทั้งนี้หมำยควำมว่ำ หำกเด็กมี สุขภำพไม่ดีแล้ว แม้จะได้รับกำรศึกษำอบรมดีวิเศษอย่ำงไร กำรศึกษำ เล่ำเรียนก็ย่อมจะได้ผลไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยหรืออำจจะได้ผลเสียเลยก็ อำจเป็นได้เช่นเดียวกันกับ Pestalozzi Frobel ได้กล่ำวไว้ว่ำ “สิ่งที่เด็ก เรียนรู้ย่อมสัมพันธ์โดยตรงกับระดับสุขภำพ เด็กที่มีสุขภำพไม่ดี แม้จะมี สติปัญญำสูงก็มิอำจใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เท่ำที่ควร” เนื่องจำกควำม สัมพันธ์อย่ำงใกล้ชิดนี้เองจึงกล่ำวได้ว่ำ สุขภำพเป็นบูรณำกำรที่สำำคัญ ส่วนหนึ่งของกำรศึกษำ (มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์. 2541 : 5) กำรพัฒนำคนในควำมจำำเป็นดังกล่ำว จะเห็นได้ว่ำ เด็กวัยเรียนและ เยำวชน ซึ่งปัจจุบันมีจำำนวนประชำกรร้อยละ 27 ของประชำกรทั้งหมด เป็นกลุ่มเป้ำหมำยของกำรพัฒนำที่สำำคัญยิ่งกลุ่มหนึ่ง ดังพระรำชดำำรัส ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในปีเด็กสำกล พุทธศักรำช 2522 “เด็กเป็นผู้ที่รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่ำงจำกผู้ใหญ่ รวมทั้ง ภำระควำมรับผิดชอบในกำรธำำรงรักษำควำมสงบสุขของประชำกรโลก” และในอนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็กขององค์กำรสหประชำชำติ (UN convention on the rights of the child) ซึ่งประเทศไทยลงนำม และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 มีสำระสำำคัญที่มุ่งคุ้มครองสิทธิเด็ก 4 ประกำร คือ สิทธิในกำรอยู่รอด (Survival rights) สิทธิในกำรได้รับ กำรปกป้องคุ้มครอง (Protection rights) สิทธิในกำรพัฒนำ (Development rights) และสิทธิในกำรมีส่วนร่วม (Participation rights) ซึ่งรัฐต้องดำำเนินกำรให้เด็กได้รับกำรคุ้มครองในสิทธิดังกล่ำว ในทุกๆ มิตของกำรพัฒนำ อีกทั้งกำรลงทุนกับเด็กน่ำจะเป็นผลคุ้มค่ำ ิ มำกกว่ำกำรลงทุนใดๆ ทั้งสิ้น เพรำะเด็กที่มีคุณภำพจะนำำไปสู่กำรเป็น ผู้ใหญ่ที่มีคุณภำพ และผู้ใหญ่ที่มีคุณภำพก็ต้องมำจำกวัยเด็กที่ได้รับกำร พัฒนำอย่ำงถูกต้องเหมำะสมเช่นกัน (กรมอนำมัย. 2546 : 2) สภำพสังคมไทยในปัจจุบัน ยังมีปัญหำวิกฤติทำงด้ำนสุขภำพ คือ ภำวะทุพโภชนำกำรและกำรขำดสำรอำหำร ซึ่งมีผลทำำให้เด็กปฐมวัยและ เด็กวัยกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนอยู่ในอัตรำเสี่ยงต่อภำวะทุพโภชนำกำรมำก ถึง 5.3 ล้ำนคน จำกจำำนวน 8 ล้ำนคน หรือร้อยละ 64.5 ภำวะดังกล่ำว มีผลกระทบต่อพัฒนำกำรทำงสมองและกำรเรียนรู้ของเด็กไทย (พนม พงษ์ไพบูลย์และคณะ. 2546 : 307) รัฐมีนโยบำยสร้ำงหลักประกัน สุขภำพถ้วนหน้ำ เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสุขภำพและคุณภำพชีวิตที่ดี
  • 3. 3 โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ นับเป็น กลยุทธ์หนึ่งในกำรช่วย สร้ำงหลักประกันสุขภำพถ้วนหน้ำ โดยมีโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและเป็น ศูนย์กลำงของกำรพัฒนำสุขภำพอนำมัย (กรมอนำมัย. 2546 : คำำนำำ) ซึ่งกรอบแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องกำรพัฒนำส่งเสริมสุขภำพในโรงเรียนได้ เริ่มมำตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ.2521 โดยปฏิญญำ อัลมำอตำ กล่ำวว่ำ โรงเรียน เป็นจุดเริ่มต้นที่สำำคัญที่จะสอนให้เด็กรู้ว่ำมีสุขภำพที่ดีเป็นอย่ำงไรและจะ มีผลต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ได้อย่ำงๆและ นอกจำกนั้นได้มีกำรประชุมระดับนำนำชำติ เมื่อปี พ.ศ.2535 ซึ่ง เป็นกำรประชุม World Health Organization Global Consultation on School Health Education ได้ทบทวนกำรดำำเนิน งำนส่งเสริมสุขศึกษำในโรงเรียนและได้เสนอแนะวิธีกำรส่งเสริมสุขภำพ ในโรงเรียนแบบครบถ้วน เพื่อให้ประเทศต่ำงๆ นำำไปใช้ในกำรดำำเนิน กำรอีกด้วย และเมื่อปี พ.ศ.2538 คณะผู้เชี่ยวชำญองค์กำรอนำมัยโลก ได้ให้ข้อเสนอแนะในกำรดำำเนินงำนส่งเสริมสุขภำพภำยใต้แนวคิดที่ว่ำ ทุกๆ โรงเรียนสำมำรถเป็นจุดเริ่มต้นของกำรส่งเสริมสุขภำพได้ ทั้งใน ส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชน จึงได้เสนอแนะกลวิธี Health Promoting Schools หรือโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพขึ้น Inter Country Consultation on Health Promoting Schools ซึ่งองค์กำรอนำมัย โลกได้จัดขึ้นที่ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวำคม พ.ศ.2543 โดยได้ข้อ เสนอแนะและแนวทำงในกำรดำำเนินงำนโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุข ภำพ ตลอดจนกำรจัดตั้งเครือข่ำยทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภำพ ด้วย ดังนั้นจึงเป็นสถำนที่ที่ดีที่สุดสำำหรับกำรสอนสุขศึกษำ ซึ่งนอกจำก นักเรียนจะได้รับควำมรู้ด้ำนสุขภำพอนำมัยแล้ว ยังต้องมีทักษะในกำร เลือก ตัดสินใจและปฏิบัติในทำงที่ถูกต้องและเอื้อต่อสุขภำพอนำมัยของ ครอบครัวและชุมชนอีกด้วย (วิรัตน์ สอนคำำจันทร์. 2548 : 3) ทำงด้ำน กระทรวงสำธำรณสุข โดยกรมอนำมัยซึ่งเป็นหน่วยงำนหลักที่รับผิดชอบ โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ ได้ร่วมมือกับกระทรวงศึกษำธิกำร กำำหนดนโยบำยกำรดำำเนินกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพเมื่อปี พ.ศ.2541 และทุกจังหวัดได้ให้กำรสนับสนุนอย่ำงต่อเนื่อง ในปี พ.ศ.2543 กรม อนำมัยได้จัดทำำเกณฑ์มำตรฐำนในกำรดำำเนินงำนและในขณะเดียวกัน เมื่อโรงเรียนดำำเนินกำรได้ตำมเกณฑ์กำำหนด สำมำรถติดต่อขอรับกำร ประเมิน เพื่อรับรองกำรเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพจำกคณะกรรมกำร ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพระดับอำำเภอและระดับจังหวัดได้อีกด้วย (กระทรวงสำธำรณสุขและกระทรวงศึกษำธิกำร. 2548 : 3) ซึ่ง สอดคล้องกับพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มำตรำ 6 กำรจัดกำรศึกษำต้องเป็นไป เพื่อพัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ
  • 4. 4 ควำมรู้คู่คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในกำรดำำรงชีวิต สำมำรถอยู่ ร่วมกันได้อย่ำงมีควำมสุข (สำำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมิน คุณภำพกำรศึกษำ. 2547 : 5) กำรพัฒนำเด็กและเยำวชน จึงอยู่ในกระบวนกำรจัดกำรศึกษำและ กำรสร้ำงสุขภำพ จุดเริ่มต้นจึงจำำเป็นต้องมุ่งไปที่กำรเพิ่มประสิทธิภำพ ของสถำบันกำรศึกษำให้เป็นแกนนำำหรือศูนย์กลำงกำรสร้ำงสุขภำพ พร้อมๆ กับกำรพัฒนำด้ำนกำรศึกษำ ภำยใต้ควำมร่วมมือจำกทุกฝ่ำยที่ เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ครอบครัวของเด็ก โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้อง ถิ่น ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นสถำบันพื้นฐำนทำงสังคมที่มีควำมสำำคัญยิ่งของ กำรพัฒนำ กำรประสำนประโยชน์ที่เอื้อต่อกำรจัดกำรพัฒนำเด็ก เพื่อนำำ ไปสู่กำรพัฒนำโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพของชุมชน (กรม อนำมัย. 2546 : 5) แนวคิดของกำรดำำเนินงำนโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ มีจุดมุ่งหมำย เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีสุขภำพดี ทั้งนี้โดยมีองค์ประกอบต่ำงๆ ของ โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ ที่มุ่งจัดกำรสิ่งแวดล้อมให้โรงเรียนเอื้อต่อกำรมี สุขภำพ มุ่งสร้ำงพฤติกรรมสุขภำพที่เหมำะสมและให้บริกำรสุขภำพขั้น พื้นฐำนในเรื่องต่ำงๆ ที่จำำเป็น (กรมอนำมัย. 2549 : 1) กรมอนำมัย (2549 : 2) ได้สรุปปัญหำในกำรดำำเนินกำรโครงกำร โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพไว้ว่ำ ปัญหำสุขภำพของนักเรียนบำงประกำรยัง คงอยู่ โดยเฉพำะปัญหำทันตสุขภำพ ซึ่งเป็นปัญหำใหญ่ในเด็กวัยเรียน กล่ำวคือ มีนักเรียนอำยุ 12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่ฟันแท้ขึ้นครบ 28 ซี่ มีอัตรำ โรคฟันผุสูงถึงร้อยละ 57.30 เด็กกลุ่ม อำยุ 5 – 18 ปี มีโรงฟันผุร้อย ละ 62.10 นอกจำกนี้ปัญหำป่วยเป็นโรคอำหำรเป็นพิษจำำนวน 31,583 รำย คิดเป็นร้อยละ 20.14 ของผู้ป่วยที่เข้ำรักษำในโรงพยำบำล ทั้งหมดและเกิดเหตุกำรณ์อำหำรเป็นพิษหมู่ในโรงเรียน 5 แห่ง เนื่องจำก บริโภคอำหำรที่มีกำรปนเปื้อนเชื้อโรค และผลกำรสำำรวจคุณภำพนำ้ำดื่ม ในโรงเรียน พบว่ำนำ้ำดื่มในโรงเรียนร้อยละ 63.30 ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ ปลอดภัย อีกปัญหำหนึ่งที่พบในโรงเรียน ซึ่งสะท้อนถึงสุขภำพอนำมัย พื้นฐำนของเด็กวัยเรียนนั่นคือ เรื่องห้องส้วม จำกผลกำรศึกษำพบว่ำ ส้วมในโรงเรียนระดับประถมศึกษำ ร้อยละ 66.70 และระดับมัธยมศึกษำ ร้อยละ 50.00 มีปัญหำเรื่องกลิ่นเหม็นและโรงเรียนส่วนใหญ่ส้วมไม่พอ เพียง และไม่มีอ่ำงล้ำงมือบริเวณห้องส้วม โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) เป็นหน่วยงำน ทำงกำรศึกษำในท้องถิ่น ที่มีบทบำทหน้ำที่ในกำรพัฒนำคนให้มีคุณภำพ ตำมพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พุทธศักรำช 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักรำช 2545 และมำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ ได้ตระหนักเห็นควำมสำำคัญเรื่องสุขภำพอนำมัยของนักเรียน ซึ่งเป็น
  • 5. 5 ปัจจัยสำำคัญที่ทำำให้นักเรียนเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ จึงทำำกำรตรวจ สุขภำพอนำมัยและภำวะโภชนำกำรของนักเรียนในปีกำรศึกษำ 2553 (โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง. 2554 : 1) พบว่ำ จำกนักเรียนทั้งสิ้น จำำนวน 68 คน มีนำ้ำหนักตำ่ำกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 4.85 มีส่วนสูงตำ่ำกว่ำเกณฑ์ ร้อยละ 5.33 มีทั้งนำ้ำหนักและส่วนสูงตำ่ำกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 3.48 มีภำวะ โภชนำกำรตำ่ำกว่ำเกณฑ์ ร้อยละ 3.64 เป็นโรคฟันผุ ร้อยละ 7.42 และยังสำำรวจควำมพึงพอใจของครูและนักเรียนเรื่องควำมสะอำดของ ส้วมในโรงเรียน พบว่ำ ทุกฝ่ำย มีควำมเห็นว่ำส้วมมีกลิ่นเหม็น ไม่ สะอำด อ่ำงล้ำงมือมีไม่พอเพียงกับจำำนวนนักเรียน จำกสภำพปัญหำดังกล่ำว โรงเรียนจึงได้จัดทำำโครงกำรโรงเรียนส่ง เสริมสุขภำพขึ้น เพื่อให้นักเรียนมีสุขภำพอนำมัยที่ดี มีพฤติกรรมในเรื่อง กำรบริโภคอำหำรที่สะอำดปลอดภัย กำรดูแลสุขภำพช่องปำก ใช้ส้วม ที่ สะอำดและรู้จักกำรรักษำควำมสะอำดส้วม และพฤติกรรมกำรล้ำงมือให้ สะอำดหลังเข้ำส้วม มีสิ่งแวดล้อม ที่เอือต่อกำรพัฒนำสุขภำพ รักกำร ้ ออกกำำลังกำย กำรดำำเนินงำนตำมกิจกรรมดังกล่ำว มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ มีส่วนร่วมมำกที่สุด โดยใช้ชมรมของนักเรียนเป็นตัวขับเคลื่อนกำร ดำำเนินงำนตำมกิจกรรม จำกกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพดังกล่ำว ได้ ดำำเนินกำรสิ้นสุดแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงกำร ต้องกำรทรำบผลกำรดำำเนิน งำนตำมโครงกำรทั้งด้ำนผลสำำเร็จและควำมพึงพอใจของผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องว่ำมีมำกน้อยเพียงใด อย่ำงไร จึงดำำเนินกำรประเมินผลกำร ดำำเนินงำนตำมโครงกำรดังกล่ำวโดยใช้วิธีกำรประเมินโครงกำรตำมรูป แบบที่ยึดจุดมุ่งหมำยเป็นหลัก (Global Attainment Model or Objective) ที่เน้นวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมำยของโครงกำรเป็น หลักในกำรประเมิน วัต ถุป ระสงค์ข องกำรรำยงำน 1. เพื่อศึกษำผลสำำเร็จของกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำร โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 2. เพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครอง นักเรียนต่อผลกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ขอบเขตของกำรรำยงำน รำยงำนผลครั้งนี้ ผู้รำยงำนกำำหนดขอบเขตกำรรำยงำน ดังนี้ 1. ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ
  • 6. 6 กำรรำยงำนครั้งนี้ ผู้รำยงำนศึกษำผลสำำเร็จและควำม พึงพอใจต่อผลกำรดำำเนินงำน ตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ ประชำนุเครำะห์) ตำมองค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ 10 ประกำร (กรมอนำมัย. 2546 : 20) ดังนี้ 1.นโยบำยส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียน 2.กำรบริหำรจัดกำรในโรงเรียน 3.โครงกำรร่วมระหว่ำงโรงเรียนกับชุมชน 4.กำรจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภำพ 5.บริกำรอนำมัยโรงเรียน 6.สุขศึกษำในโรงเรียน 7.โภชนำกำรและอำหำรที่ปลอดภัย 8.กำรออกกำำลังกำย กีฬำและนันทนำกำร 9.กำรให้คำำปรึกษำและสนับสนุนทำงสังคม 10.กำรส่งเสริมสุขภำพบุคลำกรในโรงเรียน 2. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 2.1 ประชำกรในกำรศึกษำครั้งนี้ ได้แก่ ครูจำำนวน 6 คน นักเรียนจำำนวน 61 คน ผู้ปกครองนักเรียนจำำนวน 61 คน ของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ ประชำนุเครำะห์) ปีกำรศึกษำ 2554 2.2 กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำได้จำกกำร กำำหนดขนำดของกลุ่มตัวอย่ำงโดยใช้แบบเลือกเจำะจง (ยุทธพงษ์ กัย วรรณ.2543 : 78) ได้จำำนวนกลุ่มตัวอย่ำง ดังนี้ ครู จำำนวน 6 คน นักเรียน จำำนวน 61 คน และผู้ปกครองนักเรียน จำำนวน 61 คน นิย ำมศัพ ท์เ ฉพำะ กำรประเมินโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ผู้รำยงำนได้นิยำมศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ กำรประเมินโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) หมำยถึง กำรดำำเนินกำรวัดและประเมินผลกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำร โรงเรียนส่งเสริม สุขภำพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ในปี กำรศึกษำ 2554 ตำมรูปแบบที่ ยึดจุดมุ่งหมำยเป็นหลักในกำรประเมินด้ำนผลสำำเร็จในกำรดำำเนินกำร และควำมพึงพอใจของครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนซึ่งวัดได้ดังนี้
  • 7. 7 1. ผลสำำเร็จของโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพวัดได้จำก ผลกำรประเมินของคณะ กรรมกำรประ เมินโครงกำรจำกคณะกรรมกำรของสำำนักงำนสำธำรณสุข จังหวัดอ่ำงทอง 2. ควำมพึงพอใจต่อผลกำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียน ส่งเสริมสุขภำพวัดได้โดย ใช้แบบสอบถำมที่ผู้รำยงำนได้สร้ำงขึ้นเองตำมมำตรฐำนของโรงเรียน ส่งเสริมสุขภำพ ควำมพึงพอใจ หมำยถึง ควำมรู้สึกชอบ เห็นด้วย หรือเจตคติ ที่ดีของครู นักเรียนและ ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ซึ่งวัด ได้โดยแบบสอบถำม ที่ผู้รำยงำนได้สร้ำงขึ้นเองตำมมำตรฐำนของ โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ซึ่ง วัดได้โดยแบบสอบถำมที่ผู้รำยงำนได้สร้ำงขึ้นเองตำมมำตรฐำนของ โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ กำรดำำเนินงำนตำมโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ หมำย ถึง กำรดำำเนินงำนตำม โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ ตำมที่กรมอนำมัย กระทรวง สำธำรณสุข ได้กำำหนดองค์ประกอบ 10 ประกำร มีกำรวำงแผนกำรดำำเนินงำนอย่ำงเป็นระบบ มีขั้นตอนกำร ดำำเนินงำนที่ชัดเจนดังนี้ 1. นโยบำยส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียน หมำยถึง ข้อควำมที่ กำำหนดทิศทำงสำำหรับกำร ดำำเนินงำนด้ำนกำรส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ ประชำนุเครำะห์) 2. กำรบริหำรจัดกำรโรงเรียน หมำยถึง กำรจัดองค์กรหรือ แผนภูมิกำรบริหำรงำนใน โรงเรียน เพื่อสนับสนุนงำนด้ำนกำรส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 3. โครงกำรร่วมระหว่ำงโรงเรียนกับชุมชน หมำยถึง โครงกำรหรือ กิจกรรมส่งเสริมสุขภำพที่ต้อง ดำำเนินกำรร่วมระหว่ำงโรงเรียน ผู้ปกครองและสมำชิกในชุมชนของ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 3. กำรจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภำพ หมำยถึง กำรจัดกำร กำรควบคุม ปรับปรุงภำวะต่ำงๆ ของโรงเรียนให้ถูกต้อง เหมำะสม ถูกสุขลักษณะเอื้อ ต่อกำรเรียนรู้ของโรงเรียน
  • 8. 8 วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 4. บริกำรอนำมัยโรงเรียน หมำยถึง กำรที่โรงเรียนจัดให้มี กำรบริกำรสำธำรณสุข ขั้นพื้นฐำนสำำหรับนักเรียนทุกคนของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำ นุเครำะห์) 6. สุขศึกษำในโรงเรียน หมำยถึง กำรจัดกิจกรรมส่งเสริมกำร เรียนรู้ด้ำนสุขศึกษำให้ สอดคล้องตำมหลักสูตรสถำนศึกษำและกิจกรรมพัฒนำนักเรียนของ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 7. โภชนำกำรและอำหำรที่ปลอดภัย หมำยถึง กำรส่งเสริมให้ นักเรียนมีภำวกำรณ์ เจริญเติบโตตำมวัย โดยกำรจัดให้มีอำหำรที่มีคุณค่ำต่อสุขภำพ สะอำด และปลอดภัยของโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 8. กำรออกกำำลังกำย กีฬำและนันทนำกำร หมำยถึง กำรส่ง เสริมสนับสนุนให้นักเรียนและ บุคลำกรในโรงเรียนมีกำรออกกำำลังกำยเพื่อสุขภำพ โดยกำรจัดสถำนที่ อุปกรณ์และกิจกรรมออก กำำลังกำย พร้อมเปิดโอกำสให้ประชำชนมำใช้สถำนที่และอุปกรณ์ มี โอกำสได้เข้ำร่วมกิจกรรมตำม สมควรของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 9. กำรให้คำำปรึกษำและสนับสนุนทำงสังคม หมำยถึง ระบบ บริกำรให้คำำปรึกษำ แนะแนว และช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหำทำงด้ำนสุขภำพ สุขภำพจิตและภำวะ เสี่ยง รวมทั้งพฤติกรรมเสี่ยงของ นักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) 10. กำรส่งเสริมสุขภำพบุคลำกรในโรงเรียน หมำยถึง กำร พัฒนำบุคลำกรภำยในโรงเรียน ให้มีกำรตรวจสุขภำพประจำำปี ทรำบข้อมูลด้ำนสุขภำพ เข้ำร่วมกิจกรรม ส่งเสริมสุขภำพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ สุขภำพของบุคลำกรในโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) หมำยถึง สถำนศึกษำที่จัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตั้งแต่ระดับอนุบำลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 สังกัดสำำนักงำนเขต พื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำอ่ำงทอง สำำนักงำนคณะกรรมกำร กำร ศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
  • 9. 9 ครูผู้สอน หมำยถึง ครูผู้ทำำหน้ำที่ในกำรสอนในโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ในปีกำรศึกษำ 2554 นักเรียน หมำยถึง นักเรียนของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ ประชำนุเครำะห์) ที่กำำลังศึกษำ ในปีกำรศึกษำ 2554 ผู้ปกครองนักเรียน หมำยถึง บิดำ มำรดำ หรือบุคคลที่ดูแล อุปกำระ นักเรียนใน โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชำนุเครำะห์) ปีกำร ศึกษำ 2554