SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 154
Descargar para leer sin conexión
12-3,7 เมษายน 2558
Innovation Journey
การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ด้วยกระบวนการคิดและแก้ปัญหา
22-3,7 เมษายน 2558
Day#1 ทฤษฎี ปรัชญาแนวคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
Day#2 กระบวนการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมและตัดสินใจ
Day#3 การขยายผลความคิดสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
และการจัดการนวัตกรรม
32-3,7 เมษายน 2558
Day#2 กระบวนการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมและตัดสินใจ
#1 การจุดประกายความคิดใหม่
#2 เครื่องมือการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
และ ความคิดสร้างสรรค์กับนวัตกรรม
SCAMPER | Morphological Analysis | TRIZ
หัวข้อการบรรยาย
42-3,7 เมษายน 2558
#1 การจุดประกายความคิดใหม่
Idea Generation is the creative process
of generating, developing, and
communicating new ideas,
where an idea is understood as a basic
element of thought that can be either
visual, concrete, or abstract.
52-3,7 เมษายน 2558
การจุดประกาย
ความคิด
เครื่องมือพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์
การตั้งคาถาม
ที่ดีและถูกต้อง
การค้นหา
และการรับรู้โอกาส
การรับรู้โอกาส
การคัดเลือกไอเดีย
ไอเดียน่าสนใจ
และมีคุณค่า
การคัดเลือกโครงการ โครงการพร้อมพัฒนา
แนวคิดและบริบท
ของการพัฒนาไอเดีย
การพัฒนาข้อเสนอ
และพัฒนาไอเดีย
การออกแบบ
พัฒนาต้นแบบ
การวิเคราะห์และปรับปรุง
คุณค่า
พิจารณาผลตอบแทน
การขยายผล
ไอเดีย
นิยาม
62-3,7 เมษายน 2558
ความสาคัญของการจุดประกายความคิด
Idea Generation
หัวข้อการบรรยาย
 แหล่งที่มาของความคิด (Source of Idea)
 พฤติกรรมของลูกค้า (Customer Behavior)
 ความรู้เพื่อนวัตกรรม (Knowledge2Innovation)
72-3,7 เมษายน 2558
ลูกค้าสินค้า/บริการ
82-3,7 เมษายน 2558
คุณค่า กับ การทางานของสมองและพฤติกรรม
Object
Subject
Marketing Decision Branding
Interest Buy Loyalty
92-3,7 เมษายน 2558
รูปแบบกระบวนการสร้างสรรค์
Creative Process Model
หัวข้อการบรรยาย
 การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
 การจุดประกายความคิด (Idea Generation)
 การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
102-3,7 เมษายน 2558
รูปแบบกระบวนการสร้างสรรค์
การตั้ง
โจทย์ปัญหา
จุดประกาย
ความคิด
ประเมิน
ความคิด
112-3,7 เมษายน 2558
การจุดประกาย
ความคิด
เครื่องมือพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์
การตั้งคาถาม
ที่ดีและถูกต้อง
การค้นหา
และการรับรู้โอกาส
การรับรู้โอกาส
การคัดเลือกไอเดีย
ไอเดียน่าสนใจ
และมีคุณค่า
การคัดเลือกโครงการ โครงการพร้อมพัฒนา
แนวคิดและบริบท
ของการพัฒนาไอเดีย
การพัฒนาข้อเสนอ
และพัฒนาไอเดีย
การออกแบบ
พัฒนาต้นแบบ
การวิเคราะห์และปรับปรุง
คุณค่า
พิจารณาผลตอบแทน
การขยายผล
ไอเดีย
รูปแบบกระบวนการสร้างสรรค์
122-3,7 เมษายน 2558
การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
132-3,7 เมษายน 2558
การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
142-3,7 เมษายน 2558
การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
152-3,7 เมษายน 2558
การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
162-3,7 เมษายน 2558
การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
172-3,7 เมษายน 2558
การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)
182-3,7 เมษายน 2558
การแบ่งประเภทการจุดประกายความคิด
 แรงบันดาลใจ (Inspiration)
 การวิจัย (Research)
 การแสดงให้เห็น (Represent)
 การปรับแต่ง (Refine)
 การร่วมรังสรรค์ (Co-Creation)
การจุดประกายความคิด (Idea Generation)
192-3,7 เมษายน 2558
การจุดประกายความคิด (Idea Generation)
Represent
RefineResearch
Inspiration
202-3,7 เมษายน 2558
การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
แนวทางการประเมินความคิด
ตารางให้คะแนนความคิด
(Concept Scoring Matrix)
การประเมินคุณค่าความคิด
(Value Prepositions)
การประเมินต้นทุนและผลกระทบ
(Cost-Impact Analysis)
212-3,7 เมษายน 2558
การประเมินความคิด (Idea Evaluation
222-3,7 เมษายน 2558
การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
232-3,7 เมษายน 2558
CustomerValue : Cost-Impact analysis
Low Cost
High Cost
High
Impact
Low
Impact
#1
#2#3
การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
242-3,7 เมษายน 2558
การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
แนวคิด
ทั้งหมด คะแนน
ศักยภาพระดับสูง
ศักยภาพระดับต่า
พักไว้ก่อน
252-3,7 เมษายน 2558
รูปแบบกระบวนการสร้างสรรค์
Idea
Generation
การตั้ง
โจทย์ปัญหา
ประเมิน
ความคิด
262-3,7 เมษายน 2558
สร้างสรรค์
ลงมือทา
ขยายผลการผลิต
จาหน่าย
สิ่งใหม่กว่า
กระตุ้นตลาด
ให้สาเร็จเร็วขึ้น
เพิ่มการลงทุน
ขั้นตอนการทานวัตกรรมสู่ความสาเร็จ
272-3,7 เมษายน 2558
ขั้นตอนการทานวัตกรรมสู่ความสาเร็จ
ส่วนเทคโนโลยี
ส่วนธุรกิจ
พัฒนาต้นแบบ
ส่วนแหล่งทุน
ส่วนเงินสนับสนุน
ความคุ้มค่าลงทุน
การค้นหาโอกาส
เครื่องมือการ
แก้ปัญหา
การแพร่กระจาย
นวัตกรรม
การขยายผลสู่สังคม
Opportunity Scanning
282-3,7 เมษายน 2558
ขั้นตอนการทานวัตกรรมสู่ความสาเร็จ
การค้นหาโอกาส
เครื่องมือการ
แก้ปัญหา
Opportunity Scanning
- 7 ขั้นตอนของการจุดประกายความคิด
- เข้าใจถึงอุตสาหกรรม
- การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า การเยี่ยมลูกค้า
และซัพพลายเออร์
- การเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ช่องว่าง
- การสร้างเงื่อนไขเพื่อเปิ ดช่องว่างและ
หาทางแก้ปัญหา (Proactive Gap Creation)
- การค้นหาความเจ็บปวดของลูกค้า
Customer Pain Point
- เครื่องมือในการแก้ปัญหา
292-3,7 เมษายน 2558
การจุดประกายความคิด
 7 ขั้นตอนของการจุดประกายความคิด
 ทุกคนต้องมีความส่วนในการจุดประกาย
 ลูกค้าต้องมาอยู่ในกระบวนการจุดประกาย
 นาแนวคิดเสนอกับลูกค้าในมุมมองใหม่ๆ
 เน้นไปที่จุดความต้องการที่ไม่ชัดเจนของลูกค้า
 ค้นหาไอเดียจากลูกค้ากลุ่มใหม่
 ให้ซัพพลายเออร์เข้ามาร่วมในการจุดประกายความคิด
 เปรียบเทียบผลการจุดประกายความคิด
302-3,7 เมษายน 2558
เครื่องมือการจุดประกายความคิด
Brainstorming Mind-Map SCAMPER
Morphological A. TRIZ Technique Customer journey
312-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 1 VALUE IDEA FEEDBACK
Value Idea Feedback
 แบ่งออกเป็ น 3 ตอน
 ตอนที่ 1 IDEA Searching
 ตอนที่ 2 IDENTIFICATION
 ตอนที่ 3 IDEA Testing
 เติมลงไปใน Idea Feedback
 นาเสนอมุมมองของลูกค้าที่สัมภาษณ์
 นาเสนอปัญหาอุปสรรคของการ
สื่อสารไปยังลูกค้า
322-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 1 VALUE IDEA FEEDBACK
332-3,7 เมษายน 2558
#2 เครื่องมือการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
SCAMPER | Morphological Analysis | TRIZ
342-3,7 เมษายน 2558
Creativity Tool
 เครื่องมือสาหรับ
การคิดเชิงจิตวิทยา
 การระดมสมอง Mind Map
 SCAMPER - Morphologist
 การคิดเชิงระบบ
 TRIZ
(Methodology +
knowledge base)
352-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
 ออกแบบโดย Fritz Zwicky (1942) เพื่อนามาแก้ไขปัญหา
ที่มีความซับซ้อน
 เป็ นเครื่องมือเพื่อค้นหาวิธีการด้วยการรวมกัน
(Combination) เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ หรือ การบริการใหม่ๆ
 ทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของรายการองค์ประกอบ
(Component) และ ระบบ (System)
 ทาการวิเคราะห์โอกาสและศักยภาพการรวมกันของทางเลือก
ต่างๆ เพื่อค้นหาคาตอบ
362-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
นาไปใช้ที่ไหนได้บ้าง
 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการใหม่
การบริการใหม่ รวมทั้งการจัดการคุณค่า
 การออกแบบและวางแผนยุทธศาสตร์
 การต่อรองและวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย
(Stakeholder Analysis)
372-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
ขั้นตอนที่ 1 ระดมสมองเพื่อระบุปัญหาที่แท้จริง
 ค้นหาและวิเคราะห์คุณลักษณะของปัญหาที่เราพบ
382-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และระบุองค์ประกอบและระบบ
 ค้นหาและวิเคราะห์องค์ประกอบและระบบที่เป็ นไป
ได้ พร้อมทั้งเติมส่วนความเป็ นไปได้
องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3
ทางเลือกที่ 1
ทางเลือกที่ 2
ทางเลือกที่ 3
392-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของทางเลือก
ต่างๆ เพื่อค้นหาคาตอบ
วัสดุ ขา ความสูง สี รูปแบบ เสริม
ไม้ 1 30 ธรรมชาติ สี่เหลี่ยม แขนจับ
พลาสติก 2 50 โปร่งแสง กลม กล่อง
แก้ว 3 70 สีสดใสโลกสวย ธรรมชาติ โต๊ะ
หิน 4 90 สีเทา ประหลาด โคมไฟ
โลหะ 120 สีโบราณ เพิ่มพลังงาน นวด
สักหลาด สีทึบ ศรัธทรา ให้ความอบอุ่น
สีดา ให้ความรัก
402-3,7 เมษายน 2558
วัสดุ ขา ความสูง สี รูปแบบ เสริม
ไม้ 1 30 ธรรมชาติ สี่เหลี่ยม แขนจับ
พลาสติก 2 50 โปร่งแสง กลม กล่อง
แก้ว 3 70 สีสดใสโลกสวย ธรรมชาติ โต๊ะ
หิน 4 90 สีเทา ประหลาด โคมไฟ
โลหะ 120 สีโบราณ เพิ่มพลังงาน นวด
สักหลาด สีทึบ ศรัธทรา ให้ความอบอุ่น
สีดา ให้ความรัก
Morphological Analysis
ขั้นตอนที่ 4 “Morphological Box” นาความเป็ นไปได้
จากการวิเคราะห์ เพื่อรวมเป็ นแนวทางการแก้ปัญหา
412-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
ขั้นตอนที่ 5 สังเคราะห์ทางเลือกและทางแก้ไขปัญหา
#1
#2
422-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
CustomerX : Emotion map
432-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
CustomerValue : Cost-Impact analysis
Low Cost
High Cost
High
Impact
Low
Impact
#1
#2#3
442-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 เลือกองค์ระกอบ
ขั้นตอนที่ 3 จัดเรียง
ขั้นตอนที่ 4 ค้นหาทางเลือก
ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์คาตอบ
การวิเคราะห์ Morphological
พัฒนาต้นแบบ
452-3,7 เมษายน 2558
พัฒนาต้นแบบ
462-3,7 เมษายน 2558
Morphological Analysis
ดินสอ และ ปากกา
472-3,7 เมษายน 2558
การสร้างสรรค์
กับ นวัตกรรม
482-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือการสร้างสรรค์?
492-3,7 เมษายน 2558
frame
~frame
อะไรคือการสร้างสรรค์
502-3,7 เมษายน 2558
 เป็ นสิ่งที่ต้องสนใจเป็ นความ
ผิดปกติ ความแตกต่างจากสิ่งที่
เป็ นปกติและเหมือนกัน
 ธรรมชาติในความเหมือนที่
แตกต่างกัน
 เป็ นความเหมือนแต่หากมองใน
อีกมุมที่ต่างกัน ก็ได้
 ผลลัพธ์ในความคิดที่ต่างกัน
ออกไป
Freak of Nature
by Mark S Blumberg
อะไรคือการสร้างสรรค์
512-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือการสร้างสรรค์
522-3,7 เมษายน 2558
 มองให้ต่างกันออกไป เคยมีคนกล่าวไว้ว่า
 พฤติกรรมของคนที่แสดงออกมากับสิ่งๆ หนึ่ง
 10% คิด ลงมือทา สร้างสรรค์
 80% ใช้ รับเทคโนโลยี จ่ายเงินซื้อ
 10% วิจารณ์ ต่อต้าน
อะไรคือการสร้างสรรค์
532-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือการสร้างสรรค์
542-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือการสร้างสรรค์
552-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือการสร้างสรรค์
562-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือการสร้างสรรค์
572-3,7 เมษายน 2558
What Creativity Means To You
อะไรคือการสร้างสรรค์
582-3,7 เมษายน 2558
การสร้างสรรค์
เหมือนกันไหม
วิทยาศาสตร์
ตรรกะ
คณิตศาสตร์
ศิลป
สวยงาม
ลายเส้น
592-3,7 เมษายน 2558
การสร้างสรรค์ เกิดขึ้นตรงไหนบ้าง
การสร้างสรรค์พบได้ทั่วไป : ในงานศิลปะ งานบันเทิง งานธุรกิจ ใน
คณิตศาสตร์ ในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การแพทย์ สังคมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
การสร้างสรรค์ต้องมีเงื่อนไข 3 อย่าง POM | ความเป็ นส่วนตัว personality
| ความเป็ นสิ่งแรก originality | การมีความหมาย meaning
การสร้างสรรค์ ในแง่ ศิลป คล้ายกับช่วงความรู้สึกที่อิสระของงานออกแบบ
การประดิษฐ์และ ความฝัน แต่ ในแง่ วิทยาศาสตร์ การค้นหาเข้าถึงความ
จริงเพื่อพิสูจน์องค์ความรู้ต่างๆ
การสร้างสรรค์
The Creative Economy, John Howkins
602-3,7 เมษายน 2558
ศาสนาพุทธ : การเกิดปัญญามาจาก
ศีล | สมาธิ |ปัญญา
สติ คือ สัญชาตญาณของการอยู่รอด
สติ ทาหน้าที่เป็ นเครื่องขนส่ง
ความรู้ ความจา มาใช้ให้ทันเวลา
เพื่อสร้างให้เกิด ปัญญา
การสร้างสรรค์
The Creative Economy, John Howkins
612-3,7 เมษายน 2558
 ความเป็ นปัจเจกบุคคล
 มนุษย์เท่านั้นที่สามารถสร้างสรรค์ได้
 เครื่องจักรจะมีสติในการสร้างสิ่งใหม่ได้ไหม
เขาทาได้แค่การผลิตได้ แต่สร้างไม่ได้
“คอมพิวเตอร์เป็ นสิ่งไร้ค่า
มันให้ได้แค่คาตอบเท่านั้น”
ความเป็ นส่วนตัว personality
การสร้างสรรค์
The Creative Economy, John Howkins
622-3,7 เมษายน 2558
 การสร้างสรรค์ต้องเป็ นสิ่งต้นแบบ สิ่งใหม่
“บางสิ่งที่เกิดจากความไม่มี” | “สร้างจากความไม่มี”
 การเป็ นสิ่งแรกนั้นต้อง ไม่มีมาก่อน คือ ความใหม่
แตกต่าง คือ ความเป็ นเอกลักษณ์
 ความเป็ นเอกลักษณ์ นั้นเคย เป็ นสิ่งใหม่
 แต่สิ่งใหม่ บางครั้งก็ไม่มีเอกลักษณ์เอาเสียเลย
ความเป็ นสิ่งแรก originality
การสร้างสรรค์
The Creative Economy, John Howkins
632-3,7 เมษายน 2558
 การสร้างสรรค์ต้องมีความหมาย ไม่ว่าจะเป็ น
ความหมายส่วนตัวหรือความหมายเล็กๆ
 ความหมาย สื่อถึง ความเป็ นเฉพาะกลุ่ม คณะ ซึ่งการ
สร้างสรรค์อย่างไรก็ต้องมีความหมาย
การมีความหมาย meaning
การสร้างสรรค์
The Creative Economy, John Howkins
642-3,7 เมษายน 2558
 การสร้างสรรค์เฉยๆ นั้นไม่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ
 ต้องนาการสร้างสรรค์นั้นมา แปรรูป รังสรรค์
 จนมันกลายเป็ น ผลิตภัณฑ์ | บริการ | กระบวนการ
 ซึ่งจะสามารถกาหนดราคาอย่างมีเหตุมีผล
 จนเกิดการ แลกเปลี่ยน ทาการซื้อ การขาย เกิดเป็ น
มูลค่าทางเศรษฐกิจออกมา
การสร้างสรรค์
The Creative Economy, John Howkins
652-3,7 เมษายน 2558
การสร้างสรรค์
creativity
แรงจูงใจ
ความสนใจ ความหลงใหลใน
งานที่ต้องการสร้างสรรค์
องค์ความรู้
ความเชี่ยวชาญ ความรู้
ความเข้าใจในประเด็นที่
ต้องการสร้างสรรค์
การคิดเชิงสร้างสรรค์
แนวทางในการแก้ปัญหา
หรือจินตนาการของ
แต่ละบุคคล
องค์ประกอบ 3 ประการในการคิดสร้างสรรค์
662-3,7 เมษายน 2558
แนวทางการก่อเกิดความคิดใหม่
ลงมือ
แก้ปัญหา ผลิตภัณฑ์
กระบวนการ
การบริการ
การสร้างสรรค์
ปัญหา
ความต้องการ หรือ โอกาส
หาทาง
แก้ปัญหา
Heuristic
TRIZ
Brainstorms
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือสังคม
672-3,7 เมษายน 2558
TRIZ
กุญแจสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
682-3,7 เมษายน 2558
 Accelerate innovation with TRIZ
 a Catalyst of innovation
 Theory of inventive
 The theory of inventor's problem solving
 Innovation tool
692-3,7 เมษายน 2558
อะไรคือ “TRIZ” ?
Теория решения изобретательских задач
Teoriya Resheniya Izobretatelskikh Zadatch
ความหมายคือ
“Theory of Inventive Problem Solving”
หรือ
เรากาลังพูดถึงวิธีแก้ปัญหาในการ
ประดิษฐ์คิดค้นแบบ รัสเซีย
702-3,7 เมษายน 2558
 New Product Development using
TRIZ technique contradiction
 Patent circumvention
 Cost reduction / Productivity
 System/Process improvement
 Product improvement
 Technical forecasting (S-curve)
712-3,7 เมษายน 2558
“ประวัติ TRIZ”
พัฒนาและคิดค้นโดย เกนริค อัลชูลเลอร์ และคณะ
โดยการวิเคราะห์สิทธิบัตรกว่า 3 ล้านฉบับ
ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่สามารถ
เรียนรู้กันได้หรือไม่ ?
722-3,7 เมษายน 2558
732-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่าง : รูปแบบการประดิษฐ์คิดค้น
ปัญหา : ช่วยกันหาวิธีในการป้ องกันไม่ให้ผิวนอก
ของเรือไฮดรอฟลอยด์นั้นถูกทาลาย กัดกร่อน
742-3,7 เมษายน 2558
ความเฉื่อยเชิงจิตวิทยา (Psychological Inertia)
752-3,7 เมษายน 2558
TRIZ ทางานอย่างไร?
762-3,7 เมษายน 2558
TRIZ ทางานอย่างไร?
772-3,7 เมษายน 2558
ระบุปัญหา / ระบบของปัญหาคืออะไร
ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ
Ideal Final Result, IFR
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิคและกายภาพ
ค้นหาคาตอบทั่วไปและลงมือทา
การพัฒนานวัตกรรมด้วย TRIZ
วิเคราะห์ปัญหา
สังเคราะห์ระบบ
การปฏิบัติ
วิเคราะห์ปัญหา
782-3,7 เมษายน 2558
ระบุปัญหา / ระบบของปัญหาคืออะไร
 ปัญหาและระบบ
 TRIZ มองปัญหาอย่างเป็ นระบบ
792-3,7 เมษายน 2558
 ปากกาไม่สามารถเขียนอวกาศได้
 การแก้ปัญหานี้ NASA ใช้เวลา 10 ปี และ
ใช้เงินมูลค่า 12 ล้านดอลลาร์ (480 ล้านบาท)
 ปากกาที่สามารถใช้งานได้ที่แรงโน้มถ่วงเป็ น 0
 เขียนแบบคว่าหรือเขียนที่ใต้น้า
 เขียนที่อุณหภูมิช่วงต่ากว่าจุดเยือกแข็งจนถึงที่
มากกว่า 300 องศาเซลเซียส
ปัญหาที่แท้จริงคืออะไร! ?
การระบุปัญหา
802-3,7 เมษายน 2558
การระบุปัญหา
812-3,7 เมษายน 2558
ระบบคืออะไร?
ระบบทางเทคนิคอินพุท เอาต์พุท
822-3,7 เมษายน 2558
 เมื่อกล่าวถึงระบบทางเทคนิคประกอบด้วย
 “กลไก/อุปกรณ์” สาหรับทาหน้าที่หรือ
เป็ นสื่อกลางเพื่อ ทาหน้าที่อะไรบางอย่าง
 จะต้องมี “เป้ าหมาย” ในการทาหน้าที่ของเขา
ระบบคืออะไร?
832-3,7 เมษายน 2558
TRIZ มองปัญหาอย่างเป็ นระบบ (System approach)
 TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานั้น จะไม่ยึดติดอยู่กับ
เหตุการณ์ที่เกิดเฉพาะเท่านั้น แต่จะมองอย่างเป็ น
ระบบ ซึ่งระบบนั้นอาจประกอบขึ้นจาก
 ระบบส่วนบน และ ระบบส่วนล่าง
 ซึ่งต้องมองให้ออกว่าแก่นของสภาพปัญหาอยู่ระดับ
ไหนของระบบ
TRIZ
842-3,7 เมษายน 2558
ระบบคืออะไร?
ระบบขนส่ง
ระบบย่อยระบบทางเทคนิค
ระบบความปลอดภัย
852-3,7 เมษายน 2558
 การแก้ปัญหาความปลอดภัยของระบบการขนส่ง
 ระบบการบังคับเลี้ยว คือ การพัฒนาระบบเซนเซอร์ในการ
ตรวจสอบและประเมินอันตรายที่เกิดขึ้น เพื่อนาไปประมวลและ
เข้าควบคุมระบบบังคับเลี้ยวโดยตรง
 ระบบการเบรค คือ การพัฒนาระบบเบรคให้ลงลึงเข้าไปใน
อนุภาคของผ้าเบรคให้มีคุณภาพดีขึ้น
 ระบบเครื่องยนต์ คือ การพัฒนาเครื่องยนต์ที่สามารถควบคุม
ความเร็วในการขับขี่ได้ เป็ นต้น
ตัวอย่าง มองปัญหาอย่างเป็ นระบบ
862-3,7 เมษายน 2558
TRIZ เข้าใจฟังก์ชันของระบบ (Function approach)
 TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานั้น ต้องรู้หน้าที่การงาน
หรือ ฟังก์ชัน Function
 ฟังก์ชันหลัก ที่เป็ นประโยชน์ของระบบ
 ฟังก์ชันที่ไม่เป็ นประโยชน์
 ฟังก์ชันที่ควรมีในระบบ แต่หายไป
TRIZ
872-3,7 เมษายน 2558
TRIZ เข้าใจทรัพยากรในระบบ (Resource approach)
 TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานั้น ต้องพิจารณาทรัยากรที่
มีอยู่ในระบบ
 วัสดุ เวลา ฟังก์ชัน พลังงาน ข้อมูล
TRIZ
882-3,7 เมษายน 2558
 ความเป็ นอุดมคติ
 ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติที่ต้องการ
 Ideal Final Result
ความเป็นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ
Ideal Final Result, IFR
892-3,7 เมษายน 2558
 กฎความเป็ นอุดมคติ คืออะไร
Law of ideality?
 เมื่อกล่าวถึงระบบทางเทคนิค
 จะต้องมี “กลไก/อุปกรณ์” สาหรับทาหน้าที่หรือ
เป็ นสื่อกลาง เพื่อทาหน้าที่อะไรบางอย่าง
 จะต้องมี “เป้ าหมาย” ในการทาหน้าที่ของเขา“ ”ระบบทางเทคนิคอินพุท เอาต์พุท
กลไก #1
กลไก #2
เป้ าหมาย
ผลตอบแทน
พลังงาน
ต้นทุน
902-3,7 เมษายน 2558
กฎความเป็ นอุดมคติ
 กฎความเป็ นอุดมคติ Law of ideality คือ ความเป็ นไปได้
ในเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ของระบบที่ดีที่สุด สาหรับการ
แก้ปัญหานั้นๆ
 โดยไม่คานึงถึง ทรัพยากร หรือ เงื่อนไขต่างๆ ของปัญหา
 Ideal Final Result ,IFR
คือ เป้ าหมายหรือผลลัพท์สุดท้ายในอุดมคติที่ต้องการ
912-3,7 เมษายน 2558
กฎความเป็ นอุดมคติ
ประโยชน์ในการใช้
ซ้ามากขึ้น เนื่องจาก
ปัญหาทางด้าน
ทรัพยากรที่มีจากัด
และความแข็งแรง
ทนทาน
แก้ปัญหาในเรื่อง
พื้นที่ โดยทาให้
สามารถซ้อนกันได้
ขณะใช้งานเสร็จแล้ว
922-3,7 เมษายน 2558
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
 พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
 การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่
932-3,7 เมษายน 2558
ความขัดแย้งเชิงเทคนิค
กับหลักการ 40 ข้อในการประดิษฐ์คิดค้น
ตัวอย่างความขัดแย้งเชิงเทคนิค
ระบบเทคนิค ความขัดแย้งเชิงเทคนิค
 เครื่องจักร อุปกรณ์ทางกล เมื่อเพิ่มความแข็งแรง
น้าหนักจะเพิ่มขึ้น
 รถไฟ รถยนต์ เครื่องบิน เมื่อเพิ่มความเร็ว
การสั่นสะเทือนจะมากขึ้น
 วงจรไฟฟ้ า เมื่อเพิ่มความเร็วการสวิตชิ่ง
ทาให้สัญญาณรบกวนมากขึ้น
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
942-3,7 เมษายน 2558
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
3 ขั้นตอนในการแก้ปัญหา
วิเคราะห์ระบบทางเทคนิค
ระบุข้อขัดแย้งทางเทคนิค
แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิค
952-3,7 เมษายน 2558
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
เพื่อกาหนดลักษณะสมบัติของระบบ
 ลักษณะสมบัติของระบบ คือ ค่าทางกายภาพหรือคุณสมบัติที่
ต้องการปรับปรุง เช่น น้าหนัก ขนาด สี ความเร็ว ความ
แข็งแรง ปริมาตร อุณหภูมิ ความแม่นยา แรงดึง แรงดัน
อันตรายจากระบบ ความสะดวกในการใช้งาน พื้นที่ …
 สุดท้ายก็คือ สมบัติความขัดแย้งทั้ง 39 ข้อของระบบทาง
เทคนิค
วิเคราะห์ระบบทางเทคนิค
962-3,7 เมษายน 2558
1. น้าหนักของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่
2. น้าหนักของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่
3. ความยาวของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่
4. ความยาวของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่
5. พื้นที่ของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่
6. พื้นที่ของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่
7. ปริมาตรของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่
8. ปริมาตรของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่
9. ความเร็ว
10. แรง
11. แรงดึง แรงดัน
12. รูปร่าง
13. เสถียรภาพของวัตถุ
14. ความแข็งแรง
15. ความทนทานของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่
16. ความทนทานของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่
17. อุณหภูมิ
18. ความสว่าง
19. พลังงานที่ใช้ไปโดยวัตถุซึ่งเคลื่อนที่
20. พลังงานที่ใช้ไปโดยวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่
21. กาลัง
22. การสูญเสียไปของพลังงาน
23. การสูญเสียไปของสสาร
24. การสูญเสียไปของข้อมูล
25. การสูญเสียไปของเวลา
26. จานวนของสสาร
27. ความน่าเชื่อถือ
28. ความแม่นยาของการวัด
29. ความแม่นยาของการผลิต
30. ปัจจัยอันตรายซึ่งกระทาต่อวัตถุ
31. ปัจจัยอันตรายที่ตามมา
32. ความสามารถในการผลิต
33. ความสะดวกในการใช้
34. ความสะดวกในการเก็บรักษา
35. ความสามารถในการปรับตัวได้
36. ความซับซ้อนของอุปกรณ์
37. ความซับซ้อนของการควบคุม
38. ระดับของความอัตโนมัติ
39. ผลิตภาพ
ลักษณะสมบัติของระบบ
972-3,7 เมษายน 2558
982-3,7 เมษายน 2558
992-3,7 เมษายน 2558
 การแก้ปัญหาหลอดไฟ T8 ไม่ให้ฝุ่นเกาะ
แบบฟอร์ม P1 การสร้างสูตรของลักษณะสมบัติที่จะปรับปรุง
 ระบุชื่อของระบบทางเทคนิค :: การลดฝุ่นละอองที่เกาะอยู่บนผิวหลอดไฟ
 กาหนดเป้ าหมายของระบบทางเทคนิค (ระบบได้รับการออกแบบมาเพื่อ)
เพื่อลดปัญหาฝุ่นที่จะเกาะบนผิวหลอดไฟ
 รายชื่อส่วนประกอบของระบบทางเทคนิคและหน้าที่การทางานของระบบ
ชื่อส่วนประกอบ หน้าที่การทางาน
หลอดไฟ เป็ นตัวกลางให้แสงสว่าง
เส้นหลอด ขั้วหลอดและขารับหลอด ยึดหลอดไว้บนเพดาน
สารเคลือบหลอด เพิ่มความสว่างของหลอดไฟ
ก๊าซเฉื่อย
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
วิเคราะห์ระบบทางเทคนิค
1002-3,7 เมษายน 2558
 บรรยายการทางานของระบบทางเทคนิค
กระแสไฟฟ้ าจะกระตุ้นอะตอมของสารปรอท ให้อยู่ในสภาวะกระตุ้นและจะปลดปล่อย
พลังงานออกมาในรูปของแสง ซึ่งหลอดไฟก็เกิดไฟฟ้ าสถิตย์จึงทาให้ฝุ่นละอองมาเกาะ
และทาให้แสงสว่างลดลงและต้องทาความสะอาดบ่อยครั้ง
 กาหนดลักษณะสมบัติที่ควรได้รับการปรับปรุงหรือขจัดทิ้งไป
ปรับปรุงสภาพผิวหลอดไฟ ต้องการขจัดและลดปัญหาการเกาะของฝุ่นละอองในอากาศ
ที่เป็ นผลร้ายจากสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
1012-3,7 เมษายน 2558
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
ลักษณะของวัตถุบางอย่างจะลดลงเมื่อมีการปรับปรุงหรือ
เปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัตินึง ระบุข้อขัดแย้งให้ชัดเจน
 โดยสามารถมองออกมาเป็ น scenario#1,2,3… ซึ่งเป็ นการ
ระบุคู่ความขัดแย้งที่สามารถหาได้ในระบบหรือปัญหา
ระบุข้อขัดแย้งทางเทคนิค
1022-3,7 เมษายน 2558
แบบฟอร์ม P2 การสร้างสูตรของความขัดแย้งทางเทคนิค
รายการที่ 1 การระบุลักษณะสมบัติเชิงบวกที่ควรได้รับการปรับปรุง
 ลักษณะสมบัติ ความสว่าง ปัจจัยอันตรายจากภายนอก (ฝุ่นละอองที่เกาะบนผิว)
 ระบุวิถีปกติที่ใช้ในการปรับปรุงลักษณะสมบัติ หาอุปกรณ์มาครอบเอาไว้ ทา
ความสะอาดเป็ นประจา
 ระบุลักษณะสมบัติที่ด้อยลงเมื่อตกอยู่ในเงื่อนไข 1b
ความสว่าง รูปร่าง เสถียรภาพองค์ประกอบ
 สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิคดังต่อไปนี้
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
ระบุข้อขัดแย้งทางเทคนิค
1032-3,7 เมษายน 2558
พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
ในขั้นตอนนี้ใช้ตารางความขัดแย้งมาช่วยในการหาแนว
ทางการแก้ปัญหา และ ช่วยแก้ข้อขัดแย้งทางเทคนิค
โดยการใช้ TRIZ หลักการ 40 ข้อ มาช่วยตอบปัญหา
แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิค
1042-3,7 เมษายน 2558
หลักการ
1 แบ่งส่วน (segmentation)
2 สกัดออก (extraction)
3 ลักษณะเฉพาะ (local quality)
4 ไม่สมมาตร (asymmetry)
5 รวมกัน (consolidation)
6 อเนกประสงค์ (universality)
7 ซ้อนกัน (nesting)
8 คานน้าหนัก (counterweight)
9 กระทาการต้านทานก่อน (prior counter-action)
10 กระทาก่อน (prior action)
11 ป้ องกันไว้ก่อน (cushion in advance)
12 ศักยภาพเท่ากัน (equipotentiality)
13 ทากลับทาง (do it in reverse)
14 ทรงกลม (spheroidality)
15 พลวัต (dynamicity)
16 กระทาบางส่วนหรือมากกว่า
(partial or excessive action)
17 แปลงสู่มิติใหม่ (transition into a new dimension)
18 สั่นเชิงกล (mechanical vibration)
19 กระทาเป็นจังหวะ (periodic action)
20 กระทาต่อเนื่องที่เป็นประโยชน์
(continuity of useful action)
หลักการ
21 กระทาอย่างว่องไว (rushing through)
22 เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส (convert harm into benefit)
23 ป้ อนกลับ (feedback)
24 ตัวกลาง (mediator)
25 บริการตัวเอง (self service)
26 เลียนแบบ (copying)
27 ใช้แล้วทิ้ง (dispose)
28 แทนระบบเชิงกล (replacement of mechanical system)
29 ใช้ระบบนิวเมติคหรือไฮดรอลิค (pneumatic or hydraulic
construction)
30 เยื่อยืดหยุ่นและฟิลม์บาง (flexible membranes or thin
films)
31 วัสดุรูพรุน (porous material)
32 เปลี่ยนสี (changing of colour)
33 เนื้อเดียว (homogeneity)
34 ใช้ชิ้นส่วนที่สลายและเกิดใหม่ (rejecting and
regenerating part)
35 เปลี่ยนลักษณะสมบัติ (transformation of the properties)
36 แปลงสถานะ (phase transition)
37 ขยายตัวด้วยความร้อน (thermal expansion)
38 เติมอากาศอย่างรวดเร็ว (accelerated oxidation)
39 สภาพแวดล้อมเฉี่อย (inert environment)
40 วัสดุคอมโพสิท (composite materials)
TRIZ 40 หลักการ
1052-3,7 เมษายน 2558
40 ,26,
27,1
32,35,
19
ตารางแมทริกซ์ความขัดแย้ง
1062-3,7 เมษายน 2558
 สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิคดังต่อไปนี้
 Scenario #1 ปัจจัยอันตราย (30): เสถียรภาพขององค์ประกอบ (13)
18 (สั่นเชิงกล), 24 (ตัวกลาง), 30 (ฟิลม์บาง), 35 (แปลงลักษณะสมบัติ)
 Scenario #2 ความสว่าง (33): รูปร่าง (12)
30 (ฟิลม์บาง), 32 (เปลี่ยนสี)
 Scenario #3 ปัจจัยอันตราย (30): ความสว่าง (18)
1 (แบ่งส่วน), 13 (กลับทาง), 19 (กระทาเป็ นจังหวะ), 32 (เปลี่ยนสี)
 วิเคราะห์หลักการดังกล่าว
 หลักการที่ 18 สั่นเชิงกล กับ 19 กระทาเป็ นจังหวะ ใช้ประโยชน์จากการแกว่ง
ความถี่ การสั่นสะเทือนเป็ นจังหวะ เพื่อลดการเกาะติดของฝุ่นละออง
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิค
1072-3,7 เมษายน 2558
 วิเคราะห์หลักการดังกล่าว
 หลักการที่ 24 การใช้ตัวกลางเพื่อลดหรือก่อให้เกิดการกระทา ซึ่งหมายถึงการเพิ่มฝา
ครอบที่เป็ นตัวกลางป้ องกันหลอดซึ่งเป็ นทางเลือกที่ยังไม่ดีเพียงพอในการปรับปรุง
 หลักการที่ 30 การใช้ฟิลม์บาง เป็ นการใช้ฟิลม์บางเพื่อแทนที่โครงสร้างแข็ง โดยอาจ
เป็ นการเคลือบผิวนอกเพื่อป้ องกันการเกิดไฟฟ้ าสถิตย์ ลดการเกาะของฝุ่นละออง ซึ่ง
ใกล้เคียงที่สุดในการนาไปใช้งานจริง
 ปัจจุบันมีการพัฒนาและคิดค้นการนาสารเคลือบเพื่อใช้ในการลดปัญหาการเกาะของ
ฝุ่นละออง และหลอดจะยังคงความสว่างตามมาตรฐานความสว่างตลอดอายุการใช้
งานของหลอด
ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
1082-3,7 เมษายน 2558
#1 แบ่งส่วน segmentation
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
ขนาดของระบบที่ใหญ่เกินไปทาให้
การทางานของระบบไม่มีประสิทธิภาพ
 เพื่อลดปัญหาด้านขนาดและพื้นที่ และเพื่อให้เกิดความ
ราบรื่นของระบบสูงขึ้น
TRIZ 40 หลักการ
1092-3,7 เมษายน 2558
อธิบายหลักการ
 แบ่งวัตถุออกเป็ นส่วนแยกอิสระส่วนต่างๆ ทาระบบให้
สามารถพับได้
 เฟอร์นิเจอร์แบ่งส่วน เพื่อลดความขัดแย้งในด้านพื้นที่ ขนาด
ความยาว จัดส่งง่าย สะดวกมากขึ้น
 การแบ่งส่วนข้อมูลเสียงออกเป็ นส่วนๆ เพื่อให้สามารถนามา
วิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของสัญญาณเสียงแต่ละประเภทได้
TRIZ 40 หลักการ
1102-3,7 เมษายน 2558
TRIZ 40 หลักการ
1112-3,7 เมษายน 2558
#4 ไม่สมมาตร asymmetry
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
ความสะดวกในการใช้งาน
เมื่อเพิ่มความไม่สมาตรแล้วระบบสามารถ
ทางานได้เต็มประสิทธิภาพ
TRIZ 40 หลักการ
1122-3,7 เมษายน 2558
อธิบายหลักการ
 แทนที่รูปแบบปกติให้เป็ นแบบไม่สมมาตร
 ลักษณะใบปัดน้าฝน ที่ลดความขัดแย้งในด้านขนาด และ
รูปทรงต่างๆ ความไม่สมมาตร เกิดความสะดวกในการใช้
งาน ระบบจึงทาหน้าได้ดีขึ้น
TRIZ 40 หลักการ
1132-3,7 เมษายน 2558
#5 รวมกัน consolidation
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
ความสะดวกในการใช้งาน
เมื่อเพิ่มความหน้าที่ของระบบ
ให้สามารถทางานได้เต็มประสิทธิภาพ
TRIZ 40 หลักการ
1142-3,7 เมษายน 2558
อธิบายหลักการ
 เพิ่มหน้าที่การใช้งานใหม่สามารถรวมหน้าที่การใช้งานระบบ
 Wood plastic composite ที่นาลักษณะเด่นของวัสดุ 2 ชนิด
ผงไม้ และ พลาสติก
 Metal composite การรวมกันระหว่าง พลาสติก กับ ผงโลหะ
 หรือการรวมกันระหว่าง ซิเมนต์ และ พลาสติก เป็ นต้น
TRIZ 40 หลักการ
1152-3,7 เมษายน 2558
#7 ซ้อนกัน nesting
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
ปริมาตร หรือ พื้นที่ในการจัดเก็บที่จากัด
ความรวดเร็วในการนามาใช้งาน
สามารถตั้งในพื้นที่เดียวกัน
TRIZ 40 หลักการ
1162-3,7 เมษายน 2558
อธิบายหลักการ
 ใส่วัตถุซ้อนเข้าไปในช่องว่างของวัตถุที่ 1
 การซ้อนกันของบรรจุภัณฑ์ ที่ลดความขัดแย้งในด้านพื้นที่
จัดเก็บ รวมทั้งความรวดเร็วในการนาไปใช้งาน
TRIZ 40 หลักการ
1172-3,7 เมษายน 2558
#10 กระทาก่อน prior action
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
บางครั้งระบบต้องการ ความเร็ว ในการทาหน้าที่บางอย่าง ซึ่ง
ก่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งาน
TRIZ 40 หลักการ
1182-3,7 เมษายน 2558
อธิบายหลักการ
 ทาการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการกับระบบล่วงหน้า
 หลอดเก็บเลือดสุญญากาศ ที่สามารถเพิ่มความรวดเร็ว และ
ระดับความเป็ นอัตโนมัติ มากขึ้นในการเก็บเลือด
TRIZ 40 หลักการ
1192-3,7 เมษายน 2558
#30 ฟิลม์บาง thin film
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
การป้ องกันระบบให้พ้นจากอันตรายจากภายนอก สามารถ
อาศัยหลักการนี้มาช่วยได้
TRIZ 40 หลักการ
1202-3,7 เมษายน 2558
อธิบายหลักการ
 นาฟิลม์ยืดหยุ่นหรือฟิลม์บาง
 การเคลือบผิวเครื่องมือตัด เจาะ เพื่อป้ องกันการกัดกร่อน ลด
แรงเสียดทาน
TRIZ 40 หลักการ
1212-3,7 เมษายน 2558
#40 วัสดุคอมโพสิท composite materials
 ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง
ความแข็งแรงของระบบ ซึ่งต้องอาศัยเทคโนโลยี
ในการพัฒนาวัสดุรูปแบบใหม่
อธิบายหลักการ
 เปลี่ยนจากวัสดุเนื้อเดียวเป็ นวัสดุผสม
 ปี กเครื่องบิน ที่ต้องการทั้งความเบาและความแข็งแรง
TRIZ 40 หลักการ
1222-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1232-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 1
 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
การวิเคราะห์ความขัดแย้ง
 Scenario #1 ขนาด (4): ความสะดวกในการใช้งาน (33)
2 (สกัดออก), 25 (บริการตัวเอง)
 Scenario #2 รูปร่าง (12): ความสะดวกในการใช้งาน (33)
32 (เปลี่ยนสี),15 (พลวัต), 26 (เลียนแบบ)
 Scenario #3 พื้นที่ (6): ความสะดวกในการใช้งาน (33)
16 (กระทาบางส่วน), 4 (ไม่สมมาตร)
 เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 25 และ 4 โดยการปรับโครงสร้างของร่มใหม่
ให้สามารถป้ องกันฝนและลมได้
1242-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 1
1252-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1262-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 2
 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
การวิเคราะห์ความขัดแย้ง
 Scenario #1 ปัจจัยอันตราย (30): ความสะดวกในการใช้งาน (33)
2 (สกัดออก), 25 (บริการตัวเอง), 28 (แทนระบบเชิงกล), 39 (สภาพแวดล้อมเฉื่อย)
 Scenario #2 เสถียรภาพขององค์ประกอบ (13): ความสะดวกในการใช้งาน (33)
32 (เปลี่ยนสี), 35 (การแปลงลักษณะสมบัติ), 30 (ฟิลม์บาง)
 เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 30 และ 39 โดยการปรับโครงสร้างของ
พลาสติกบางใหม่ ให้เป็ นฟิลม์บางแทน โดยต้องใช้องค์ประกอบสารใน
สภาพเฉื่อย เพื่อป้ องกันการเกิดปัจจัยอันตราย
1272-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1282-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 3
1292-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1302-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 4
 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
การวิเคราะห์ความขัดแย้ง
 Scenario #1 ความแข็งแรง (14): น้าหนักของวัตถุ (2)
40 (วัสดุคอมโพสิท), 27 (ใช้แล้วทิ้ง), 26 (เลียนแบบ), 1 (แบ่งส่วน)
 Scenario #2 ความสะดวกในการใช้งาน (33): ความแข็งแรง (14)
32 (เปลี่ยนสี), 40 (วัสดุคอมโพสิท), 3 (ลักษณะเฉพาะ), 28 (แทนระบบเชิงกล)
 เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 40 โดยการปรับโครงสร้างของวัสดุเป็ นแบบ
ใหม่ ซึ่งมีอยู่ 2 แนวทางคือใช้วัสดุคอมโพสิท ที่เป็ นพอลิเมอร์ หรือ โลหะ
ผสมแบบเบา เช่น อะลูมิเนียมหรือเหล็กกล้าไร้สนิม ที่มีน้าหนักเบากว่าที่มี
โครงสร้างและมีความแข็งแรงสูงกว่า เหล็กปกติ
1312-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 4
1322-3,7 เมษายน 2558
รูปแบบถังก๊าซคอมโพสิต
ยื่นขอจดสิทธิบัตรแบบ
เปลือกหุ้มชั้นนอก
ถังก๊าซคอมโพสิต
1332-3,7 เมษายน 2558 133June 26, 2009
1342-3,7 เมษายน 2558
แมทริกซ์ความขัดแย้ง
แข็งแรง VS น้าหนัก
หลักการที่ 40 วัสดุคอมโพสิท
1352-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1362-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 5
 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
การวิเคราะห์ความขัดแย้ง
 Scenario #1 ความรวดเร็ว (9): ปริมาตรของวัตถุ (7)
7 (ซ้อนกัน), 29 (ควบคุมด้วยลม), 34 (ชิ้นส่วนที่ถูกคัดออก)
 Scenario #2 ความรวดเร็ว (9): ความสะดวกในการใช้งาน (33)
32 (เปลี่ยนสี), 28 (แทนระบบเชิงกล), 13 (ทากลับทาง), 12 (ศักย์เท่ากัน)
 เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 7 การซ้อนกัน และ 34 ชิ้นส่วนที่ถูกคัดออก
โดยการออกแบบโครงสร้างถุงมือใหม่ให้สามารถซ้อนกัน ซึ่งต้องอาศัย
องค์ความรู้ในเรื่องของการยึดเหนี่ยวระหว่างพื้นผิวของยางทั้ง 2-3 ชั้น
คือถุงจะต้องไม่หลุดออกจากกันขณะใช้งาน และต้องถอดง่ายขณะ
ต้องการเปลี่ยน
1372-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 5
1382-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1392-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 6
 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 การวิเคราะห์ความขัดแย้ง
 Scenario #1 ความสะดวกในการใช้งาน (33): ความแข็งแรง (25)
3 (ลักษณะเฉพาะ), 28 (แทนระบบเชิงกล), 32 (เปลี่ยนสี), 40 (วัสดุคอมโพสิท)
 Scenario #2 ความสะดวกในการใช้งาน (33): สูญเสียเวลา (25)
4 (ความไม่สมมาตร), 10 (การกระทาก่อน), 28 (แทนระบบเชิงกล), 34 (ใช้ชิ้นส่วนที่สลายไป
เกิดใหม่)
 เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 10 การกระทาก่อน โดยการออกแบบโครงสร้าง
เทียนใหม่ ซึ่งทาการเจาะรูที่ท้ายของเทียนก่อน แต่ต้องมีการเตรียมการใน
ส่วนเชียงเทียนที่ต้องมีส่วนแกนที่สามารถเสียบได้พอดี
1402-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 6
1412-3,7 เมษายน 2558
ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม
กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ
 กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่
 กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า
 กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง
สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด
 กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก
 กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด
 กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน
 กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง
กล้วย
1422-3,7 เมษายน 2558
กิจกรรมที่ 7
1432-3,7 เมษายน 2558
ยางไม่เติมลม
ผลิตโดย บ.มิชลิน ใช้กับรถเข็นและ
พาหนะทหาร และไม่เกินปี 2563
นามาใช้กับรถยนต์แน่นอน
เมทริกซ์ความขัดแย้ง
น้าหนัก (1) vs ความทนทาน (15)
น้าหนัก (1) vs กาลัง (21)
หลักการ TRIZ
19, 5, 34, 31 และ 8, 36,
38, 31
31. วัสดุพรุน
TRIZ case study
1442-3,7 เมษายน 2558
เต็นท์ปั๊มลม
เต็นท์แบบนี้ไม่ต้องใช้เสา
อะลูมิเนียม แต่ใช้ปั๊มลมแทน
สามารถกางได้ภายในเวลา
ไม่ถึง 1 นาที ออกแบบโดยทีมที่
ออกแบบชุดอวกาศให้กับนาซ่า
เมทริกซ์ความขัดแย้ง
เวลา (25) vs ความแข็งแรง (14)
เวลา (25) vs ความซับซ้อน (36)
หลักการ TRIZ
29. ระบบนิวเมติกซ์หรือไฮดรอลิก
TRIZ case study
1452-3,7 เมษายน 2558
ป้ ายอะคริลิคประหยัดพลังงาน
ป้ ายอะคริลิคแบบใหม่ที่ส่องสว่าง
ได้สูง และประหยัดพลังงานไฟฟ้ า
เมทริกซ์ความขัดแย้ง
ความสว่าง vs พลังงานที่เสียไป
หลักการ TRIZ
32. เปลี่ยนสี
TRIZ case study
1462-3,7 เมษายน 2558
Change the color
1472-3,7 เมษายน 2558
Universality
1482-3,7 เมษายน 2558
1492-3,7 เมษายน 2558
“ไม่มีทางรู้เลยว่าความคิดนั้น
ใหม่หรือไม่ (ยกเว้นแต่จะอ้างอิงกับ
มาตรฐานบางอย่าง) และไม่มีทางบอก
ได้ว่ามันมีคุณค่าหรือเปล่า จนกระทั่ง
ผ่านการประเมินทาง สังคม”
1502-3,7 เมษายน 2558
Three stage of a creative ecology
 Every one is Creative
 Creativity need Freedom
 Freedom need Market
Creativity & Innovation
John Howkins ผู้แต่ง the Creative Economy:
How people make money from ideas
1512-3,7 เมษายน 2558
innovation projects
2006LPG composite & FWM
Quick Release Fixture
RMM & polymer lamp pole
Patent & branding
Cario Bravo
Advance CeramicsU2 profile press
CQB Simulation System
2007
2008
E3 product
Innovation Project
5 Year : 38 Projects
IAS
3 Year : 12 Services
Income
3 Year : 1,224,000 Baht
Localize Search
2 layer BW
Leather cutter
VRH saving
i-gool bathtub
Electric Injection
1522-3,7 เมษายน 2558
This year 2010 innovation projects
“Free point” PIN distribution
“Dinsow” service robotics
The Next ONE…
insulator solid core suspension
LPG composite cylinder
Fluorescent nano TiO2
“MARATHON” system
Anti mice ink
2010
I-Zecure Intelligent Safety Accessory
People Counting:
Sync Server “Kontrol” measurement robot
for railway monitoring
New “ARGARD” Bluetooth
Micro Needle
“VitalTrack”
2009
2010
1532-3,7 เมษายน 2558
Ultrasonic Equipment for
Physical Therapy
This year 2011 innovation projects
“Inno-Scan”
Palm Vein Biometric
Advance Assault Amphibian
Vehicle (AAAV)
“CareBot”
Robot for Vital Signs Monitoring
“I-Cap”
Dispensing Bottle Caps
ระบบกาจัดมอดข้าวด้วยการ
ลดปริมาณก๊าซออกซิเจนเชิงพาณิชย์
“WiBoltz” Wireless
Power Transmission
“xTUAV”
High Performance Medium UAV
“H-Pad” Carbon heater sweater “BIG BAO” Light weight container
with sandwich panel
2011
2012
1542-3,7 เมษายน 2558
ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ
 พันธพงศ์ ตั้งธีระสุนันท์
 ผู้จัดการโครงการ
 สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
 02 644 6000 ต่อ 133
 081 7575 058
pantapong@gmail.com
www.pantapong.com

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014pantapong
 
NIA EGAT 2016 08-25
NIA EGAT 2016 08-25NIA EGAT 2016 08-25
NIA EGAT 2016 08-25pantapong
 
Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317
Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317 Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317
Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317 pantapong
 
RU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovationRU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovationpantapong
 
Innovation Journey 20141028@BU
Innovation Journey 20141028@BUInnovation Journey 20141028@BU
Innovation Journey 20141028@BUpantapong
 
NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016pantapong
 
NIA perspective to NIPA
NIA perspective to NIPANIA perspective to NIPA
NIA perspective to NIPApantapong
 
NIA THAIJAPAN 2017 02 03
NIA THAIJAPAN 2017 02 03NIA THAIJAPAN 2017 02 03
NIA THAIJAPAN 2017 02 03pantapong
 
Innovation journey 29092014 BAAC@nakornnayok
Innovation journey 29092014 BAAC@nakornnayokInnovation journey 29092014 BAAC@nakornnayok
Innovation journey 29092014 BAAC@nakornnayokpantapong
 
Business Innovation Trend 20032017
Business Innovation Trend 20032017Business Innovation Trend 20032017
Business Innovation Trend 20032017pantapong
 
Innovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTInnovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTpantapong
 
NIAMITSUBISHI 2016 07 08
NIAMITSUBISHI 2016 07 08NIAMITSUBISHI 2016 07 08
NIAMITSUBISHI 2016 07 08pantapong
 
NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28pantapong
 
Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823pantapong
 
Creativity & business innovation development 28082014@KU
Creativity & business innovation development 28082014@KUCreativity & business innovation development 28082014@KU
Creativity & business innovation development 28082014@KUpantapong
 
Creativity and innovation 20120730 pea
Creativity and innovation 20120730 peaCreativity and innovation 20120730 pea
Creativity and innovation 20120730 peapantapong
 
NIA MAHIDOL INNOVATION
NIA MAHIDOL INNOVATIONNIA MAHIDOL INNOVATION
NIA MAHIDOL INNOVATIONpantapong
 
NIADEI the innovation's method
NIADEI the innovation's methodNIADEI the innovation's method
NIADEI the innovation's methodpantapong
 
Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]
Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]
Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]pantapong
 
Innovation EGAT 2017 07-21
Innovation EGAT 2017 07-21Innovation EGAT 2017 07-21
Innovation EGAT 2017 07-21pantapong
 

La actualidad más candente (20)

Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
Innovation roadmap for rubber industry@Chaing Mai 20.11.2014
 
NIA EGAT 2016 08-25
NIA EGAT 2016 08-25NIA EGAT 2016 08-25
NIA EGAT 2016 08-25
 
Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317
Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317 Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317
Thailand Environment Institute Innovation Journey 20150317
 
RU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovationRU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovation
 
Innovation Journey 20141028@BU
Innovation Journey 20141028@BUInnovation Journey 20141028@BU
Innovation Journey 20141028@BU
 
NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016
 
NIA perspective to NIPA
NIA perspective to NIPANIA perspective to NIPA
NIA perspective to NIPA
 
NIA THAIJAPAN 2017 02 03
NIA THAIJAPAN 2017 02 03NIA THAIJAPAN 2017 02 03
NIA THAIJAPAN 2017 02 03
 
Innovation journey 29092014 BAAC@nakornnayok
Innovation journey 29092014 BAAC@nakornnayokInnovation journey 29092014 BAAC@nakornnayok
Innovation journey 29092014 BAAC@nakornnayok
 
Business Innovation Trend 20032017
Business Innovation Trend 20032017Business Innovation Trend 20032017
Business Innovation Trend 20032017
 
Innovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTInnovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOT
 
NIAMITSUBISHI 2016 07 08
NIAMITSUBISHI 2016 07 08NIAMITSUBISHI 2016 07 08
NIAMITSUBISHI 2016 07 08
 
NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28NIAPMAT 2016 06-28
NIAPMAT 2016 06-28
 
Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823Creativity & innovation management@KKU 20140823
Creativity & innovation management@KKU 20140823
 
Creativity & business innovation development 28082014@KU
Creativity & business innovation development 28082014@KUCreativity & business innovation development 28082014@KU
Creativity & business innovation development 28082014@KU
 
Creativity and innovation 20120730 pea
Creativity and innovation 20120730 peaCreativity and innovation 20120730 pea
Creativity and innovation 20120730 pea
 
NIA MAHIDOL INNOVATION
NIA MAHIDOL INNOVATIONNIA MAHIDOL INNOVATION
NIA MAHIDOL INNOVATION
 
NIADEI the innovation's method
NIADEI the innovation's methodNIADEI the innovation's method
NIADEI the innovation's method
 
Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]
Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]
Organization oriented creativity and innovation 20140616 [innovation journey]
 
Innovation EGAT 2017 07-21
Innovation EGAT 2017 07-21Innovation EGAT 2017 07-21
Innovation EGAT 2017 07-21
 

Destacado

II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - TuentiII Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - TuentiPromálaga
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีMuhamadkamae Masae
 
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A BrickCreative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A BrickSandy Cormack
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
Techniques of creative thinking
Techniques of creative thinkingTechniques of creative thinking
Techniques of creative thinkingPranav Kumar Ojha
 
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)pantapong
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

Destacado (9)

Makabayan
MakabayanMakabayan
Makabayan
 
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - TuentiII Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A BrickCreative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
 
main Map
main Mapmain Map
main Map
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
Techniques of creative thinking
Techniques of creative thinkingTechniques of creative thinking
Techniques of creative thinking
 
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 

Similar a Innovation journey 20150402 07 day#2

NIA-Khon Kaen curriculum development
NIA-Khon Kaen curriculum developmentNIA-Khon Kaen curriculum development
NIA-Khon Kaen curriculum developmentpantapong
 
NIA-Thanyaburi
NIA-ThanyaburiNIA-Thanyaburi
NIA-Thanyaburipantapong
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilitypantapong
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
Innovation Journey 20140905 BAAC@HQ
Innovation Journey 20140905 BAAC@HQInnovation Journey 20140905 BAAC@HQ
Innovation Journey 20140905 BAAC@HQpantapong
 
8 weeks#2 morphologic 20140608
8 weeks#2 morphologic 201406088 weeks#2 morphologic 20140608
8 weeks#2 morphologic 20140608pantapong
 
8 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#1
8 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#18 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#1
8 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#1pantapong
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxMadameMimNattiya1
 
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfInnovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfpantapong
 
Learning innovative Design101
Learning innovative Design101Learning innovative Design101
Learning innovative Design101joe aphiboon
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedsaowana
 
Idig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapongIdig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapongpantapong
 

Similar a Innovation journey 20150402 07 day#2 (20)

NIA-Khon Kaen curriculum development
NIA-Khon Kaen curriculum developmentNIA-Khon Kaen curriculum development
NIA-Khon Kaen curriculum development
 
NIA-Thanyaburi
NIA-ThanyaburiNIA-Thanyaburi
NIA-Thanyaburi
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Innovation Journey 20140905 BAAC@HQ
Innovation Journey 20140905 BAAC@HQInnovation Journey 20140905 BAAC@HQ
Innovation Journey 20140905 BAAC@HQ
 
8 weeks#2 morphologic 20140608
8 weeks#2 morphologic 201406088 weeks#2 morphologic 20140608
8 weeks#2 morphologic 20140608
 
Backward design
Backward designBackward design
Backward design
 
8 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#1
8 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#18 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#1
8 weeks innovation & value,utility,exchange 20140501 week#1
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptx
 
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfInnovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
 
Learning innovative Design101
Learning innovative Design101Learning innovative Design101
Learning innovative Design101
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open ended
 
Itage2
Itage2Itage2
Itage2
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
Thinking for computer class
Thinking for computer classThinking for computer class
Thinking for computer class
 
Idig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapongIdig nfe 20110507 by pantapong
Idig nfe 20110507 by pantapong
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 

Más de pantapong

Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024pantapong
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023pantapong
 
2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovation2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovationpantapong
 
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdfFinal APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdfpantapong
 
2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovation2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovationpantapong
 
19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Management19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Managementpantapong
 
Innovation Management TNSC
 Innovation Management TNSC Innovation Management TNSC
Innovation Management TNSCpantapong
 
Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021pantapong
 
Thailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCThailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCpantapong
 
Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021pantapong
 
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap pantapong
 
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next levelThailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next levelpantapong
 
Exponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update JuneExponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update Junepantapong
 
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next levelThailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next levelpantapong
 
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation TransformationAIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformationpantapong
 
Innovation & Waste Transformation
Innovation & Waste TransformationInnovation & Waste Transformation
Innovation & Waste Transformationpantapong
 
Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020pantapong
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital TransformationNBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformationpantapong
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation : NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation : pantapong
 
Exponential Innovation and Innovation Ecosystem
Exponential Innovation and Innovation EcosystemExponential Innovation and Innovation Ecosystem
Exponential Innovation and Innovation Ecosystempantapong
 

Más de pantapong (20)

Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024Next10 - exponential - innovation - 2024
Next10 - exponential - innovation - 2024
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 
2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovation2023 Next10 Exponential Innovation
2023 Next10 Exponential Innovation
 
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdfFinal APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
Final APEC ERW 25 Aug 2022.pdf
 
2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovation2022 Next10 Exponential Innovation
2022 Next10 Exponential Innovation
 
19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Management19102021 Innovation Management
19102021 Innovation Management
 
Innovation Management TNSC
 Innovation Management TNSC Innovation Management TNSC
Innovation Management TNSC
 
Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021Innovation in crisis FTPI 02072021
Innovation in crisis FTPI 02072021
 
Thailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSCThailand Innovation Transformation TNSC
Thailand Innovation Transformation TNSC
 
Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021Exponential innovation next10: 2021
Exponential innovation next10: 2021
 
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
CIO_ONDE 23092020 innovation roadmap
 
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next levelThailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
Thailand Innovation Road map: Transforming your business to Next level
 
Exponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update JuneExponential innovation next10 2020 Update June
Exponential innovation next10 2020 Update June
 
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next levelThailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
Thailand's Innovation Transformation : Transforming your business to next level
 
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation TransformationAIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
AIVS - AI, Industrial Data Space, and Innovation Transformation
 
Innovation & Waste Transformation
Innovation & Waste TransformationInnovation & Waste Transformation
Innovation & Waste Transformation
 
Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020Innovation and Farm Transformation March 2020
Innovation and Farm Transformation March 2020
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital TransformationNBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation
 
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation : NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
NBTC 03122019 : Innovation and Digital Transformation :
 
Exponential Innovation and Innovation Ecosystem
Exponential Innovation and Innovation EcosystemExponential Innovation and Innovation Ecosystem
Exponential Innovation and Innovation Ecosystem
 

Innovation journey 20150402 07 day#2

  • 1. 12-3,7 เมษายน 2558 Innovation Journey การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้วยกระบวนการคิดและแก้ปัญหา
  • 2. 22-3,7 เมษายน 2558 Day#1 ทฤษฎี ปรัชญาแนวคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม Day#2 กระบวนการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมและตัดสินใจ Day#3 การขยายผลความคิดสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และการจัดการนวัตกรรม
  • 3. 32-3,7 เมษายน 2558 Day#2 กระบวนการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมและตัดสินใจ #1 การจุดประกายความคิดใหม่ #2 เครื่องมือการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และ ความคิดสร้างสรรค์กับนวัตกรรม SCAMPER | Morphological Analysis | TRIZ หัวข้อการบรรยาย
  • 4. 42-3,7 เมษายน 2558 #1 การจุดประกายความคิดใหม่ Idea Generation is the creative process of generating, developing, and communicating new ideas, where an idea is understood as a basic element of thought that can be either visual, concrete, or abstract.
  • 5. 52-3,7 เมษายน 2558 การจุดประกาย ความคิด เครื่องมือพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ การตั้งคาถาม ที่ดีและถูกต้อง การค้นหา และการรับรู้โอกาส การรับรู้โอกาส การคัดเลือกไอเดีย ไอเดียน่าสนใจ และมีคุณค่า การคัดเลือกโครงการ โครงการพร้อมพัฒนา แนวคิดและบริบท ของการพัฒนาไอเดีย การพัฒนาข้อเสนอ และพัฒนาไอเดีย การออกแบบ พัฒนาต้นแบบ การวิเคราะห์และปรับปรุง คุณค่า พิจารณาผลตอบแทน การขยายผล ไอเดีย นิยาม
  • 6. 62-3,7 เมษายน 2558 ความสาคัญของการจุดประกายความคิด Idea Generation หัวข้อการบรรยาย  แหล่งที่มาของความคิด (Source of Idea)  พฤติกรรมของลูกค้า (Customer Behavior)  ความรู้เพื่อนวัตกรรม (Knowledge2Innovation)
  • 8. 82-3,7 เมษายน 2558 คุณค่า กับ การทางานของสมองและพฤติกรรม Object Subject Marketing Decision Branding Interest Buy Loyalty
  • 9. 92-3,7 เมษายน 2558 รูปแบบกระบวนการสร้างสรรค์ Creative Process Model หัวข้อการบรรยาย  การตั้งโจทย์ปัญหา (Problem Preparation)  การจุดประกายความคิด (Idea Generation)  การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
  • 11. 112-3,7 เมษายน 2558 การจุดประกาย ความคิด เครื่องมือพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ การตั้งคาถาม ที่ดีและถูกต้อง การค้นหา และการรับรู้โอกาส การรับรู้โอกาส การคัดเลือกไอเดีย ไอเดียน่าสนใจ และมีคุณค่า การคัดเลือกโครงการ โครงการพร้อมพัฒนา แนวคิดและบริบท ของการพัฒนาไอเดีย การพัฒนาข้อเสนอ และพัฒนาไอเดีย การออกแบบ พัฒนาต้นแบบ การวิเคราะห์และปรับปรุง คุณค่า พิจารณาผลตอบแทน การขยายผล ไอเดีย รูปแบบกระบวนการสร้างสรรค์
  • 18. 182-3,7 เมษายน 2558 การแบ่งประเภทการจุดประกายความคิด  แรงบันดาลใจ (Inspiration)  การวิจัย (Research)  การแสดงให้เห็น (Represent)  การปรับแต่ง (Refine)  การร่วมรังสรรค์ (Co-Creation) การจุดประกายความคิด (Idea Generation)
  • 20. 202-3,7 เมษายน 2558 การประเมินความคิด (Idea Evaluation) แนวทางการประเมินความคิด ตารางให้คะแนนความคิด (Concept Scoring Matrix) การประเมินคุณค่าความคิด (Value Prepositions) การประเมินต้นทุนและผลกระทบ (Cost-Impact Analysis)
  • 23. 232-3,7 เมษายน 2558 CustomerValue : Cost-Impact analysis Low Cost High Cost High Impact Low Impact #1 #2#3 การประเมินความคิด (Idea Evaluation)
  • 24. 242-3,7 เมษายน 2558 การประเมินความคิด (Idea Evaluation) แนวคิด ทั้งหมด คะแนน ศักยภาพระดับสูง ศักยภาพระดับต่า พักไว้ก่อน
  • 28. 282-3,7 เมษายน 2558 ขั้นตอนการทานวัตกรรมสู่ความสาเร็จ การค้นหาโอกาส เครื่องมือการ แก้ปัญหา Opportunity Scanning - 7 ขั้นตอนของการจุดประกายความคิด - เข้าใจถึงอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า การเยี่ยมลูกค้า และซัพพลายเออร์ - การเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ช่องว่าง - การสร้างเงื่อนไขเพื่อเปิ ดช่องว่างและ หาทางแก้ปัญหา (Proactive Gap Creation) - การค้นหาความเจ็บปวดของลูกค้า Customer Pain Point - เครื่องมือในการแก้ปัญหา
  • 29. 292-3,7 เมษายน 2558 การจุดประกายความคิด  7 ขั้นตอนของการจุดประกายความคิด  ทุกคนต้องมีความส่วนในการจุดประกาย  ลูกค้าต้องมาอยู่ในกระบวนการจุดประกาย  นาแนวคิดเสนอกับลูกค้าในมุมมองใหม่ๆ  เน้นไปที่จุดความต้องการที่ไม่ชัดเจนของลูกค้า  ค้นหาไอเดียจากลูกค้ากลุ่มใหม่  ให้ซัพพลายเออร์เข้ามาร่วมในการจุดประกายความคิด  เปรียบเทียบผลการจุดประกายความคิด
  • 31. 312-3,7 เมษายน 2558 กิจกรรมที่ 1 VALUE IDEA FEEDBACK Value Idea Feedback  แบ่งออกเป็ น 3 ตอน  ตอนที่ 1 IDEA Searching  ตอนที่ 2 IDENTIFICATION  ตอนที่ 3 IDEA Testing  เติมลงไปใน Idea Feedback  นาเสนอมุมมองของลูกค้าที่สัมภาษณ์  นาเสนอปัญหาอุปสรรคของการ สื่อสารไปยังลูกค้า
  • 33. 332-3,7 เมษายน 2558 #2 เครื่องมือการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ SCAMPER | Morphological Analysis | TRIZ
  • 34. 342-3,7 เมษายน 2558 Creativity Tool  เครื่องมือสาหรับ การคิดเชิงจิตวิทยา  การระดมสมอง Mind Map  SCAMPER - Morphologist  การคิดเชิงระบบ  TRIZ (Methodology + knowledge base)
  • 35. 352-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis  ออกแบบโดย Fritz Zwicky (1942) เพื่อนามาแก้ไขปัญหา ที่มีความซับซ้อน  เป็ นเครื่องมือเพื่อค้นหาวิธีการด้วยการรวมกัน (Combination) เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ หรือ การบริการใหม่ๆ  ทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของรายการองค์ประกอบ (Component) และ ระบบ (System)  ทาการวิเคราะห์โอกาสและศักยภาพการรวมกันของทางเลือก ต่างๆ เพื่อค้นหาคาตอบ
  • 36. 362-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis นาไปใช้ที่ไหนได้บ้าง  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการใหม่ การบริการใหม่ รวมทั้งการจัดการคุณค่า  การออกแบบและวางแผนยุทธศาสตร์  การต่อรองและวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Analysis)
  • 37. 372-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis ขั้นตอนที่ 1 ระดมสมองเพื่อระบุปัญหาที่แท้จริง  ค้นหาและวิเคราะห์คุณลักษณะของปัญหาที่เราพบ
  • 38. 382-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และระบุองค์ประกอบและระบบ  ค้นหาและวิเคราะห์องค์ประกอบและระบบที่เป็ นไป ได้ พร้อมทั้งเติมส่วนความเป็ นไปได้ องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3 ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3
  • 39. 392-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของทางเลือก ต่างๆ เพื่อค้นหาคาตอบ วัสดุ ขา ความสูง สี รูปแบบ เสริม ไม้ 1 30 ธรรมชาติ สี่เหลี่ยม แขนจับ พลาสติก 2 50 โปร่งแสง กลม กล่อง แก้ว 3 70 สีสดใสโลกสวย ธรรมชาติ โต๊ะ หิน 4 90 สีเทา ประหลาด โคมไฟ โลหะ 120 สีโบราณ เพิ่มพลังงาน นวด สักหลาด สีทึบ ศรัธทรา ให้ความอบอุ่น สีดา ให้ความรัก
  • 40. 402-3,7 เมษายน 2558 วัสดุ ขา ความสูง สี รูปแบบ เสริม ไม้ 1 30 ธรรมชาติ สี่เหลี่ยม แขนจับ พลาสติก 2 50 โปร่งแสง กลม กล่อง แก้ว 3 70 สีสดใสโลกสวย ธรรมชาติ โต๊ะ หิน 4 90 สีเทา ประหลาด โคมไฟ โลหะ 120 สีโบราณ เพิ่มพลังงาน นวด สักหลาด สีทึบ ศรัธทรา ให้ความอบอุ่น สีดา ให้ความรัก Morphological Analysis ขั้นตอนที่ 4 “Morphological Box” นาความเป็ นไปได้ จากการวิเคราะห์ เพื่อรวมเป็ นแนวทางการแก้ปัญหา
  • 41. 412-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis ขั้นตอนที่ 5 สังเคราะห์ทางเลือกและทางแก้ไขปัญหา #1 #2
  • 42. 422-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis CustomerX : Emotion map
  • 43. 432-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis CustomerValue : Cost-Impact analysis Low Cost High Cost High Impact Low Impact #1 #2#3
  • 44. 442-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหา ขั้นตอนที่ 2 เลือกองค์ระกอบ ขั้นตอนที่ 3 จัดเรียง ขั้นตอนที่ 4 ค้นหาทางเลือก ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์คาตอบ การวิเคราะห์ Morphological พัฒนาต้นแบบ
  • 46. 462-3,7 เมษายน 2558 Morphological Analysis ดินสอ และ ปากกา
  • 50. 502-3,7 เมษายน 2558  เป็ นสิ่งที่ต้องสนใจเป็ นความ ผิดปกติ ความแตกต่างจากสิ่งที่ เป็ นปกติและเหมือนกัน  ธรรมชาติในความเหมือนที่ แตกต่างกัน  เป็ นความเหมือนแต่หากมองใน อีกมุมที่ต่างกัน ก็ได้  ผลลัพธ์ในความคิดที่ต่างกัน ออกไป Freak of Nature by Mark S Blumberg อะไรคือการสร้างสรรค์
  • 52. 522-3,7 เมษายน 2558  มองให้ต่างกันออกไป เคยมีคนกล่าวไว้ว่า  พฤติกรรมของคนที่แสดงออกมากับสิ่งๆ หนึ่ง  10% คิด ลงมือทา สร้างสรรค์  80% ใช้ รับเทคโนโลยี จ่ายเงินซื้อ  10% วิจารณ์ ต่อต้าน อะไรคือการสร้างสรรค์
  • 57. 572-3,7 เมษายน 2558 What Creativity Means To You อะไรคือการสร้างสรรค์
  • 59. 592-3,7 เมษายน 2558 การสร้างสรรค์ เกิดขึ้นตรงไหนบ้าง การสร้างสรรค์พบได้ทั่วไป : ในงานศิลปะ งานบันเทิง งานธุรกิจ ใน คณิตศาสตร์ ในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การแพทย์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การสร้างสรรค์ต้องมีเงื่อนไข 3 อย่าง POM | ความเป็ นส่วนตัว personality | ความเป็ นสิ่งแรก originality | การมีความหมาย meaning การสร้างสรรค์ ในแง่ ศิลป คล้ายกับช่วงความรู้สึกที่อิสระของงานออกแบบ การประดิษฐ์และ ความฝัน แต่ ในแง่ วิทยาศาสตร์ การค้นหาเข้าถึงความ จริงเพื่อพิสูจน์องค์ความรู้ต่างๆ การสร้างสรรค์ The Creative Economy, John Howkins
  • 60. 602-3,7 เมษายน 2558 ศาสนาพุทธ : การเกิดปัญญามาจาก ศีล | สมาธิ |ปัญญา สติ คือ สัญชาตญาณของการอยู่รอด สติ ทาหน้าที่เป็ นเครื่องขนส่ง ความรู้ ความจา มาใช้ให้ทันเวลา เพื่อสร้างให้เกิด ปัญญา การสร้างสรรค์ The Creative Economy, John Howkins
  • 61. 612-3,7 เมษายน 2558  ความเป็ นปัจเจกบุคคล  มนุษย์เท่านั้นที่สามารถสร้างสรรค์ได้  เครื่องจักรจะมีสติในการสร้างสิ่งใหม่ได้ไหม เขาทาได้แค่การผลิตได้ แต่สร้างไม่ได้ “คอมพิวเตอร์เป็ นสิ่งไร้ค่า มันให้ได้แค่คาตอบเท่านั้น” ความเป็ นส่วนตัว personality การสร้างสรรค์ The Creative Economy, John Howkins
  • 62. 622-3,7 เมษายน 2558  การสร้างสรรค์ต้องเป็ นสิ่งต้นแบบ สิ่งใหม่ “บางสิ่งที่เกิดจากความไม่มี” | “สร้างจากความไม่มี”  การเป็ นสิ่งแรกนั้นต้อง ไม่มีมาก่อน คือ ความใหม่ แตกต่าง คือ ความเป็ นเอกลักษณ์  ความเป็ นเอกลักษณ์ นั้นเคย เป็ นสิ่งใหม่  แต่สิ่งใหม่ บางครั้งก็ไม่มีเอกลักษณ์เอาเสียเลย ความเป็ นสิ่งแรก originality การสร้างสรรค์ The Creative Economy, John Howkins
  • 63. 632-3,7 เมษายน 2558  การสร้างสรรค์ต้องมีความหมาย ไม่ว่าจะเป็ น ความหมายส่วนตัวหรือความหมายเล็กๆ  ความหมาย สื่อถึง ความเป็ นเฉพาะกลุ่ม คณะ ซึ่งการ สร้างสรรค์อย่างไรก็ต้องมีความหมาย การมีความหมาย meaning การสร้างสรรค์ The Creative Economy, John Howkins
  • 64. 642-3,7 เมษายน 2558  การสร้างสรรค์เฉยๆ นั้นไม่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ  ต้องนาการสร้างสรรค์นั้นมา แปรรูป รังสรรค์  จนมันกลายเป็ น ผลิตภัณฑ์ | บริการ | กระบวนการ  ซึ่งจะสามารถกาหนดราคาอย่างมีเหตุมีผล  จนเกิดการ แลกเปลี่ยน ทาการซื้อ การขาย เกิดเป็ น มูลค่าทางเศรษฐกิจออกมา การสร้างสรรค์ The Creative Economy, John Howkins
  • 65. 652-3,7 เมษายน 2558 การสร้างสรรค์ creativity แรงจูงใจ ความสนใจ ความหลงใหลใน งานที่ต้องการสร้างสรรค์ องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความรู้ ความเข้าใจในประเด็นที่ ต้องการสร้างสรรค์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ แนวทางในการแก้ปัญหา หรือจินตนาการของ แต่ละบุคคล องค์ประกอบ 3 ประการในการคิดสร้างสรรค์
  • 66. 662-3,7 เมษายน 2558 แนวทางการก่อเกิดความคิดใหม่ ลงมือ แก้ปัญหา ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ การบริการ การสร้างสรรค์ ปัญหา ความต้องการ หรือ โอกาส หาทาง แก้ปัญหา Heuristic TRIZ Brainstorms ประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือสังคม
  • 68. 682-3,7 เมษายน 2558  Accelerate innovation with TRIZ  a Catalyst of innovation  Theory of inventive  The theory of inventor's problem solving  Innovation tool
  • 69. 692-3,7 เมษายน 2558 อะไรคือ “TRIZ” ? Теория решения изобретательских задач Teoriya Resheniya Izobretatelskikh Zadatch ความหมายคือ “Theory of Inventive Problem Solving” หรือ เรากาลังพูดถึงวิธีแก้ปัญหาในการ ประดิษฐ์คิดค้นแบบ รัสเซีย
  • 70. 702-3,7 เมษายน 2558  New Product Development using TRIZ technique contradiction  Patent circumvention  Cost reduction / Productivity  System/Process improvement  Product improvement  Technical forecasting (S-curve)
  • 71. 712-3,7 เมษายน 2558 “ประวัติ TRIZ” พัฒนาและคิดค้นโดย เกนริค อัลชูลเลอร์ และคณะ โดยการวิเคราะห์สิทธิบัตรกว่า 3 ล้านฉบับ ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่สามารถ เรียนรู้กันได้หรือไม่ ?
  • 73. 732-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่าง : รูปแบบการประดิษฐ์คิดค้น ปัญหา : ช่วยกันหาวิธีในการป้ องกันไม่ให้ผิวนอก ของเรือไฮดรอฟลอยด์นั้นถูกทาลาย กัดกร่อน
  • 75. 752-3,7 เมษายน 2558 TRIZ ทางานอย่างไร?
  • 76. 762-3,7 เมษายน 2558 TRIZ ทางานอย่างไร?
  • 77. 772-3,7 เมษายน 2558 ระบุปัญหา / ระบบของปัญหาคืออะไร ความเป็ นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ Ideal Final Result, IFR พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิคและกายภาพ ค้นหาคาตอบทั่วไปและลงมือทา การพัฒนานวัตกรรมด้วย TRIZ วิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์ระบบ การปฏิบัติ วิเคราะห์ปัญหา
  • 78. 782-3,7 เมษายน 2558 ระบุปัญหา / ระบบของปัญหาคืออะไร  ปัญหาและระบบ  TRIZ มองปัญหาอย่างเป็ นระบบ
  • 79. 792-3,7 เมษายน 2558  ปากกาไม่สามารถเขียนอวกาศได้  การแก้ปัญหานี้ NASA ใช้เวลา 10 ปี และ ใช้เงินมูลค่า 12 ล้านดอลลาร์ (480 ล้านบาท)  ปากกาที่สามารถใช้งานได้ที่แรงโน้มถ่วงเป็ น 0  เขียนแบบคว่าหรือเขียนที่ใต้น้า  เขียนที่อุณหภูมิช่วงต่ากว่าจุดเยือกแข็งจนถึงที่ มากกว่า 300 องศาเซลเซียส ปัญหาที่แท้จริงคืออะไร! ? การระบุปัญหา
  • 82. 822-3,7 เมษายน 2558  เมื่อกล่าวถึงระบบทางเทคนิคประกอบด้วย  “กลไก/อุปกรณ์” สาหรับทาหน้าที่หรือ เป็ นสื่อกลางเพื่อ ทาหน้าที่อะไรบางอย่าง  จะต้องมี “เป้ าหมาย” ในการทาหน้าที่ของเขา ระบบคืออะไร?
  • 83. 832-3,7 เมษายน 2558 TRIZ มองปัญหาอย่างเป็ นระบบ (System approach)  TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานั้น จะไม่ยึดติดอยู่กับ เหตุการณ์ที่เกิดเฉพาะเท่านั้น แต่จะมองอย่างเป็ น ระบบ ซึ่งระบบนั้นอาจประกอบขึ้นจาก  ระบบส่วนบน และ ระบบส่วนล่าง  ซึ่งต้องมองให้ออกว่าแก่นของสภาพปัญหาอยู่ระดับ ไหนของระบบ TRIZ
  • 85. 852-3,7 เมษายน 2558  การแก้ปัญหาความปลอดภัยของระบบการขนส่ง  ระบบการบังคับเลี้ยว คือ การพัฒนาระบบเซนเซอร์ในการ ตรวจสอบและประเมินอันตรายที่เกิดขึ้น เพื่อนาไปประมวลและ เข้าควบคุมระบบบังคับเลี้ยวโดยตรง  ระบบการเบรค คือ การพัฒนาระบบเบรคให้ลงลึงเข้าไปใน อนุภาคของผ้าเบรคให้มีคุณภาพดีขึ้น  ระบบเครื่องยนต์ คือ การพัฒนาเครื่องยนต์ที่สามารถควบคุม ความเร็วในการขับขี่ได้ เป็ นต้น ตัวอย่าง มองปัญหาอย่างเป็ นระบบ
  • 86. 862-3,7 เมษายน 2558 TRIZ เข้าใจฟังก์ชันของระบบ (Function approach)  TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานั้น ต้องรู้หน้าที่การงาน หรือ ฟังก์ชัน Function  ฟังก์ชันหลัก ที่เป็ นประโยชน์ของระบบ  ฟังก์ชันที่ไม่เป็ นประโยชน์  ฟังก์ชันที่ควรมีในระบบ แต่หายไป TRIZ
  • 87. 872-3,7 เมษายน 2558 TRIZ เข้าใจทรัพยากรในระบบ (Resource approach)  TRIZ มองว่าการแก้ปัญหานั้น ต้องพิจารณาทรัยากรที่ มีอยู่ในระบบ  วัสดุ เวลา ฟังก์ชัน พลังงาน ข้อมูล TRIZ
  • 88. 882-3,7 เมษายน 2558  ความเป็ นอุดมคติ  ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติที่ต้องการ  Ideal Final Result ความเป็นอุดมคติ ผลลัพธ์สุดท้ายในอุดมคติ Ideal Final Result, IFR
  • 89. 892-3,7 เมษายน 2558  กฎความเป็ นอุดมคติ คืออะไร Law of ideality?  เมื่อกล่าวถึงระบบทางเทคนิค  จะต้องมี “กลไก/อุปกรณ์” สาหรับทาหน้าที่หรือ เป็ นสื่อกลาง เพื่อทาหน้าที่อะไรบางอย่าง  จะต้องมี “เป้ าหมาย” ในการทาหน้าที่ของเขา“ ”ระบบทางเทคนิคอินพุท เอาต์พุท กลไก #1 กลไก #2 เป้ าหมาย ผลตอบแทน พลังงาน ต้นทุน
  • 90. 902-3,7 เมษายน 2558 กฎความเป็ นอุดมคติ  กฎความเป็ นอุดมคติ Law of ideality คือ ความเป็ นไปได้ ในเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ของระบบที่ดีที่สุด สาหรับการ แก้ปัญหานั้นๆ  โดยไม่คานึงถึง ทรัพยากร หรือ เงื่อนไขต่างๆ ของปัญหา  Ideal Final Result ,IFR คือ เป้ าหมายหรือผลลัพท์สุดท้ายในอุดมคติที่ต้องการ
  • 91. 912-3,7 เมษายน 2558 กฎความเป็ นอุดมคติ ประโยชน์ในการใช้ ซ้ามากขึ้น เนื่องจาก ปัญหาทางด้าน ทรัพยากรที่มีจากัด และความแข็งแรง ทนทาน แก้ปัญหาในเรื่อง พื้นที่ โดยทาให้ สามารถซ้อนกันได้ ขณะใช้งานเสร็จแล้ว
  • 92. 922-3,7 เมษายน 2558 พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค  พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค  การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่
  • 93. 932-3,7 เมษายน 2558 ความขัดแย้งเชิงเทคนิค กับหลักการ 40 ข้อในการประดิษฐ์คิดค้น ตัวอย่างความขัดแย้งเชิงเทคนิค ระบบเทคนิค ความขัดแย้งเชิงเทคนิค  เครื่องจักร อุปกรณ์ทางกล เมื่อเพิ่มความแข็งแรง น้าหนักจะเพิ่มขึ้น  รถไฟ รถยนต์ เครื่องบิน เมื่อเพิ่มความเร็ว การสั่นสะเทือนจะมากขึ้น  วงจรไฟฟ้ า เมื่อเพิ่มความเร็วการสวิตชิ่ง ทาให้สัญญาณรบกวนมากขึ้น พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
  • 94. 942-3,7 เมษายน 2558 พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค 3 ขั้นตอนในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ระบบทางเทคนิค ระบุข้อขัดแย้งทางเทคนิค แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิค
  • 95. 952-3,7 เมษายน 2558 พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค เพื่อกาหนดลักษณะสมบัติของระบบ  ลักษณะสมบัติของระบบ คือ ค่าทางกายภาพหรือคุณสมบัติที่ ต้องการปรับปรุง เช่น น้าหนัก ขนาด สี ความเร็ว ความ แข็งแรง ปริมาตร อุณหภูมิ ความแม่นยา แรงดึง แรงดัน อันตรายจากระบบ ความสะดวกในการใช้งาน พื้นที่ …  สุดท้ายก็คือ สมบัติความขัดแย้งทั้ง 39 ข้อของระบบทาง เทคนิค วิเคราะห์ระบบทางเทคนิค
  • 96. 962-3,7 เมษายน 2558 1. น้าหนักของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ 2. น้าหนักของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่ 3. ความยาวของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ 4. ความยาวของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่ 5. พื้นที่ของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ 6. พื้นที่ของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่ 7. ปริมาตรของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ 8. ปริมาตรของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่ 9. ความเร็ว 10. แรง 11. แรงดึง แรงดัน 12. รูปร่าง 13. เสถียรภาพของวัตถุ 14. ความแข็งแรง 15. ความทนทานของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ 16. ความทนทานของวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่ 17. อุณหภูมิ 18. ความสว่าง 19. พลังงานที่ใช้ไปโดยวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ 20. พลังงานที่ใช้ไปโดยวัตถุซึ่งไม่เคลื่อนที่ 21. กาลัง 22. การสูญเสียไปของพลังงาน 23. การสูญเสียไปของสสาร 24. การสูญเสียไปของข้อมูล 25. การสูญเสียไปของเวลา 26. จานวนของสสาร 27. ความน่าเชื่อถือ 28. ความแม่นยาของการวัด 29. ความแม่นยาของการผลิต 30. ปัจจัยอันตรายซึ่งกระทาต่อวัตถุ 31. ปัจจัยอันตรายที่ตามมา 32. ความสามารถในการผลิต 33. ความสะดวกในการใช้ 34. ความสะดวกในการเก็บรักษา 35. ความสามารถในการปรับตัวได้ 36. ความซับซ้อนของอุปกรณ์ 37. ความซับซ้อนของการควบคุม 38. ระดับของความอัตโนมัติ 39. ผลิตภาพ ลักษณะสมบัติของระบบ
  • 99. 992-3,7 เมษายน 2558  การแก้ปัญหาหลอดไฟ T8 ไม่ให้ฝุ่นเกาะ แบบฟอร์ม P1 การสร้างสูตรของลักษณะสมบัติที่จะปรับปรุง  ระบุชื่อของระบบทางเทคนิค :: การลดฝุ่นละอองที่เกาะอยู่บนผิวหลอดไฟ  กาหนดเป้ าหมายของระบบทางเทคนิค (ระบบได้รับการออกแบบมาเพื่อ) เพื่อลดปัญหาฝุ่นที่จะเกาะบนผิวหลอดไฟ  รายชื่อส่วนประกอบของระบบทางเทคนิคและหน้าที่การทางานของระบบ ชื่อส่วนประกอบ หน้าที่การทางาน หลอดไฟ เป็ นตัวกลางให้แสงสว่าง เส้นหลอด ขั้วหลอดและขารับหลอด ยึดหลอดไว้บนเพดาน สารเคลือบหลอด เพิ่มความสว่างของหลอดไฟ ก๊าซเฉื่อย ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค วิเคราะห์ระบบทางเทคนิค
  • 100. 1002-3,7 เมษายน 2558  บรรยายการทางานของระบบทางเทคนิค กระแสไฟฟ้ าจะกระตุ้นอะตอมของสารปรอท ให้อยู่ในสภาวะกระตุ้นและจะปลดปล่อย พลังงานออกมาในรูปของแสง ซึ่งหลอดไฟก็เกิดไฟฟ้ าสถิตย์จึงทาให้ฝุ่นละอองมาเกาะ และทาให้แสงสว่างลดลงและต้องทาความสะอาดบ่อยครั้ง  กาหนดลักษณะสมบัติที่ควรได้รับการปรับปรุงหรือขจัดทิ้งไป ปรับปรุงสภาพผิวหลอดไฟ ต้องการขจัดและลดปัญหาการเกาะของฝุ่นละอองในอากาศ ที่เป็ นผลร้ายจากสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
  • 101. 1012-3,7 เมษายน 2558 พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค ลักษณะของวัตถุบางอย่างจะลดลงเมื่อมีการปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัตินึง ระบุข้อขัดแย้งให้ชัดเจน  โดยสามารถมองออกมาเป็ น scenario#1,2,3… ซึ่งเป็ นการ ระบุคู่ความขัดแย้งที่สามารถหาได้ในระบบหรือปัญหา ระบุข้อขัดแย้งทางเทคนิค
  • 102. 1022-3,7 เมษายน 2558 แบบฟอร์ม P2 การสร้างสูตรของความขัดแย้งทางเทคนิค รายการที่ 1 การระบุลักษณะสมบัติเชิงบวกที่ควรได้รับการปรับปรุง  ลักษณะสมบัติ ความสว่าง ปัจจัยอันตรายจากภายนอก (ฝุ่นละอองที่เกาะบนผิว)  ระบุวิถีปกติที่ใช้ในการปรับปรุงลักษณะสมบัติ หาอุปกรณ์มาครอบเอาไว้ ทา ความสะอาดเป็ นประจา  ระบุลักษณะสมบัติที่ด้อยลงเมื่อตกอยู่ในเงื่อนไข 1b ความสว่าง รูปร่าง เสถียรภาพองค์ประกอบ  สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิคดังต่อไปนี้ ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค ระบุข้อขัดแย้งทางเทคนิค
  • 103. 1032-3,7 เมษายน 2558 พิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค ในขั้นตอนนี้ใช้ตารางความขัดแย้งมาช่วยในการหาแนว ทางการแก้ปัญหา และ ช่วยแก้ข้อขัดแย้งทางเทคนิค โดยการใช้ TRIZ หลักการ 40 ข้อ มาช่วยตอบปัญหา แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิค
  • 104. 1042-3,7 เมษายน 2558 หลักการ 1 แบ่งส่วน (segmentation) 2 สกัดออก (extraction) 3 ลักษณะเฉพาะ (local quality) 4 ไม่สมมาตร (asymmetry) 5 รวมกัน (consolidation) 6 อเนกประสงค์ (universality) 7 ซ้อนกัน (nesting) 8 คานน้าหนัก (counterweight) 9 กระทาการต้านทานก่อน (prior counter-action) 10 กระทาก่อน (prior action) 11 ป้ องกันไว้ก่อน (cushion in advance) 12 ศักยภาพเท่ากัน (equipotentiality) 13 ทากลับทาง (do it in reverse) 14 ทรงกลม (spheroidality) 15 พลวัต (dynamicity) 16 กระทาบางส่วนหรือมากกว่า (partial or excessive action) 17 แปลงสู่มิติใหม่ (transition into a new dimension) 18 สั่นเชิงกล (mechanical vibration) 19 กระทาเป็นจังหวะ (periodic action) 20 กระทาต่อเนื่องที่เป็นประโยชน์ (continuity of useful action) หลักการ 21 กระทาอย่างว่องไว (rushing through) 22 เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส (convert harm into benefit) 23 ป้ อนกลับ (feedback) 24 ตัวกลาง (mediator) 25 บริการตัวเอง (self service) 26 เลียนแบบ (copying) 27 ใช้แล้วทิ้ง (dispose) 28 แทนระบบเชิงกล (replacement of mechanical system) 29 ใช้ระบบนิวเมติคหรือไฮดรอลิค (pneumatic or hydraulic construction) 30 เยื่อยืดหยุ่นและฟิลม์บาง (flexible membranes or thin films) 31 วัสดุรูพรุน (porous material) 32 เปลี่ยนสี (changing of colour) 33 เนื้อเดียว (homogeneity) 34 ใช้ชิ้นส่วนที่สลายและเกิดใหม่ (rejecting and regenerating part) 35 เปลี่ยนลักษณะสมบัติ (transformation of the properties) 36 แปลงสถานะ (phase transition) 37 ขยายตัวด้วยความร้อน (thermal expansion) 38 เติมอากาศอย่างรวดเร็ว (accelerated oxidation) 39 สภาพแวดล้อมเฉี่อย (inert environment) 40 วัสดุคอมโพสิท (composite materials) TRIZ 40 หลักการ
  • 105. 1052-3,7 เมษายน 2558 40 ,26, 27,1 32,35, 19 ตารางแมทริกซ์ความขัดแย้ง
  • 106. 1062-3,7 เมษายน 2558  สร้างสูตรความขัดแย้งทางเทคนิคดังต่อไปนี้  Scenario #1 ปัจจัยอันตราย (30): เสถียรภาพขององค์ประกอบ (13) 18 (สั่นเชิงกล), 24 (ตัวกลาง), 30 (ฟิลม์บาง), 35 (แปลงลักษณะสมบัติ)  Scenario #2 ความสว่าง (33): รูปร่าง (12) 30 (ฟิลม์บาง), 32 (เปลี่ยนสี)  Scenario #3 ปัจจัยอันตราย (30): ความสว่าง (18) 1 (แบ่งส่วน), 13 (กลับทาง), 19 (กระทาเป็ นจังหวะ), 32 (เปลี่ยนสี)  วิเคราะห์หลักการดังกล่าว  หลักการที่ 18 สั่นเชิงกล กับ 19 กระทาเป็ นจังหวะ ใช้ประโยชน์จากการแกว่ง ความถี่ การสั่นสะเทือนเป็ นจังหวะ เพื่อลดการเกาะติดของฝุ่นละออง ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค แก้ไขข้อขัดแย้งทางเทคนิค
  • 107. 1072-3,7 เมษายน 2558  วิเคราะห์หลักการดังกล่าว  หลักการที่ 24 การใช้ตัวกลางเพื่อลดหรือก่อให้เกิดการกระทา ซึ่งหมายถึงการเพิ่มฝา ครอบที่เป็ นตัวกลางป้ องกันหลอดซึ่งเป็ นทางเลือกที่ยังไม่ดีเพียงพอในการปรับปรุง  หลักการที่ 30 การใช้ฟิลม์บาง เป็ นการใช้ฟิลม์บางเพื่อแทนที่โครงสร้างแข็ง โดยอาจ เป็ นการเคลือบผิวนอกเพื่อป้ องกันการเกิดไฟฟ้ าสถิตย์ ลดการเกาะของฝุ่นละออง ซึ่ง ใกล้เคียงที่สุดในการนาไปใช้งานจริง  ปัจจุบันมีการพัฒนาและคิดค้นการนาสารเคลือบเพื่อใช้ในการลดปัญหาการเกาะของ ฝุ่นละออง และหลอดจะยังคงความสว่างตามมาตรฐานความสว่างตลอดอายุการใช้ งานของหลอด ตัวอย่าง การพิจารณาความขัดแย้งเชิงเทคนิค
  • 108. 1082-3,7 เมษายน 2558 #1 แบ่งส่วน segmentation  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง ขนาดของระบบที่ใหญ่เกินไปทาให้ การทางานของระบบไม่มีประสิทธิภาพ  เพื่อลดปัญหาด้านขนาดและพื้นที่ และเพื่อให้เกิดความ ราบรื่นของระบบสูงขึ้น TRIZ 40 หลักการ
  • 109. 1092-3,7 เมษายน 2558 อธิบายหลักการ  แบ่งวัตถุออกเป็ นส่วนแยกอิสระส่วนต่างๆ ทาระบบให้ สามารถพับได้  เฟอร์นิเจอร์แบ่งส่วน เพื่อลดความขัดแย้งในด้านพื้นที่ ขนาด ความยาว จัดส่งง่าย สะดวกมากขึ้น  การแบ่งส่วนข้อมูลเสียงออกเป็ นส่วนๆ เพื่อให้สามารถนามา วิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของสัญญาณเสียงแต่ละประเภทได้ TRIZ 40 หลักการ
  • 110. 1102-3,7 เมษายน 2558 TRIZ 40 หลักการ
  • 111. 1112-3,7 เมษายน 2558 #4 ไม่สมมาตร asymmetry  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง ความสะดวกในการใช้งาน เมื่อเพิ่มความไม่สมาตรแล้วระบบสามารถ ทางานได้เต็มประสิทธิภาพ TRIZ 40 หลักการ
  • 112. 1122-3,7 เมษายน 2558 อธิบายหลักการ  แทนที่รูปแบบปกติให้เป็ นแบบไม่สมมาตร  ลักษณะใบปัดน้าฝน ที่ลดความขัดแย้งในด้านขนาด และ รูปทรงต่างๆ ความไม่สมมาตร เกิดความสะดวกในการใช้ งาน ระบบจึงทาหน้าได้ดีขึ้น TRIZ 40 หลักการ
  • 113. 1132-3,7 เมษายน 2558 #5 รวมกัน consolidation  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง ความสะดวกในการใช้งาน เมื่อเพิ่มความหน้าที่ของระบบ ให้สามารถทางานได้เต็มประสิทธิภาพ TRIZ 40 หลักการ
  • 114. 1142-3,7 เมษายน 2558 อธิบายหลักการ  เพิ่มหน้าที่การใช้งานใหม่สามารถรวมหน้าที่การใช้งานระบบ  Wood plastic composite ที่นาลักษณะเด่นของวัสดุ 2 ชนิด ผงไม้ และ พลาสติก  Metal composite การรวมกันระหว่าง พลาสติก กับ ผงโลหะ  หรือการรวมกันระหว่าง ซิเมนต์ และ พลาสติก เป็ นต้น TRIZ 40 หลักการ
  • 115. 1152-3,7 เมษายน 2558 #7 ซ้อนกัน nesting  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง ปริมาตร หรือ พื้นที่ในการจัดเก็บที่จากัด ความรวดเร็วในการนามาใช้งาน สามารถตั้งในพื้นที่เดียวกัน TRIZ 40 หลักการ
  • 116. 1162-3,7 เมษายน 2558 อธิบายหลักการ  ใส่วัตถุซ้อนเข้าไปในช่องว่างของวัตถุที่ 1  การซ้อนกันของบรรจุภัณฑ์ ที่ลดความขัดแย้งในด้านพื้นที่ จัดเก็บ รวมทั้งความรวดเร็วในการนาไปใช้งาน TRIZ 40 หลักการ
  • 117. 1172-3,7 เมษายน 2558 #10 กระทาก่อน prior action  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง บางครั้งระบบต้องการ ความเร็ว ในการทาหน้าที่บางอย่าง ซึ่ง ก่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งาน TRIZ 40 หลักการ
  • 118. 1182-3,7 เมษายน 2558 อธิบายหลักการ  ทาการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการกับระบบล่วงหน้า  หลอดเก็บเลือดสุญญากาศ ที่สามารถเพิ่มความรวดเร็ว และ ระดับความเป็ นอัตโนมัติ มากขึ้นในการเก็บเลือด TRIZ 40 หลักการ
  • 119. 1192-3,7 เมษายน 2558 #30 ฟิลม์บาง thin film  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง การป้ องกันระบบให้พ้นจากอันตรายจากภายนอก สามารถ อาศัยหลักการนี้มาช่วยได้ TRIZ 40 หลักการ
  • 120. 1202-3,7 เมษายน 2558 อธิบายหลักการ  นาฟิลม์ยืดหยุ่นหรือฟิลม์บาง  การเคลือบผิวเครื่องมือตัด เจาะ เพื่อป้ องกันการกัดกร่อน ลด แรงเสียดทาน TRIZ 40 หลักการ
  • 121. 1212-3,7 เมษายน 2558 #40 วัสดุคอมโพสิท composite materials  ลักษณะสมบัติ ที่สนใจและเกี่ยวข้อง ความแข็งแรงของระบบ ซึ่งต้องอาศัยเทคโนโลยี ในการพัฒนาวัสดุรูปแบบใหม่ อธิบายหลักการ  เปลี่ยนจากวัสดุเนื้อเดียวเป็ นวัสดุผสม  ปี กเครื่องบิน ที่ต้องการทั้งความเบาและความแข็งแรง TRIZ 40 หลักการ
  • 122. 1222-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 123. 1232-3,7 เมษายน 2558 กิจกรรมที่ 1  ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่ การวิเคราะห์ความขัดแย้ง  Scenario #1 ขนาด (4): ความสะดวกในการใช้งาน (33) 2 (สกัดออก), 25 (บริการตัวเอง)  Scenario #2 รูปร่าง (12): ความสะดวกในการใช้งาน (33) 32 (เปลี่ยนสี),15 (พลวัต), 26 (เลียนแบบ)  Scenario #3 พื้นที่ (6): ความสะดวกในการใช้งาน (33) 16 (กระทาบางส่วน), 4 (ไม่สมมาตร)  เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 25 และ 4 โดยการปรับโครงสร้างของร่มใหม่ ให้สามารถป้ องกันฝนและลมได้
  • 125. 1252-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 126. 1262-3,7 เมษายน 2558 กิจกรรมที่ 2  หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า การวิเคราะห์ความขัดแย้ง  Scenario #1 ปัจจัยอันตราย (30): ความสะดวกในการใช้งาน (33) 2 (สกัดออก), 25 (บริการตัวเอง), 28 (แทนระบบเชิงกล), 39 (สภาพแวดล้อมเฉื่อย)  Scenario #2 เสถียรภาพขององค์ประกอบ (13): ความสะดวกในการใช้งาน (33) 32 (เปลี่ยนสี), 35 (การแปลงลักษณะสมบัติ), 30 (ฟิลม์บาง)  เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 30 และ 39 โดยการปรับโครงสร้างของ พลาสติกบางใหม่ ให้เป็ นฟิลม์บางแทน โดยต้องใช้องค์ประกอบสารใน สภาพเฉื่อย เพื่อป้ องกันการเกิดปัจจัยอันตราย
  • 127. 1272-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 129. 1292-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 130. 1302-3,7 เมษายน 2558 กิจกรรมที่ 4  แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก การวิเคราะห์ความขัดแย้ง  Scenario #1 ความแข็งแรง (14): น้าหนักของวัตถุ (2) 40 (วัสดุคอมโพสิท), 27 (ใช้แล้วทิ้ง), 26 (เลียนแบบ), 1 (แบ่งส่วน)  Scenario #2 ความสะดวกในการใช้งาน (33): ความแข็งแรง (14) 32 (เปลี่ยนสี), 40 (วัสดุคอมโพสิท), 3 (ลักษณะเฉพาะ), 28 (แทนระบบเชิงกล)  เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 40 โดยการปรับโครงสร้างของวัสดุเป็ นแบบ ใหม่ ซึ่งมีอยู่ 2 แนวทางคือใช้วัสดุคอมโพสิท ที่เป็ นพอลิเมอร์ หรือ โลหะ ผสมแบบเบา เช่น อะลูมิเนียมหรือเหล็กกล้าไร้สนิม ที่มีน้าหนักเบากว่าที่มี โครงสร้างและมีความแข็งแรงสูงกว่า เหล็กปกติ
  • 133. 1332-3,7 เมษายน 2558 133June 26, 2009
  • 134. 1342-3,7 เมษายน 2558 แมทริกซ์ความขัดแย้ง แข็งแรง VS น้าหนัก หลักการที่ 40 วัสดุคอมโพสิท
  • 135. 1352-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 136. 1362-3,7 เมษายน 2558 กิจกรรมที่ 5  แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด การวิเคราะห์ความขัดแย้ง  Scenario #1 ความรวดเร็ว (9): ปริมาตรของวัตถุ (7) 7 (ซ้อนกัน), 29 (ควบคุมด้วยลม), 34 (ชิ้นส่วนที่ถูกคัดออก)  Scenario #2 ความรวดเร็ว (9): ความสะดวกในการใช้งาน (33) 32 (เปลี่ยนสี), 28 (แทนระบบเชิงกล), 13 (ทากลับทาง), 12 (ศักย์เท่ากัน)  เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 7 การซ้อนกัน และ 34 ชิ้นส่วนที่ถูกคัดออก โดยการออกแบบโครงสร้างถุงมือใหม่ให้สามารถซ้อนกัน ซึ่งต้องอาศัย องค์ความรู้ในเรื่องของการยึดเหนี่ยวระหว่างพื้นผิวของยางทั้ง 2-3 ชั้น คือถุงจะต้องไม่หลุดออกจากกันขณะใช้งาน และต้องถอดง่ายขณะ ต้องการเปลี่ยน
  • 138. 1382-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 139. 1392-3,7 เมษายน 2558 กิจกรรมที่ 6  แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  การวิเคราะห์ความขัดแย้ง  Scenario #1 ความสะดวกในการใช้งาน (33): ความแข็งแรง (25) 3 (ลักษณะเฉพาะ), 28 (แทนระบบเชิงกล), 32 (เปลี่ยนสี), 40 (วัสดุคอมโพสิท)  Scenario #2 ความสะดวกในการใช้งาน (33): สูญเสียเวลา (25) 4 (ความไม่สมมาตร), 10 (การกระทาก่อน), 28 (แทนระบบเชิงกล), 34 (ใช้ชิ้นส่วนที่สลายไป เกิดใหม่)  เป็ นการเลือกใช้หลักการที่ 10 การกระทาก่อน โดยการออกแบบโครงสร้าง เทียนใหม่ ซึ่งทาการเจาะรูที่ท้ายของเทียนก่อน แต่ต้องมีการเตรียมการใน ส่วนเชียงเทียนที่ต้องมีส่วนแกนที่สามารถเสียบได้พอดี
  • 141. 1412-3,7 เมษายน 2558 ตัวอย่างกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม นวัตกรรมกับการสร้างสรรค์ด้วย TRIZ  กิจกรรมที่ 1 ออกแบบอุปกรณ์ป้ องกันฝนตกและลมแรงแบบใหม่  กิจกรรมที่ 2 หาวิธีที่สามารถอ่านหนังสือในห้องซาวน์น่า  กิจกรรมที่ 3 ออกแบบรถเข็นหรืออุปกรณ์ที่สามารถขนส่ง สินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้) ในตลาด  กิจกรรมที่ 4 แก้ปัญหาถังก๊าซแบบเดิมที่เป็ นสนิมและมีน้าหนักมาก  กิจกรรมที่ 5 แก้ปัญหาถุงมือยางของแพทย์ที่ต้องเปลี่ยนบ่อยขณะผ่าตัด  กิจกรรมที่ 6 แก้ปัญหาการปักเทียนลงบนเชิงเทียน  กิจกรรมที่ 7 หาวิธีหรือแก้ปัญหาการขนส่งพืชผลเกษตรของไทย มะม่วง กล้วย
  • 143. 1432-3,7 เมษายน 2558 ยางไม่เติมลม ผลิตโดย บ.มิชลิน ใช้กับรถเข็นและ พาหนะทหาร และไม่เกินปี 2563 นามาใช้กับรถยนต์แน่นอน เมทริกซ์ความขัดแย้ง น้าหนัก (1) vs ความทนทาน (15) น้าหนัก (1) vs กาลัง (21) หลักการ TRIZ 19, 5, 34, 31 และ 8, 36, 38, 31 31. วัสดุพรุน TRIZ case study
  • 144. 1442-3,7 เมษายน 2558 เต็นท์ปั๊มลม เต็นท์แบบนี้ไม่ต้องใช้เสา อะลูมิเนียม แต่ใช้ปั๊มลมแทน สามารถกางได้ภายในเวลา ไม่ถึง 1 นาที ออกแบบโดยทีมที่ ออกแบบชุดอวกาศให้กับนาซ่า เมทริกซ์ความขัดแย้ง เวลา (25) vs ความแข็งแรง (14) เวลา (25) vs ความซับซ้อน (36) หลักการ TRIZ 29. ระบบนิวเมติกซ์หรือไฮดรอลิก TRIZ case study
  • 145. 1452-3,7 เมษายน 2558 ป้ ายอะคริลิคประหยัดพลังงาน ป้ ายอะคริลิคแบบใหม่ที่ส่องสว่าง ได้สูง และประหยัดพลังงานไฟฟ้ า เมทริกซ์ความขัดแย้ง ความสว่าง vs พลังงานที่เสียไป หลักการ TRIZ 32. เปลี่ยนสี TRIZ case study
  • 149. 1492-3,7 เมษายน 2558 “ไม่มีทางรู้เลยว่าความคิดนั้น ใหม่หรือไม่ (ยกเว้นแต่จะอ้างอิงกับ มาตรฐานบางอย่าง) และไม่มีทางบอก ได้ว่ามันมีคุณค่าหรือเปล่า จนกระทั่ง ผ่านการประเมินทาง สังคม”
  • 150. 1502-3,7 เมษายน 2558 Three stage of a creative ecology  Every one is Creative  Creativity need Freedom  Freedom need Market Creativity & Innovation John Howkins ผู้แต่ง the Creative Economy: How people make money from ideas
  • 151. 1512-3,7 เมษายน 2558 innovation projects 2006LPG composite & FWM Quick Release Fixture RMM & polymer lamp pole Patent & branding Cario Bravo Advance CeramicsU2 profile press CQB Simulation System 2007 2008 E3 product Innovation Project 5 Year : 38 Projects IAS 3 Year : 12 Services Income 3 Year : 1,224,000 Baht Localize Search 2 layer BW Leather cutter VRH saving i-gool bathtub Electric Injection
  • 152. 1522-3,7 เมษายน 2558 This year 2010 innovation projects “Free point” PIN distribution “Dinsow” service robotics The Next ONE… insulator solid core suspension LPG composite cylinder Fluorescent nano TiO2 “MARATHON” system Anti mice ink 2010 I-Zecure Intelligent Safety Accessory People Counting: Sync Server “Kontrol” measurement robot for railway monitoring New “ARGARD” Bluetooth Micro Needle “VitalTrack” 2009 2010
  • 153. 1532-3,7 เมษายน 2558 Ultrasonic Equipment for Physical Therapy This year 2011 innovation projects “Inno-Scan” Palm Vein Biometric Advance Assault Amphibian Vehicle (AAAV) “CareBot” Robot for Vital Signs Monitoring “I-Cap” Dispensing Bottle Caps ระบบกาจัดมอดข้าวด้วยการ ลดปริมาณก๊าซออกซิเจนเชิงพาณิชย์ “WiBoltz” Wireless Power Transmission “xTUAV” High Performance Medium UAV “H-Pad” Carbon heater sweater “BIG BAO” Light weight container with sandwich panel 2011 2012
  • 154. 1542-3,7 เมษายน 2558 ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ  พันธพงศ์ ตั้งธีระสุนันท์  ผู้จัดการโครงการ  สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ  02 644 6000 ต่อ 133  081 7575 058 pantapong@gmail.com www.pantapong.com