SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
การเรีย นรู้โ ดยการสัง เกตหรือ
          เลีย นแบบ


       ศาสตราจารย์บ น ดูร า
                    ั
ประวัต ิโ ดยสัง เขป
• ของอัล เบิร ์ต บัน ดูร า (Albert Bandura)
          » นักจิตวิทยาชาวอเมริกันที่ให้ความสนใจงานที่
            เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
          » อัลเบิร์ต แบนดูราเกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศ
            แคนาดา
          » ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต จาก
            มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย และได้รับปริญญา
            ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
            ทางจิตวิทยาคลินิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา
          » ทำางานภาควิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟ
            อร์ด
การทดลอง
• การทดลองอันแรกโดย บันดูรา ร็อส และร็อส
  (Bandural, Ross&Roos, 1961) เป็นการ
  แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวโดยการสังเกต บันดูรา
  และผูร่วมงานได้แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม
       ้
  หนึงให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชวิต แสดง
     ่                                ี
  พฤติกรรมก้าวร้าว เด็กกลุ่มที่สองมีตัวแบบที่ไม่
  แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และเด็กกลุ่มที่สามไม่มี
  ตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
• ในกลุ่มมีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว การ
  ทดลองเริ่มด้วยเด็กและตัวแบบเล่นตุ๊กตา
  (Tinker Toys) สักครู่หนึ่งประมาณ 1 – 10
  นาที ตัวแบบลุกขึ้นต่อย เตะ ทุบ ตุ๊กตาที่ทำาด้วย
  ยางแล้วเป่าลม ฉะนันตุ๊กตาจึงทนการเตะต่อย
                        ้
  หรือแม้ว่าจะนั่งทับหรือยืนก็ไม่แตก สำาหรับเด็ก
  กลุ่มที่สอง เด็กเล่นตุ๊กตาใกล้ ๆ กับตัวแบบ แต่
  ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวให้ดูเป็น
  ตัวอย่าง เด็กกลุ่มที่สามเล่นตุ๊กตาโดยไม่มีตัว
  แบบ
• หลังจากเล่นตุ๊กตาแล้วแม้ผทดลองพาเด็กไปดู
                                ู้
  ห้องที่มีตุ๊กตาที่น่าเล่นมากกว่า แต่บอกว่าห้าม
  จับตุ๊กตา เพื่อจะให้เด็กรู้สกคับข้องใจ เสร็จแล้ว
                              ึ
  นำาเด็กไปอีกห้องหนึ่งทีละคน ซึ่งมีตุ๊กตาหลาย
  ชนิดวางอยู่และมีตุ๊กตายางที่เหมือนกับตุ๊กตาที่
  ตัวแบบเตะต่อยและทุบรวมอยู่ด้วย
ผลการทดลอง
• พบว่า เด็กที่อยู่ในกลุ่มที่มีตัวแบบแสดง
  พฤติกรรมก้าวร้าวจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
  เตะต่อยทุบ รวมทั้งนั่งทับตุ๊กตายางเหมือนกับที่
  สังเกตจากตัวแบบแสดงและค่าเฉลี่ย (Mean)
  ของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงโดยเด็กกลุ่มนี้
  ทั้งหมดสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมก้าวร้าว
  ของเด็กกลุ่มที่สองและกลุ่มที่สาม
การทดลองที่สอง

• วิธีการทดลองเหมือนกับการทดลองที่หนึงแต่ใช้
                                          ่
  ภาพยนตร์แทนของจริง โดยกลุ่มหนึ่งดู
  ภาพยนตร์ที่ตัวแบบ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว อีก
  กลุ่มหนึ่งดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดง
  พฤติกรรมก้าวร้าว ผลของการทดลองที่ได้
  เหมือนกับการทดลองที่หนึ่ง คือ เด็กที่ดู
  ภาพยนตร์ที่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
  จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าเด็กที่อยู่ใน
  กลุ่มที่ดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมที่
  ก้าวร้าว
การทดลอง
• บันดูรา และเม็นลอฟได้ศึกษาเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งมี
  ความกลัวสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข จนกระทั่ง
  พยายามหลีกเลี่ยงหรือไม่มปฏิสัมพันธ์กับสัตว์
                             ี
  เลี้ยง บันดูราและเม็นลอฟได้ให้เด็กกลุ่มหนึ่งที่มี
  ความกลัวสุนัขได้สงเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข
                     ั
  และสามารถจะเล่นกับสุนัขได้อย่างสนุก โดยเริ่ม
  จากการค่อย ๆ ให้ตัวแบบเล่น แตะ และพูดกับ
  สุนัขที่อยู่ในกรงจนกระทั่งในที่สุดตัวแบบเข้าไป
  อยู่ในกรงสุนัข
ผลของการทดลอง
• ปรากฏว่าหลังจากสังเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข
  เด็กจะกล้าเล่นกับสุนัขโดยไม่กลัว หรือ
  พฤติกรรมของเด็กที่กล้าที่จะเล่นกับสุนัขเพิ่มขึ้น
  และพฤติกรรมที่แสดงว่ากลัวสุนัขจะลดน้อยไป
สาระสำาคัญ
• แนวคิดพืนฐาน
            ้
• 1. บันดูรามีทศนะว่า พฤติกรรม (behavior หรือ B)
                ั
  ของมนุษย์มปฏิสัมพันธ์กับปัจจัยหลักอีก 2 ปัจจัย คือ
              ี
  1) ปัจจัยทางปัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ
  ( Personal Factor )
  2) อิทธิพลของสภาพ แวดล้อม ( Environmental
  Influences )
• 2. บันดูราได้ให้ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้
  (Learning) กับการกระทำา(Performance)ซึ่งสำาคัญ
  มาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่
  จำาเป็นต้องแสดงออกทุกอย่าง เช่นเราอาจจะเรียนรู้วิธี
  การ ทุจริตในการสอบว่าต้องทำาอย่างไรบ้าง แต่ถึง
  เวลาสอบจริงเราอาจจะไม่ทจริตก็ได้ หรือเราเรียนรู้
                            ุ
  ว่าการพูดจาและแสดงกริยาอ่อนหวาน กับพ่อ แม่เป็น
• 3. บันดูราเชือว่าการเรียนรู้ของมนุษย์สวนมาก
                ่                        ่
  เป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational
  Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ
  (Modeling) สำาหรับตัวแบบไม่จำาเป็นต้องเป็น
  ตัวแบบที่มีชวิตเท่านั้น แต่อาจจะ เป็นตัวแบบ
              ี
  สัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์
  ภาพยนตร์ เกมส์คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็น
  รูปภาพ การ์ตูน หนังสือ นอกจากนี้ คำาบอกเล่า
  ด้วยคำาพูดหรือข้อมูลที่เขียนเป็นลายลักษณ์-
  อักษรก็เป็นตัวแบบได้
• บันดูรา (Bandura, 1977) ได้อธิบายกระบวนการที่
  สำาคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเรียนรู้โดย
  ตัวแบบว่ามีทงหมด 4 อย่างคือ
               ั้
  1. ผู้เรียนจะต้องมีความใส่ใจ (Attention) ทีจะสังเกต
                                                 ่
  ตัวแบบ ไม่ว่าเป็นการแสดงโดยตัวแบบจริงหรือตัวแบบ
  สัญลักษณ์ ถ้าเป็นการอธิบายด้วยคำาพูดผู้เรียนก็ต้อง
  ตั้งใจฟังและถ้าจะต้องอ่านคำาอธิบายก็จะต้องมีความ
  ตั้งใจทีจะอ่าน
           ่
• 2. ผู้เรียนจะต้องเข้ารหัสหรือบันทึกสิ่งทีสังเกตหรือสิ่งที่
                                           ่
  รับรู้ไว้ในความจำาระยะยาว
• 3. ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว
  แบบ และควรจะทำาซำ้าเพื่อจะให้จำาได้
• 4. ผู้เรียนจะต้องรู้จักประเมินพฤติกรรมของตนเองโดย
  ใช้เกณฑ์ (Criteria) ทีตั้งขึ้นด้วยตนเองหรือโดย
                           ่
สรุป
• การเรียนรู้พฤติกรรมสำาคัญต่าง ๆ ทังที่เสริมสร้างสังคม
                                      ้
  (Prosocial Behavior) และพฤติกรรมทีเป็นภัยต่อ
                                            ่
  สังคม (Antisocial Behavior) ได้เน้นความสำาคัญ
  ของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัว
  แบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทงตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพือน
                         ั้                          ่
  หรือจากภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน หรือจากการอ่าน
  จากหนังสือได้ การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย
  2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการ
  ทางพุทธิปัญญา และขั้นการกระทำา ตัวแบบทีมอิทธิพล
                                               ่ ี
  ต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทงตัวแบบในชีวิตจริงและตัว
                              ั้
  แบบทีเป็นสัญญลักษณ์ เพราะฉะนันพฤติกรรมของ
         ่                          ้
  ผู้ใหญ่ในครอบครัว โรงเรียน สถาบันการศึกษา และ
การประยุกต์ใช้
• 1. ตั้งวัตถุประสงค์ทจะทำาให้นกเรียนแสดงพฤติกรรม
                        ี่     ั
  หรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม
  2. ผู้สอนแสดงตัวอย่างของการกระทำาหลายๆตัวอย่าง
  ซึงอาจจะเป็น คน การ์ตูน ภาพยนตร์ วิดีโอ โทรทัศน์
    ่
  และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
  3. ผู้สอนให้คำาอธิบายควบคู่ไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละ
  ครั้ง
  4. ชี้แนะขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน
  เช่น แนะให้นักเรียนสนใจสิ่งเร้าที่ควรจะใส่ใจหรือ
  เลือกใส่ใจ
  5.จัดให้นักเรียนมีโอกาสทีจะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว
                            ่
  แบบ เพือจะได้ดว่านักเรียนสามารถที่จะกระทำาโดยการ
            ่       ู
  เลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทำาได้ไม่ถูกต้องอาจจะ
  ต้องแก้ไขวิธีการสอนหรืออาจจะแก้ไขทีตัวผู้เรียนเอง
                                         ่
  6.ให้แรงเสริมแก่นกเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถก
                      ั                          ู
ตัวอย่าง
• การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบก็แสดงให้เห็นว่า
  การลงโทษหรือการเสริมแรงสามารถส่งผลต่อ
  สถานการณ์ของการเลียนแบบ เด็กจะพร้อม
  เลียนแบบผูที่ได้รับรางวัลมากกว่าผูที่ถูกลงโทษ
               ้                       ้
  ดังนั้น เด็กเรียนรู้ได้โดยที่ตนเองไม่ต้องได้รับ
  รางวัลหรือการลงโทษ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestkrupornpana55
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 

La actualidad más candente (20)

เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 

Destacado

ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมSiririn Noiphang
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กya035
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราhoossanee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์suraidabungasayu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
เบนดูรา
เบนดูราเบนดูรา
เบนดูราsanniah029
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลimmyberry
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 

Destacado (20)

ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ความก้าวร้าว_จิตวิทยา
ความก้าวร้าว_จิตวิทยาความก้าวร้าว_จิตวิทยา
ความก้าวร้าว_จิตวิทยา
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ความกลัว
 ความกลัว ความกลัว
ความกลัว
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
เบนดูรา
เบนดูราเบนดูรา
เบนดูรา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 

Similar a ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต

จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
เบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จเบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จsaleehah053
 
เบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จเบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จmakusoh026
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 

Similar a ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต (20)

จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
เบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จเบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จ
 
เบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จเบนด รา 2 เสร จ
เบนด รา 2 เสร จ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 

ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต

  • 1. การเรีย นรู้โ ดยการสัง เกตหรือ เลีย นแบบ ศาสตราจารย์บ น ดูร า ั
  • 2. ประวัต ิโ ดยสัง เขป • ของอัล เบิร ์ต บัน ดูร า (Albert Bandura) » นักจิตวิทยาชาวอเมริกันที่ให้ความสนใจงานที่ เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม » อัลเบิร์ต แบนดูราเกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศ แคนาดา » ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย และได้รับปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ทางจิตวิทยาคลินิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา » ทำางานภาควิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟ อร์ด
  • 3. การทดลอง • การทดลองอันแรกโดย บันดูรา ร็อส และร็อส (Bandural, Ross&Roos, 1961) เป็นการ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวโดยการสังเกต บันดูรา และผูร่วมงานได้แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม ้ หนึงให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชวิต แสดง ่ ี พฤติกรรมก้าวร้าว เด็กกลุ่มที่สองมีตัวแบบที่ไม่ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และเด็กกลุ่มที่สามไม่มี ตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
  • 4. • ในกลุ่มมีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว การ ทดลองเริ่มด้วยเด็กและตัวแบบเล่นตุ๊กตา (Tinker Toys) สักครู่หนึ่งประมาณ 1 – 10 นาที ตัวแบบลุกขึ้นต่อย เตะ ทุบ ตุ๊กตาที่ทำาด้วย ยางแล้วเป่าลม ฉะนันตุ๊กตาจึงทนการเตะต่อย ้ หรือแม้ว่าจะนั่งทับหรือยืนก็ไม่แตก สำาหรับเด็ก กลุ่มที่สอง เด็กเล่นตุ๊กตาใกล้ ๆ กับตัวแบบ แต่ ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวให้ดูเป็น ตัวอย่าง เด็กกลุ่มที่สามเล่นตุ๊กตาโดยไม่มีตัว แบบ
  • 5. • หลังจากเล่นตุ๊กตาแล้วแม้ผทดลองพาเด็กไปดู ู้ ห้องที่มีตุ๊กตาที่น่าเล่นมากกว่า แต่บอกว่าห้าม จับตุ๊กตา เพื่อจะให้เด็กรู้สกคับข้องใจ เสร็จแล้ว ึ นำาเด็กไปอีกห้องหนึ่งทีละคน ซึ่งมีตุ๊กตาหลาย ชนิดวางอยู่และมีตุ๊กตายางที่เหมือนกับตุ๊กตาที่ ตัวแบบเตะต่อยและทุบรวมอยู่ด้วย
  • 6. ผลการทดลอง • พบว่า เด็กที่อยู่ในกลุ่มที่มีตัวแบบแสดง พฤติกรรมก้าวร้าวจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว เตะต่อยทุบ รวมทั้งนั่งทับตุ๊กตายางเหมือนกับที่ สังเกตจากตัวแบบแสดงและค่าเฉลี่ย (Mean) ของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงโดยเด็กกลุ่มนี้ ทั้งหมดสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กกลุ่มที่สองและกลุ่มที่สาม
  • 7. การทดลองที่สอง • วิธีการทดลองเหมือนกับการทดลองที่หนึงแต่ใช้ ่ ภาพยนตร์แทนของจริง โดยกลุ่มหนึ่งดู ภาพยนตร์ที่ตัวแบบ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว อีก กลุ่มหนึ่งดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดง พฤติกรรมก้าวร้าว ผลของการทดลองที่ได้ เหมือนกับการทดลองที่หนึ่ง คือ เด็กที่ดู ภาพยนตร์ที่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าเด็กที่อยู่ใน กลุ่มที่ดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมที่ ก้าวร้าว
  • 8. การทดลอง • บันดูรา และเม็นลอฟได้ศึกษาเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งมี ความกลัวสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข จนกระทั่ง พยายามหลีกเลี่ยงหรือไม่มปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ ี เลี้ยง บันดูราและเม็นลอฟได้ให้เด็กกลุ่มหนึ่งที่มี ความกลัวสุนัขได้สงเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข ั และสามารถจะเล่นกับสุนัขได้อย่างสนุก โดยเริ่ม จากการค่อย ๆ ให้ตัวแบบเล่น แตะ และพูดกับ สุนัขที่อยู่ในกรงจนกระทั่งในที่สุดตัวแบบเข้าไป อยู่ในกรงสุนัข
  • 9. ผลของการทดลอง • ปรากฏว่าหลังจากสังเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข เด็กจะกล้าเล่นกับสุนัขโดยไม่กลัว หรือ พฤติกรรมของเด็กที่กล้าที่จะเล่นกับสุนัขเพิ่มขึ้น และพฤติกรรมที่แสดงว่ากลัวสุนัขจะลดน้อยไป
  • 10. สาระสำาคัญ • แนวคิดพืนฐาน ้ • 1. บันดูรามีทศนะว่า พฤติกรรม (behavior หรือ B) ั ของมนุษย์มปฏิสัมพันธ์กับปัจจัยหลักอีก 2 ปัจจัย คือ ี 1) ปัจจัยทางปัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ( Personal Factor ) 2) อิทธิพลของสภาพ แวดล้อม ( Environmental Influences ) • 2. บันดูราได้ให้ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้ (Learning) กับการกระทำา(Performance)ซึ่งสำาคัญ มาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่ จำาเป็นต้องแสดงออกทุกอย่าง เช่นเราอาจจะเรียนรู้วิธี การ ทุจริตในการสอบว่าต้องทำาอย่างไรบ้าง แต่ถึง เวลาสอบจริงเราอาจจะไม่ทจริตก็ได้ หรือเราเรียนรู้ ุ ว่าการพูดจาและแสดงกริยาอ่อนหวาน กับพ่อ แม่เป็น
  • 11. • 3. บันดูราเชือว่าการเรียนรู้ของมนุษย์สวนมาก ่ ่ เป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ (Modeling) สำาหรับตัวแบบไม่จำาเป็นต้องเป็น ตัวแบบที่มีชวิตเท่านั้น แต่อาจจะ เป็นตัวแบบ ี สัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกมส์คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็น รูปภาพ การ์ตูน หนังสือ นอกจากนี้ คำาบอกเล่า ด้วยคำาพูดหรือข้อมูลที่เขียนเป็นลายลักษณ์- อักษรก็เป็นตัวแบบได้
  • 12. • บันดูรา (Bandura, 1977) ได้อธิบายกระบวนการที่ สำาคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเรียนรู้โดย ตัวแบบว่ามีทงหมด 4 อย่างคือ ั้ 1. ผู้เรียนจะต้องมีความใส่ใจ (Attention) ทีจะสังเกต ่ ตัวแบบ ไม่ว่าเป็นการแสดงโดยตัวแบบจริงหรือตัวแบบ สัญลักษณ์ ถ้าเป็นการอธิบายด้วยคำาพูดผู้เรียนก็ต้อง ตั้งใจฟังและถ้าจะต้องอ่านคำาอธิบายก็จะต้องมีความ ตั้งใจทีจะอ่าน ่ • 2. ผู้เรียนจะต้องเข้ารหัสหรือบันทึกสิ่งทีสังเกตหรือสิ่งที่ ่ รับรู้ไว้ในความจำาระยะยาว • 3. ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว แบบ และควรจะทำาซำ้าเพื่อจะให้จำาได้ • 4. ผู้เรียนจะต้องรู้จักประเมินพฤติกรรมของตนเองโดย ใช้เกณฑ์ (Criteria) ทีตั้งขึ้นด้วยตนเองหรือโดย ่
  • 13. สรุป • การเรียนรู้พฤติกรรมสำาคัญต่าง ๆ ทังที่เสริมสร้างสังคม ้ (Prosocial Behavior) และพฤติกรรมทีเป็นภัยต่อ ่ สังคม (Antisocial Behavior) ได้เน้นความสำาคัญ ของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัว แบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทงตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพือน ั้ ่ หรือจากภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน หรือจากการอ่าน จากหนังสือได้ การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย 2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการ ทางพุทธิปัญญา และขั้นการกระทำา ตัวแบบทีมอิทธิพล ่ ี ต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทงตัวแบบในชีวิตจริงและตัว ั้ แบบทีเป็นสัญญลักษณ์ เพราะฉะนันพฤติกรรมของ ่ ้ ผู้ใหญ่ในครอบครัว โรงเรียน สถาบันการศึกษา และ
  • 14. การประยุกต์ใช้ • 1. ตั้งวัตถุประสงค์ทจะทำาให้นกเรียนแสดงพฤติกรรม ี่ ั หรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม 2. ผู้สอนแสดงตัวอย่างของการกระทำาหลายๆตัวอย่าง ซึงอาจจะเป็น คน การ์ตูน ภาพยนตร์ วิดีโอ โทรทัศน์ ่ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ 3. ผู้สอนให้คำาอธิบายควบคู่ไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละ ครั้ง 4. ชี้แนะขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน เช่น แนะให้นักเรียนสนใจสิ่งเร้าที่ควรจะใส่ใจหรือ เลือกใส่ใจ 5.จัดให้นักเรียนมีโอกาสทีจะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว ่ แบบ เพือจะได้ดว่านักเรียนสามารถที่จะกระทำาโดยการ ่ ู เลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทำาได้ไม่ถูกต้องอาจจะ ต้องแก้ไขวิธีการสอนหรืออาจจะแก้ไขทีตัวผู้เรียนเอง ่ 6.ให้แรงเสริมแก่นกเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถก ั ู
  • 15. ตัวอย่าง • การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบก็แสดงให้เห็นว่า การลงโทษหรือการเสริมแรงสามารถส่งผลต่อ สถานการณ์ของการเลียนแบบ เด็กจะพร้อม เลียนแบบผูที่ได้รับรางวัลมากกว่าผูที่ถูกลงโทษ ้ ้ ดังนั้น เด็กเรียนรู้ได้โดยที่ตนเองไม่ต้องได้รับ รางวัลหรือการลงโทษ