SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 2

                                เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                        ่



      ในการดาเนินการพฒนาแบบฝึกเสริมทกษะ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เรื่ อง การประสมคํา
                    ํ         ั                 ั
ดวยสระ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ไดศึกษาเอกสารและผลงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการจัดทําแบบฝึ กเสริ ม
 ้                                   ้                  ั
ทกษะ คร้ ังน้ ี คือ
   ั
            1. เอกสารที่เกี่ยวกับหลกสูตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตร
                                       ั            ้
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
            2. เอกสารที่เกี่ยวกับแบบฝึ กเสริมทกษะ
                                              ั
            3. จิตวิทยาการเรี ยนรู ้
            4. การหาประสิ ทธิภาพแบบฝึ กเสริมทกษะ  ั
            5. การหาดัชนีประสิ ทธิผลแบบฝึ กเสริมทกษะ  ั
            6. งานวิจยที่เกี่ยวของ
                      ั          ้

เอกสารทีเ่ กียวกับหลักสู ตรโรงเรียนบ้ านดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลาง
             ่
การศึกษาข้ันพนฐาน พุทธศักราช 2551
                ื้

         1. หลักสู ตรโรงเรียนบ้ านดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ข้นพนฐาน พุทธศักราช 2551
   ั ื้
                           ้                          ้ ํ
               โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 4-6) ไดกาหนดหลกสูตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย
                                                                 ั              ้
พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลกการ จุดหมาย
                                                                                     ั
สมรรถนะของผูเ้ รี ยน คุณลกษณะอนพงประสงค์ และโครงสร้างหลักสูตร สรุ ปสาระสําคัญได้ดงนี้
                               ั         ั ึ                                               ั
               1.1 หลกการ
                        ั
                   หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
                                          ้
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
                                               ํ
                   1.1.1 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบความเป็ นสากล
                                       ั
11

                1.1.2 เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง
เสมอภาค และมีคุณภาพ
                1.1.3 เป็นหลกสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ใหสงคมมีส่วนร่วมในการจด
                                 ั                                     ํ ้ ั                        ั
การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของทองถิ่น         ้
                                                              ื ุ่ ั ้
                1.1.4 เป็นหลกสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยดหยนท้ งดานสาระการเรียนรู้ เวลาและ
                                   ั
การจดการเรียนรู้
         ั
                1.1.5 เป็นหลกสูตรการศึกษาที่เนนผเู ้ รียนเป็นสาคญ
                               ั                     ้             ํ ั
                1.1.6 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์
             1.2 จุดหมาย
                หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
                                     ้
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศกยภาพใน
                                                                                   ั
การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เมื่อจบการศึกษาตาม
หลกสูตร ดังนี้
     ั
                1.2.1 มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยและ
                                                                                            ิ ั
ปฏิบติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
       ั
พอเพียง
                1.2.3 มีความรู ้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทกษะชีวิต
           ั
                1.2.4 มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสย และรักการออกกําลังกาย
                                                                 ั
                1.2.5 มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดมนในวิถีชีวต
                                                                                     ึ ั่         ิ
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข     ์
                1.2.6 มีจิตสํานึกในการอนุรักษวฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษและพฒนา
                                                  ์ั                                    ์    ั
สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่วมกนในสงคม
                                                                                 ่    ั   ั
อย่างมีความสุ ข
             1.3 สมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน
                หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พทธศกราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
                                       ้               ุ ั
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งใหผเู ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญ 5 ประการ ดังนี้
                                         ้                   ํ ั
                1.3.1 ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มี
วัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพือ          ่
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
                                                ั
รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล
12

ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพโดย
คานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
   ํ
                      1.3.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์
                                                      ิ
ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
                      1.3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เขาใจความสมพนธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์
     ้             ั ั
                                  ั             ้
ความรู้มาใชในการป้องกนและแกไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึง
                 ้
ผลกระทบที่เกิดข้ ึนต่อตนเอง สงคมและสิ่งแวดลอม ั                ้
                      1.3.4 ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ
                                                         ั
ไปใชในการดาเนินชีวิตประจาวน การเรียนรู้ดวยตนเอง การเรียนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการ
         ้          ํ                       ํ ั              ้
อยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสมพนธ์อนดีระหวางบุคคล การจดการปัญหาและความ
       ่                                                ั ั ั    ่        ั
ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
                                                           ั
และการรู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอื่น
               ั                                                            ู้
                      1.3.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยดานต่าง ๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒนาตนเองและสงคม ในดาน
              ี ้                         ั                            ั             ั       ้
การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
                 1.4 คุณลกษณะอนพึงประสงค์
                            ั           ั
                      หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
                                                  ้
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อใหสามารถอยู่
                                                                                  ้
ร่ วมกับผูอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
           ้
                      1.4.1 รักชาติ ศาสน์ กษตริย ์  ั
                      1.4.2 ซื่อสัตย์สุจริ ต
                      1.4.3 มีวินย  ั
                      1.4.4 ใฝ่เรียนรู้
                                ่
                      1.4.5 อยูอย่างพอเพียง
                      1.4.6 มุ่งมันในการทํางาน
                                      ่
                      1.4.7 รักความเป็นไทย
                      1.4.8 มีจิตสาธารณะ
                      1.4.9 มีความกตัญ�ู
13

               1.4.10 มีความรับผิดชอบ
            1.5 โครงสร้างหลักสู ตร
               หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
                                  ้
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดโครงสร้างหลักสูตร และเวลาเรียน ดังตาราง 1

ตาราง 1 โครงสร้างเวลาเรี ยนของหลักสูตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย : โครงสร้างเวลาเรี ยนระดับ
                                                ้
ประถมศึกษา

                                                        เวลาเรี ยนระดับประถมศึกษา
      กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้/กิจกรรม
                                           ป.1      ป.2          ป.3     ป.4     ป.5     ป.6
          กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย                                   240      240       240       160      160      160
คณิ ตศาสตร์                               200      200       200       160      160      160
วิทยาศาสตร์                                80       80        80        80       80       80
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม              120      120       120       120      120      120
       • ประวัติศาสตร์                    (40)     (40)      (40)      (40)     (40)     (40)
       • ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม
       • หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ
          การดาเนินชีวตในสงคม
               ํ      ิ     ั             (80)     (80)      (80)      (80)     (80)     (80)
       • เศรษฐศาสตร์
       • ภูมิศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา                         80       80        80        80       80         80
ศิลปะ                                      80       80        80        80       80         80
การงานอาชีพและเทคโนโลยี                    40       40        40        80       80         80
ภาษาต่างประเทศ                             40       40        40        80       80         80

         รวมเวลาเรี ยน(พื้นฐาน)           880       880       880      840      840      840
14

ตาราง 1 (ต่อ)

                                                      เวลาเรี ยนระดับประถมศึกษา
       กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้/กิจกรรม
                                          ป.1       ป.2        ป.3    ป.4     ป.5           ป.6
             กลุ่มสาระการเรียนรู้
รายวชา/กจกรรม ทีสถานศึกษาจัดเพิมเติม
     ิ ิ            ่              ่
                                           -          -          -    40         40          40
ตามความพร้ อมและจุดเน้ น
            กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว                             40         40         40    40         40          40
กิจกรรมนกเรียน
          ั
    ลูกเสือ/เนตรนารี                      40         40         40    40        40          40
    ชุมนุม                                30         30         30    30        30          30
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์       10        10          10    10        10          10
      รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน       120       120         120   120       120         120

                รวมเวลาทั้งหมด                  1,000 ชั่วโมง               1,000 ชั่วโมง

(ที่มา : โรงเรียนบานดอนกลอย, 2553: 7-8)
                  ้

        2. หลักสู ตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
           โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 16) ไดกาหนดหลกสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
                       ้                              ้ ํ ั
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ดังนี้
           2.1 การอ่าน ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ
                                                                               ั
แกปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสยรักการอ่าน
    ้             ํ                    ั
                2.1.1 อ่านออกเสี ยงคํา คําคล้องจองและข้อความสั้นๆ
                2.1.2 บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน
                2.1.3 ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน
                2.1.4 เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่อ่าน
                2.1.5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
                2.1.6 อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนําเสนอเรื่ องที่อ่าน
15

                 2.1.7 บอกความหมายของเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์สาคัญที่มกพบเห็นใน
                                                                ํ       ั
ชีวิตประจําวัน
                  2.1.8 มีมารยาทในการอ่าน
                                                                               ่
            2.2 การเขียน ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน
                                ้
เรื่ องราวในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
                  2.2.1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
                  2.2.2 เขียนสื่ อสารด้วยคําและประโยคง่ายๆ
                  2.2.3 มีมารยาทในการเขียน
            2.3 การฟังและการพูด สามารถฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด
                                                               ิ
และความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
                  2.3.1 ฟังคําแนะนํา คําสังง่ายๆ และปฏิบติตาม
                                                ่         ั
                  2.3.2 ตอบคําถามและเล่าเรื่ องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และบนเทิง
                                                                                 ั
                  2.3.3 พูดแสดงความคิดเห็นและความรู ้สึกจากเรื่ องที่ฟังและดู
                  2.3.4 พูดสื่ อสารได้ตามวัตถุประสงค์
                  2.3.5 มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
            2.4 หลกการใชภาษาไทย เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง
                    ั         ้
ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
                  2.4.1 บอกและเขียนพยญชนะ สระ วรรณยกตและเลขไทย
                                              ั               ุ ์
                  2.4.2 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
                                        ํ                          ํ
                  2.4.3 เรี ยบเรี ยงคําเป็ นประโยคง่ายๆ
                  2.4.4 ต่อคําคล้องจองง่ายๆ
            2.5 วรรณคดีและวรรณกรรม เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ
                                                  ้
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
                  2.5.1 บอกขอคิดที่ไดจากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแกวและร้อยกรอง
                                  ้         ้                                      ้
สําหรับเด็ก
                                                    ํ
                  2.5.2 ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ
16

        3. คาอธิบายรายวชา กล่ ุมสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
               ํ            ิ
              โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 16) ไดกาหนดคําอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                        ้                            ้ ํ
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ดังนี้
              ฝึ กอ่านออกเสี ยงคํา คําคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคําและข้อความ
ตอบคําถาม เล่าเรื่ องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอ
นําเสนอเรื่ องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์สาคัญที่มกพบเห็นใน
                                                                      ํ           ั
ชีวิตประจําวัน มีมารยาทในการอ่านฝึ กคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่ อสารด้วยคําและ
ประโยคง่ายๆ มีมารยาทการเขียนฝึกทกษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คําสังง่ายๆ และปฏิบติตาม ตอบ
                                         ั                   ํ    ํ     ่             ั
คําถาม เล่าเรื่ อง พดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่ อสารได้ตาม
                      ู
วัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟัง การดูและการพูดฝึกทกษะการเขียนพยญชนะ สระ วรรณยุกต์
                                                               ั              ั
และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรี ยบเรี ยงคําเป็ นประโยคง่ายๆ ต่อคําคล้อง
                                ํ                          ํ
จองง่ายๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรื อการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก ฝึ ก
                              ํ
ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ
        โดยใชกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
                  ้
กระบวนการคิด การฝึ กปฏิบติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทกษะการฟัง การดูและ
                                  ั                                             ั
การพด พดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
      ู ู
                                                                                               ่
        เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สื่ อสารได้ถูกต้อง รักการเรี ยนภาษาไทย เห็นคุณคา
ของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
        รหสตวช้ ีวด ประกอบดวย ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8
             ั ั ั                  ้
ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3,
ป.1/4 และ ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2 รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วด      ั

      4. การวิเคราะห์ หลักสู ตรกล่ ุมสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
           โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 19-21) ไดนาคําอธิบายรายวิชา วิเคราะห์หลักสูตร กลุ่ม
                      ้                             ้ ํ
สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปรากฏดังตาราง 2
17

ตาราง 2 การวิเคราะห์หลักสูตร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
        โรงเรียนบานดอนกลอย ตวช้ ีวดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
                  ้              ั ั

                   ตัวชี้วด
                          ั                                 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนําไปใช้ตดสินใจ แกปัญหาใน
                         ้                                              ั            ้
การดําเนินชีวต และมีนิสยรักการอ่าน
                 ิ              ั
1. อ่านออกเสี ยงคํา คําคล้องจองและข้อความ   การอ่านออกเสี ยงและบอกความหมายของคํา
ส้ นๆ
   ั                                        คําคล้องจอง และข้อความที่ประกอบด้วยคํา
2. บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน      พื้นฐาน คือ คําที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ไม่นอย ้
                                            กวา 600 คํา รวมทั้งคําที่เรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการ
                                                 ่
                                            เรี ยนรู ้อื่น ประกอบด้วย
                                                - คําที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์
                                                - คําที่มีตวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง
                                                               ั
                                            ตามมาตรา
                                                - คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า
                                                - คําที่มีอกษรนํา
                                                             ั
3. ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน         การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ เช่น
4. เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่อ่าน              - นิทาน
5. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน             - เรื่ องสั้นๆ
                                                - บทร้องเล่นและบทเพลง
                                                - เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                                            ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
6. อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอ การอ่านหนังสื อตามความสนใจ เช่น
และนําเสนอเรื่ องที่อ่าน                        - หนงสือที่นกเรียนสนใจและเหมาะสมกบวย
                                                          ั      ั                           ั ั
                                                - หนงสือที่ครูและนกเรียนกาหนดร่วมกน
                                                        ั             ั         ํ          ั
18

ตาราง 2 (ต่อ)
                  ตัวชี้วด
                         ั                                  สาระการเรียนรู้แกนกลาง
7. บอกความหมายของเครื่ องหมายหรื อ            การอ่านเครื่องหมายหรือสญลกษณ์  ั ั
สญลกษณ์สาคัญที่มกพบเห็นในชีวิตประจําวัน
  ั ั     ํ     ั                             ประกอบด้วย
                                                 - เครื่ องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พบเห็นใน
                                              ชีวิตประจําวัน
                                                 - เครื่องหมายและความปลอดภยและแสดงั
                                              อันตราย
8. มีมารยาทในการอ่าน                          มารยาทในการอ่าน เช่น
                                                 - ไม่อ่านเสี ยงดังรบกวนผูอื่น
                                                                            ้
                                                 - ไม่เล่นกนขณะที่อาสน
                                                             ั
                                                 - ไม่ทาลายหนังสื อ
                                                          ํ
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราวใน
รู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ
1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด                การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม
                                              รู ปแบบการเขียนอักษรไทย
2. เขียนสื่อสารดวยคาและประโยคง่ายๆ
                 ้ ํ                          การเขียนสื่ อสาร
                                                  - คําที่ใช้ในชีวิตประจําวัน
                                                  - คําพื้นฐานในบทเรี ยน
                                                  - คําคล้องจอง
                                                  - ประโยคง่ายๆ
3. มีมารยาทในการเขียน                         มารยาทในการเขียน เช่น
                                                  - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า
                                                  - ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ
                                                  - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และ
                                              บุคคล
19

ตาราง 2 (ต่อ)
                       ตัวชี้วด
                              ั                                     สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ 3 การฟังและการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด และความรู ้สึก
                                           ิ
ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
1. ฟังคําแนะนํา คําสังง่ายๆ และปฏิบติตาม
                     ่               ั             การฟังและปฏิบติตามคําแนะนํา คําสังง่ายๆ
                                                                            ั              ่
2. ตอบคําถามและเล่าเรื่ องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็ น การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ทั้ง
ความรู้และบนเทิง
              ั                                    ที่เป็ นความรู ้และความบันเทิง เช่น
3. พดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่อง
      ู                                                - เรื่ องเล่าและสารคดีสาหรับเด็ก
                                                                                  ํ
ที่ฟังและดู                                            - นิทาน
                                                       - การ์ตูน
                                                       - เรื่ องขบขัน
4. พูดสื่ อสารได้ตามวัตถุประสงค์                   การพูดสื่ อสารในชีวิตประจําวัน
                                                       - การแนะนาตนเอง ํ
                                                       - การขอความช่วยเหลือ
                                                       - การกล่าวคําขอบคุณ
                                                       - การกล่าวคําขอโทษ
5. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด                มารยาทในการฟัง เช่น
                                                      - ตั้งใจฟัง ตามองผูพด   ้ ู
                                                      - ไม่รบกวนผอื่นขณะที่ฟัง
                                                                         ู้
                                                      - ไม่ควรนําอาหารหรื อเครื่ องดื่มไป
                                                      รับประทานขณะที่ฟัง
                                                      - ให้เกียรติผพดด้วยการปรบมือ
                                                                      ู้ ู
                                                      - ไม่พดสอดแทรกขณะที่ฟัง
                                                                ู
                                                   มารยาทในการดู เช่น
                                                       - ต้ งใจดู
                                                            ั
                                                       - ไม่ส่งเสี ยงดังหรื อแสดงอาการรบกวนสมาธิ
                                                   ของผูอื่น  ้
20

ตาราง 2 (ต่อ)
                ตัวชี้วด
                       ั                              สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                         มารยาทในการพูด เช่น
                                           - ใช้ถอยคํา แลกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ
                                                  ้
                                         กาลเทศะ
                                           - ใชน้ าเสียงนุ่มนวล
                                                ้ ํ
                                           - ไม่พดสอดแทรกในขณะที่ผพดกาลงพด
                                                    ู                    ู้ ู ํ ั ู
สาระที่ 4 หลกการใชภาษาไทย
              ั           ้
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
1. บอกและเขียนพยญชนะ สระ วรรณยกตและ พยญชนะ สระ และวรรณยกต์
                        ั         ุ ์                ั            ุ
เลขไทย                                    เลขไทย
2. เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา       การสะกดคํา การแจกลูก การอ่านคํา
                                          มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรง
                                          ตามมาตรา
                                          การผนคา     ั ํ
                                          ความหมายของคํา
3. เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่ายๆ
                ํ                         การแต่งประโยค
4. ต่อคําคล้องจองง่ายๆ                    คาคลองจอง
                                                 ํ ้
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
                                                                     ่
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
                      ้                ิ                                       ่
และนามาประยกตใชในชีวิตจริง
       ํ          ุ ์ ้
1. บอกขอคิดที่ไดจากการอ่านหรือการฟัง
          ้         ้                     วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับ
วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก เดก เช่น
                                            ็
                                              - นิทาน
                                              - เรื่ องสั้นง่ายๆ
                                              - ปริ ศนาคําทาย
                                              - บทร้องเล่น
                                              - บทอาขยาน
                                              - บทร้อยกรอง
21

ตาราง 2 (ต่อ)
                    ตัวชี้วด
                           ั                            สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                                - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรี ยน
                         ํ
2. ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย         บทอาขยานและบทร้อยกรอง เช่น
กรองตามความสนใจ                                                   ํ
                                                - บทอาขยานตามที่กาหนด
                                                - บทร้อยกรองตามความสนใจ
ที่มา : โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 19-21)
                 ้

          5. หลักการสอน
             หลกการสอนต่างๆ ที่นามาเกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
                ั               ํ
มีดงนี้
   ั
               5.1 หลักการสอนของบราวน์และคณะ
                                                    ่
                    อาภรณ์ ใจเที่ยง (2537: 30) ระบุวา หลักการสอนของบราวน์และคณะ เป็ นระบบ
การสอนที่ยดผเู ้ รียนเป็นศนยกลางการเรียนการสอน โดยพิจารณาถึงแนวทางและวธีการเรียนรู้ของ
               ึ               ู ์                                              ิ
ผเู ้ รียนแต่ละคน เพื่อที่ผสอนจะไดจดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสามารถ
                            ู้          ้ั
และความสนใจของผเู ้ รียน บราวน์และคณะ กําหนดองค์ประกอบไว้ 7 ข้ นตอน ไดแก่
                                                                      ั       ้
                     5.1.1 วัตถุประสงค์และเนื้อหา
                     5.1.2 การจัดประสบการการเรี ยน
                     5.1.3 การจดรูปแบบการเรียนการสอน
                                 ั
                     5.1.4 บุคลากร
                     5.1.5 วัตถุประสงค์และเครื่ องมือ
                     5.1.6 สถานที่และสิ่ งอํานวยความสะดวก
                     5.1.7 การประเมินผลและการปรับปรุ ง
               5.2 ระบบการสอนของเกอร์ลคและอีไลั
                                                       ่
                     อาภรณ์ ใจเที่ยง (2537: 30) ระบุวา ระบบการสอนของเกอร์ลคและอีไล เป็ นระบบ
                                                                           ั
การสอนที่ใชกนอย่างแพร่ หลายทัวไป ซึ่งมี 10 ข้ นไดแก่
                 ้ั                   ่               ั ้
                     5.2.1 การกําหนดวัตถุประสงค์
                                   ํ
                     5.2.2 การกาหนดเน้ือหา
                     5.2.3 การประเมินผลพฤติกรรมเบื้องต้น
                     5.2.4 การกําหนดกลยุทธ์ของวิธีการสอน
22

                  5.2.5 การจดแบ่งกลุ่มผเู ้ รียน
                                   ั
                                     ํ
                  5.2.6 การกาหนดเวลาเรียน
                  5.2.7 การจดสถานที่เรียน
                                 ั
                  5.2.8 การเลือกทรัพยากร
                  5.2.9 การประเมินผล
                  5.2.10 การวิเคราะห์ขอมูลย้อนกลับ ้
           5.3 หลกการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
                    ั
                  5.3.1 การสอนโดยใชกระบวนการ การจดการเรียนการสอนภาษาไทย ตามหลกสูตร
                                                 ้                     ั                                    ั
การศึกษาขั้นพื้นฐานน้ นมีการฝึ กกิจกรรมเชิงกระบวนการต่างๆ ดังนี้
                           ั
                      (1) กระบวนการเรี ยนภาษา ใช้ในการเรี ยนรู ้คา วลี ประโยค ความหมายของคํา
                                                                                ํ
การนาไปใช้ ตลอดจนการเขาใจและสรุปหลกเกณฑของภาษาได้
      ํ                                ้                     ั   ์
                      (2) กระบวนการฝึกทกษะหรือกระบวนการฝึกปฏิบติใชในการฝึกทกษะในการ
                                                     ั                                 ั ้          ั
ฟัง การพด การอ่าน และการเขียน
         ู
                      (3) กระบวนการคิด ใชในการฝึกความคิด และวจารณญาณในการใชภาษา
                                                         ้                         ิ                  ้
                      (4) กระบวนการกลุ่ม ใชในการฝึกทกษะในการทางานร่วมกนเป็นกล่ม
                                                               ้     ั               ํ       ั          ุ
                      (5) กระบวนการพัฒนา ใช้ในการส่งเสริมใหนกเรียนพฒนาการเรียนของตนเอง
                                                                               ้ ั        ั
การสอนโดยใชกระบวนการ อาจทาได้ 2 ลกษณะ คือ
                ้                            ํ         ั
                          1) ฝึ กกระบวนการต่างๆ ตามความเหมาะสมกับธรรมชาติของภาษาไทย เมื่อ
ไดฝึกบ่อยๆจะไดทกษะกระบวนการเรียนรู้
   ้              ้ ั
                          2) การจดการเรียนการสอน ตามทกษะกระบวนการเรียนรู้ ซ่ ึ งจะจดได้ ในการ
                                         ั                               ั                                ั
สอนภาษาไทยบางเรื่ องเท่านั้น หรื อถ้าจัดเป็ นหน่วยใหญ่ๆ ก็อาจจะได้ ทั้งนี้ ข้ ึนอยูกบความเหมาะสม่ ั
ของเน้ือหา กิจกรรม และกระบวนการที่ใช้
                  5.3.2 ในการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ปรี ชา นิพนธ์พิทยา (2533:
122-123) ไดเ้ สนอไวควรยดหลกดังนี้
                       ้ ึ ั
                                                                           ั
                          (1) การจดการเรียนการสอนใหเ้ หมือนกบสภาพที่ชีวิตจริ งเพื่อให้เด็กนําไปใช้ได้
                                           ั
                          (2) สอนเพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ดีข้ ึน
                          (3) สอนให้เด็กมีความสัมพันธ์และเห็นความสําคัญของสิ่ งต่างๆ ที่เรียน เพื่อ
                        ่
ปรับปรุ งความเป็ นอยูให้ดีข้ ึน
                          (4) สอนโดยเนนปฏิบติจริงมากกวาท่องจากฎเกณฑ์
                                               ้           ั       ่         ํ
                          (5) สอนเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะที่ดีมีความต่างๆ ใหมีในตวเดก      ้   ั ็
23

                         (6) สอนเพื่อปูพ้ืนฐานทางประชาธิปไตยให้มีในตัวเด็ก และสามารถปฏิบติตน  ั
ให้เป็ นพลเมืองดีของชาติ
                         (7) สอนจากส่ิ งเป็ นปั ญหาใกลตวเดกไปสิ่งไกลตวเดก โดยวิธีสอนต่างๆ คือ
                                                        ้ ั ็           ั ็
การอภิปราย การซกถาม การศึกษาหาความรู ้ดวยตนเอง การทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม การแก้ปัญหา
                    ั                             ้
เวลาปฏิบติจริ ง ซึ่งวิธีดงกล่าวนี้ จะช่วยเสริมใหเ้ ดกคิดเป็น ทาเป็น แกปัญหาเป็น
            ั             ั                           ็       ํ       ้
           วิธีการสอนภาษาไทย ถ้าจะให้ประสบผลสําเร็ จตามจุดมุ่งหมายที่ได้วางเอาไว้ครู ตองรู ้จก
                                                                             ่          ้ ั
เลือกใชวิธีการสอน ที่เหมาะสมโดยเลือกวธีการสอนใหสอดคลองกบเน้ือหา และกิจกรรมในทกษะ
         ้                                    ิ             ้    ้ ั                        ั
ต่างๆ วิธีการสอนที่นามาใช้ ได้แก่ การบรรยาย อภิปราย การสาธิตการแบ่งกลุ่มค้นคว้า การแบ่งกลุ่ม
                       ํ
ระดมความคิด การแบ่งกลุ่มทํางาน การค้นคว้ารายบุคคล การสอนเป็ นรายบุคคล การแสดงบทบาท
สมมุติ การใช้เพลงประกอบการสอน การใช้บทเรี ยนสําเร็ จรู ป หรื อการจัดการทําศูนย์การเรี ยน การใช้
สถานการณ์จาลอง การสอนเป็นคณะ และการทาแบบฝึกเสริมทกษะ
                 ํ                                  ํ             ั

         6. แนวคิดเกียวกับการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
                        ่
             จํานง พรายแยมแข (2536: 8) ได้กล่าวถึงความคิดเกี่ยวกับการสอน ซึ่งผูรายงานนํามา
                                  ้                                                  ้
ประยกตใชกบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ดังนี้
       ุ ์ ้ ั
             6.1 สอนใหครบทุกเรื่องและทุกส่วน คือ ท้งกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์
                                ้                     ั
วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี ศิลปะ สุ ขศึกษาและ
                                                                 ั ั ั
พลศึกษา ภาษาอังกฤษ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ใหเ้ ก้ือหนุนสมพนธ์กน
             6.2 สอนท้ งเน้ือหาและกระบวนการ คือ สอนภาคทฤษฎีให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ แล้ว
                          ั
ต้องมีภาคปฏิบติให้สามารถทําได้ เพื่อนําไปใช้ได้จริ ง หรื อที่เรี ยกว่า “รู ้ทา–นําไปใช้”
                    ั                                                        ํ
             6.3 ส่งเสริมให้เด็กเป็นผแสดงโดยให้ครู เป็ นผูกากับการแสดงคือการจัดกิจกรรมการเรี ยน
                                            ู้            ้ํ
การสอนด้วยวธีการเปิดโอกาสใหเ้ ดกมีบทบาทในการแสดงออกใหมากที่สุดเท่าที่จะทาไดตามความ
                  ิ                       ็                         ้                   ํ ้
เหมาะสมแก่ช้ นเรียนและวย โดยครูเป็นผคอยดูแล แนะนําแนวทางที่เหมาะสมด้วย ตลอดเวลา
                ั                   ั            ู้
             6.4 ส่ งเสริ มการทํางานตามกระบวนการกลุ่ม คือ จดกิจกรรมการเรียนใหเ้ ดกไดร่วมกน
                                                              ั                          ็ ้      ั
คิด ร่ วมกันวางแผน ร่ วมกันทํางาน แก้ปัญหา และประเมินผล เพื่อสร้างเสริ มทักษะและ
ประสบการณ์ในการอยูร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย แต่อย่างไรก็ตามจะต้องไม่ลืมการส่ งเสริ ม
                              ่
ความสามารถส่ วนบุคคลด้วยเช่นกน        ั
             6.5 สอนคนไม่ใช่สอนหนงสือ แนวคิดข้อนี้ เสมือนหนึ่ งจะเป็ นคําขวัญประจําหลกสูตร
                                               ั                                                ั
โรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
           ้
2551 ที่หวังจะใหเ้ ป็นขอเตือนใจใหครูทุกคนตระหนกในความสําคัญของกระบวนการเรี ยนการสอน
                            ้           ้           ั
ใหมุ่งเนนที่จะส่งเสริ มสมรรถภาพของนักเรี ยน ซึ่งเป็ น “คน” ที่มีเลือดเน้ือ มีชีวิต มีจิตใจ ย่อม
   ้ ้
24

ปรารถนาที่จะเป็ นคนที่มีคุณภาพ ทั้งด้านความรู ้และความคิด และการกระทําที่ถูกต้องสมบูรณ์ เพือให้     ่
ฐานะและความเป็ นอยูมีความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีต่อไปในอนาคต ครูที่ดีไม่ควรใชวิธียดเยยด
                            ่                                                              ้ ั ี
ความรู ้ใหแก่นกเรียนดวยวิธีบอกใหจด ใหจาจากหนงสือ เสมือนหน่ ึงนกเรียนเป็นหุ่นยนต์
                ้ ั            ้         ้     ้ํ         ั               ั
คอมพิวเตอร์ที่คอยรับโปรแกรมจากการป้ อนของมนุษย์เท่านั้น ซึ่งการสอนด้วยวิธีดงกล่าวนี้เรี ยกว่า
                                                                                       ั
การสอนหนังสื อ คือ ผสอนจะยึดเอาตําราหรื อหนังสื อ แบบเรียนเป็นศนยกลาง
                              ู้                                         ู ์
                 แนวความคิดเกี่ยวกบการคิดเป็น ทาเป็น แกปัญหาเป็น แนวคิดข้อนี้ คือ ความต้องการ
                                    ั               ํ         ้
สู งสุ ดของ “การสอน” ดังกล่าว เพราะการคิดเป็นมิไดหมายถึงการคิดเพียงเพื่อที่จะทําให้ตนเองอยูรอด
                                                            ้                                         ่
            ั         ่
ปลอดภย หรื ออยูดีมีสุขตามลําพังตนเองแต่จะเป็ นการคิดอย่างเป็ นระบบ และกอร์ปดวยจริ ยธรรม  ้
และคุณธรรมที่ดีงาม คือ เป็นการคิดที่จะแกปัญหาใดๆ ใหสาเร็จ โดยไม่ทาใหผอื่นตองเดือดร้อนและ
                                                ้               ้ ํ             ํ ้ ู้ ้
คํานึงถึงประโยชน์การสร้างสรรค์เพื่อส่ วนรวมเป็ นสําคัญ
                 การคิดเป็น เป็ นสมรรถภาพสําคัญสูงสุ ดของบุคคลที่จะนําไปสู่ การทําเป็ นและแก้ปัญหาได้
                                                                      ้่
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซ่ ึง จํานง พรายแย้มแข (2536: 8) ไดเ้ สนอไววา “เนื่องจากมนุษย์มีความสามารถ
ในการปรับตัวให้เข้กบสภาพแวดล้อมได้ง่าย และรวดเร็วกว่าสิ่ งมีชีวิตประเภทอื่นๆ พร้อมทั้งสามารถ
                          ั
ที่จะเรียนรู้ดวยวิธีต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางเสมอ ดังนั้น ในการจดกระบวนการเรียนการสอนที่จะตองมุ่ง
                 ้                                                  ั                            ้
ที่จะต้องช่วยให้นกเรี ยนได้พฒนาสมรรถภาพของตนเองอย่างเต็มที่ตามความต้องการของแต่ละบุคคล
                        ั         ั
                                                                              ่
เพราะจุดหมายปลายทางของระบบการศึกษาที่สาคัญอย่างแท้จริ งมิได้อยูที่ผลผลิต (Product) เพียง
                                                        ํ
เพื่อให้นกเรี ยนจบการศึกษาตามหลักสู ตร และจานวนปีที่กาหนดไวเ้ ท่าน้ น แต่มุ่งที่ผลสาเร็จของการ
              ั                                       ํ          ํ          ั               ํ
                                                                                  ่
เรี ยนรู ้ (Learning Outcomes) เพื่อใหเ้ ป็นบุคคลที่มีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างเป็ นสุ ข
และปลอดภัย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องBenny BC
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 

La actualidad más candente (19)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
Bbl thai subject
Bbl thai subjectBbl thai subject
Bbl thai subject
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

Similar a บทความบทที่ 2 ภาษาไทย

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 

Similar a บทความบทที่ 2 ภาษาไทย (20)

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการดาเนินการพฒนาแบบฝึกเสริมทกษะ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เรื่ อง การประสมคํา ํ ั ั ดวยสระ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ไดศึกษาเอกสารและผลงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการจัดทําแบบฝึ กเสริ ม ้ ้ ั ทกษะ คร้ ังน้ ี คือ ั 1. เอกสารที่เกี่ยวกับหลกสูตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตร ั ้ แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. เอกสารที่เกี่ยวกับแบบฝึ กเสริมทกษะ ั 3. จิตวิทยาการเรี ยนรู ้ 4. การหาประสิ ทธิภาพแบบฝึ กเสริมทกษะ ั 5. การหาดัชนีประสิ ทธิผลแบบฝึ กเสริมทกษะ ั 6. งานวิจยที่เกี่ยวของ ั ้ เอกสารทีเ่ กียวกับหลักสู ตรโรงเรียนบ้ านดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลาง ่ การศึกษาข้ันพนฐาน พุทธศักราช 2551 ื้ 1. หลักสู ตรโรงเรียนบ้ านดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ข้นพนฐาน พุทธศักราช 2551 ั ื้ ้ ้ ํ โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 4-6) ไดกาหนดหลกสูตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย ั ้ พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลกการ จุดหมาย ั สมรรถนะของผูเ้ รี ยน คุณลกษณะอนพงประสงค์ และโครงสร้างหลักสูตร สรุ ปสาระสําคัญได้ดงนี้ ั ั ึ ั 1.1 หลกการ ั หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ้ ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้ ํ 1.1.1 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบความเป็ นสากล ั
  • 2. 11 1.1.2 เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง เสมอภาค และมีคุณภาพ 1.1.3 เป็นหลกสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ใหสงคมมีส่วนร่วมในการจด ั ํ ้ ั ั การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของทองถิ่น ้ ื ุ่ ั ้ 1.1.4 เป็นหลกสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยดหยนท้ งดานสาระการเรียนรู้ เวลาและ ั การจดการเรียนรู้ ั 1.1.5 เป็นหลกสูตรการศึกษาที่เนนผเู ้ รียนเป็นสาคญ ั ้ ํ ั 1.1.6 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์ 1.2 จุดหมาย หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ้ ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศกยภาพใน ั การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เมื่อจบการศึกษาตาม หลกสูตร ดังนี้ ั 1.2.1 มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยและ ิ ั ปฏิบติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ั พอเพียง 1.2.3 มีความรู ้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกษะชีวิต ั 1.2.4 มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสย และรักการออกกําลังกาย ั 1.2.5 มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดมนในวิถีชีวต ึ ั่ ิ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ 1.2.6 มีจิตสํานึกในการอนุรักษวฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษและพฒนา ์ั ์ ั สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่วมกนในสงคม ่ ั ั อย่างมีความสุ ข 1.3 สมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พทธศกราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ้ ุ ั ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งใหผเู ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญ 5 ประการ ดังนี้ ้ ํ ั 1.3.1 ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มี วัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพือ ่ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม ั รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล
  • 3. 12 ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพโดย คานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ํ 1.3.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ ิ ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 1.3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขาใจความสมพนธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ ้ ั ั ั ้ ความรู้มาใชในการป้องกนและแกไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึง ้ ผลกระทบที่เกิดข้ ึนต่อตนเอง สงคมและสิ่งแวดลอม ั ้ 1.3.4 ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ั ไปใชในการดาเนินชีวิตประจาวน การเรียนรู้ดวยตนเอง การเรียนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการ ้ ํ ํ ั ้ อยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสมพนธ์อนดีระหวางบุคคล การจดการปัญหาและความ ่ ั ั ั ่ ั ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ั และการรู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอื่น ั ู้ 1.3.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดานต่าง ๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒนาตนเองและสงคม ในดาน ี ้ ั ั ั ้ การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม 1.4 คุณลกษณะอนพึงประสงค์ ั ั หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ้ ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อใหสามารถอยู่ ้ ร่ วมกับผูอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ้ 1.4.1 รักชาติ ศาสน์ กษตริย ์ ั 1.4.2 ซื่อสัตย์สุจริ ต 1.4.3 มีวินย ั 1.4.4 ใฝ่เรียนรู้ ่ 1.4.5 อยูอย่างพอเพียง 1.4.6 มุ่งมันในการทํางาน ่ 1.4.7 รักความเป็นไทย 1.4.8 มีจิตสาธารณะ 1.4.9 มีความกตัญ�ู
  • 4. 13 1.4.10 มีความรับผิดชอบ 1.5 โครงสร้างหลักสู ตร หลักสู ตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ้ ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดโครงสร้างหลักสูตร และเวลาเรียน ดังตาราง 1 ตาราง 1 โครงสร้างเวลาเรี ยนของหลักสูตรโรงเรี ยนบานดอนกลอย : โครงสร้างเวลาเรี ยนระดับ ้ ประถมศึกษา เวลาเรี ยนระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 240 240 240 160 160 160 คณิ ตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 120 120 120 120 120 • ประวัติศาสตร์ (40) (40) (40) (40) (40) (40) • ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม • หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดาเนินชีวตในสงคม ํ ิ ั (80) (80) (80) (80) (80) (80) • เศรษฐศาสตร์ • ภูมิศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80 ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80 รวมเวลาเรี ยน(พื้นฐาน) 880 880 880 840 840 840
  • 5. 14 ตาราง 1 (ต่อ) เวลาเรี ยนระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายวชา/กจกรรม ทีสถานศึกษาจัดเพิมเติม ิ ิ ่ ่ - - - 40 40 40 ตามความพร้ อมและจุดเน้ น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 กิจกรรมนกเรียน ั ลูกเสือ/เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 ชุมนุม 30 30 30 30 30 30 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10 10 10 10 10 10 รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาทั้งหมด 1,000 ชั่วโมง 1,000 ชั่วโมง (ที่มา : โรงเรียนบานดอนกลอย, 2553: 7-8) ้ 2. หลักสู ตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 16) ไดกาหนดหลกสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ้ ้ ํ ั ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ดังนี้ 2.1 การอ่าน ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ ั แกปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสยรักการอ่าน ้ ํ ั 2.1.1 อ่านออกเสี ยงคํา คําคล้องจองและข้อความสั้นๆ 2.1.2 บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน 2.1.3 ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน 2.1.4 เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่อ่าน 2.1.5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน 2.1.6 อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนําเสนอเรื่ องที่อ่าน
  • 6. 15 2.1.7 บอกความหมายของเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์สาคัญที่มกพบเห็นใน ํ ั ชีวิตประจําวัน 2.1.8 มีมารยาทในการอ่าน ่ 2.2 การเขียน ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน ้ เรื่ องราวในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิ ทธิภาพ 2.2.1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด 2.2.2 เขียนสื่ อสารด้วยคําและประโยคง่ายๆ 2.2.3 มีมารยาทในการเขียน 2.3 การฟังและการพูด สามารถฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด ิ และความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ 2.3.1 ฟังคําแนะนํา คําสังง่ายๆ และปฏิบติตาม ่ ั 2.3.2 ตอบคําถามและเล่าเรื่ องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และบนเทิง ั 2.3.3 พูดแสดงความคิดเห็นและความรู ้สึกจากเรื่ องที่ฟังและดู 2.3.4 พูดสื่ อสารได้ตามวัตถุประสงค์ 2.3.5 มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด 2.4 หลกการใชภาษาไทย เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ั ้ ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ 2.4.1 บอกและเขียนพยญชนะ สระ วรรณยกตและเลขไทย ั ุ ์ 2.4.2 เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ํ ํ 2.4.3 เรี ยบเรี ยงคําเป็ นประโยคง่ายๆ 2.4.4 ต่อคําคล้องจองง่ายๆ 2.5 วรรณคดีและวรรณกรรม เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ ้ วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง 2.5.1 บอกขอคิดที่ไดจากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแกวและร้อยกรอง ้ ้ ้ สําหรับเด็ก ํ 2.5.2 ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ
  • 7. 16 3. คาอธิบายรายวชา กล่ ุมสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ํ ิ โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 16) ไดกาหนดคําอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ้ ้ ํ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ดังนี้ ฝึ กอ่านออกเสี ยงคํา คําคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคําและข้อความ ตอบคําถาม เล่าเรื่ องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอ นําเสนอเรื่ องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์สาคัญที่มกพบเห็นใน ํ ั ชีวิตประจําวัน มีมารยาทในการอ่านฝึ กคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่ อสารด้วยคําและ ประโยคง่ายๆ มีมารยาทการเขียนฝึกทกษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คําสังง่ายๆ และปฏิบติตาม ตอบ ั ํ ํ ่ ั คําถาม เล่าเรื่ อง พดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่ อสารได้ตาม ู วัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟัง การดูและการพูดฝึกทกษะการเขียนพยญชนะ สระ วรรณยุกต์ ั ั และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรี ยบเรี ยงคําเป็ นประโยคง่ายๆ ต่อคําคล้อง ํ ํ จองง่ายๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรื อการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก ฝึ ก ํ ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม ้ กระบวนการคิด การฝึ กปฏิบติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทกษะการฟัง การดูและ ั ั การพด พดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด ู ู ่ เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สื่ อสารได้ถูกต้อง รักการเรี ยนภาษาไทย เห็นคุณคา ของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวัน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รหสตวช้ ีวด ประกอบดวย ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8 ั ั ั ้ ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4 และ ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2 รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วด ั 4. การวิเคราะห์ หลักสู ตรกล่ ุมสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 19-21) ไดนาคําอธิบายรายวิชา วิเคราะห์หลักสูตร กลุ่ม ้ ้ ํ สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปรากฏดังตาราง 2
  • 8. 17 ตาราง 2 การวิเคราะห์หลักสูตร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบานดอนกลอย ตวช้ ีวดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ้ ั ั ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนําไปใช้ตดสินใจ แกปัญหาใน ้ ั ้ การดําเนินชีวต และมีนิสยรักการอ่าน ิ ั 1. อ่านออกเสี ยงคํา คําคล้องจองและข้อความ การอ่านออกเสี ยงและบอกความหมายของคํา ส้ นๆ ั คําคล้องจอง และข้อความที่ประกอบด้วยคํา 2. บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน พื้นฐาน คือ คําที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ไม่นอย ้ กวา 600 คํา รวมทั้งคําที่เรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการ ่ เรี ยนรู ้อื่น ประกอบด้วย - คําที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์ - คําที่มีตวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ั ตามมาตรา - คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า - คําที่มีอกษรนํา ั 3. ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ เช่น 4. เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่อ่าน - นิทาน 5. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - เรื่ องสั้นๆ - บทร้องเล่นและบทเพลง - เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น 6. อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอ การอ่านหนังสื อตามความสนใจ เช่น และนําเสนอเรื่ องที่อ่าน - หนงสือที่นกเรียนสนใจและเหมาะสมกบวย ั ั ั ั - หนงสือที่ครูและนกเรียนกาหนดร่วมกน ั ั ํ ั
  • 9. 18 ตาราง 2 (ต่อ) ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 7. บอกความหมายของเครื่ องหมายหรื อ การอ่านเครื่องหมายหรือสญลกษณ์ ั ั สญลกษณ์สาคัญที่มกพบเห็นในชีวิตประจําวัน ั ั ํ ั ประกอบด้วย - เครื่ องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พบเห็นใน ชีวิตประจําวัน - เครื่องหมายและความปลอดภยและแสดงั อันตราย 8. มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสี ยงดังรบกวนผูอื่น ้ - ไม่เล่นกนขณะที่อาสน ั - ไม่ทาลายหนังสื อ ํ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราวใน รู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ 1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม รู ปแบบการเขียนอักษรไทย 2. เขียนสื่อสารดวยคาและประโยคง่ายๆ ้ ํ การเขียนสื่ อสาร - คําที่ใช้ในชีวิตประจําวัน - คําพื้นฐานในบทเรี ยน - คําคล้องจอง - ประโยคง่ายๆ 3. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า - ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และ บุคคล
  • 10. 19 ตาราง 2 (ต่อ) ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 3 การฟังและการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด และความรู ้สึก ิ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ 1. ฟังคําแนะนํา คําสังง่ายๆ และปฏิบติตาม ่ ั การฟังและปฏิบติตามคําแนะนํา คําสังง่ายๆ ั ่ 2. ตอบคําถามและเล่าเรื่ องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็ น การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ทั้ง ความรู้และบนเทิง ั ที่เป็ นความรู ้และความบันเทิง เช่น 3. พดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่อง ู - เรื่ องเล่าและสารคดีสาหรับเด็ก ํ ที่ฟังและดู - นิทาน - การ์ตูน - เรื่ องขบขัน 4. พูดสื่ อสารได้ตามวัตถุประสงค์ การพูดสื่ อสารในชีวิตประจําวัน - การแนะนาตนเอง ํ - การขอความช่วยเหลือ - การกล่าวคําขอบคุณ - การกล่าวคําขอโทษ 5. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟัง เช่น - ตั้งใจฟัง ตามองผูพด ้ ู - ไม่รบกวนผอื่นขณะที่ฟัง ู้ - ไม่ควรนําอาหารหรื อเครื่ องดื่มไป รับประทานขณะที่ฟัง - ให้เกียรติผพดด้วยการปรบมือ ู้ ู - ไม่พดสอดแทรกขณะที่ฟัง ู มารยาทในการดู เช่น - ต้ งใจดู ั - ไม่ส่งเสี ยงดังหรื อแสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผูอื่น ้
  • 11. 20 ตาราง 2 (ต่อ) ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง มารยาทในการพูด เช่น - ใช้ถอยคํา แลกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ ้ กาลเทศะ - ใชน้ าเสียงนุ่มนวล ้ ํ - ไม่พดสอดแทรกในขณะที่ผพดกาลงพด ู ู้ ู ํ ั ู สาระที่ 4 หลกการใชภาษาไทย ั ้ มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ 1. บอกและเขียนพยญชนะ สระ วรรณยกตและ พยญชนะ สระ และวรรณยกต์ ั ุ ์ ั ุ เลขไทย เลขไทย 2. เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา การสะกดคํา การแจกลูก การอ่านคํา มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา การผนคา ั ํ ความหมายของคํา 3. เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่ายๆ ํ การแต่งประโยค 4. ต่อคําคล้องจองง่ายๆ คาคลองจอง ํ ้ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม ่ มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา ้ ิ ่ และนามาประยกตใชในชีวิตจริง ํ ุ ์ ้ 1. บอกขอคิดที่ไดจากการอ่านหรือการฟัง ้ ้ วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับ วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก เดก เช่น ็ - นิทาน - เรื่ องสั้นง่ายๆ - ปริ ศนาคําทาย - บทร้องเล่น - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง
  • 12. 21 ตาราง 2 (ต่อ) ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรี ยน ํ 2. ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อย บทอาขยานและบทร้อยกรอง เช่น กรองตามความสนใจ ํ - บทอาขยานตามที่กาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ที่มา : โรงเรียนบานดอนกลอย (2553: 19-21) ้ 5. หลักการสอน หลกการสอนต่างๆ ที่นามาเกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ั ํ มีดงนี้ ั 5.1 หลักการสอนของบราวน์และคณะ ่ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2537: 30) ระบุวา หลักการสอนของบราวน์และคณะ เป็ นระบบ การสอนที่ยดผเู ้ รียนเป็นศนยกลางการเรียนการสอน โดยพิจารณาถึงแนวทางและวธีการเรียนรู้ของ ึ ู ์ ิ ผเู ้ รียนแต่ละคน เพื่อที่ผสอนจะไดจดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสามารถ ู้ ้ั และความสนใจของผเู ้ รียน บราวน์และคณะ กําหนดองค์ประกอบไว้ 7 ข้ นตอน ไดแก่ ั ้ 5.1.1 วัตถุประสงค์และเนื้อหา 5.1.2 การจัดประสบการการเรี ยน 5.1.3 การจดรูปแบบการเรียนการสอน ั 5.1.4 บุคลากร 5.1.5 วัตถุประสงค์และเครื่ องมือ 5.1.6 สถานที่และสิ่ งอํานวยความสะดวก 5.1.7 การประเมินผลและการปรับปรุ ง 5.2 ระบบการสอนของเกอร์ลคและอีไลั ่ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2537: 30) ระบุวา ระบบการสอนของเกอร์ลคและอีไล เป็ นระบบ ั การสอนที่ใชกนอย่างแพร่ หลายทัวไป ซึ่งมี 10 ข้ นไดแก่ ้ั ่ ั ้ 5.2.1 การกําหนดวัตถุประสงค์ ํ 5.2.2 การกาหนดเน้ือหา 5.2.3 การประเมินผลพฤติกรรมเบื้องต้น 5.2.4 การกําหนดกลยุทธ์ของวิธีการสอน
  • 13. 22 5.2.5 การจดแบ่งกลุ่มผเู ้ รียน ั ํ 5.2.6 การกาหนดเวลาเรียน 5.2.7 การจดสถานที่เรียน ั 5.2.8 การเลือกทรัพยากร 5.2.9 การประเมินผล 5.2.10 การวิเคราะห์ขอมูลย้อนกลับ ้ 5.3 หลกการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ั 5.3.1 การสอนโดยใชกระบวนการ การจดการเรียนการสอนภาษาไทย ตามหลกสูตร ้ ั ั การศึกษาขั้นพื้นฐานน้ นมีการฝึ กกิจกรรมเชิงกระบวนการต่างๆ ดังนี้ ั (1) กระบวนการเรี ยนภาษา ใช้ในการเรี ยนรู ้คา วลี ประโยค ความหมายของคํา ํ การนาไปใช้ ตลอดจนการเขาใจและสรุปหลกเกณฑของภาษาได้ ํ ้ ั ์ (2) กระบวนการฝึกทกษะหรือกระบวนการฝึกปฏิบติใชในการฝึกทกษะในการ ั ั ้ ั ฟัง การพด การอ่าน และการเขียน ู (3) กระบวนการคิด ใชในการฝึกความคิด และวจารณญาณในการใชภาษา ้ ิ ้ (4) กระบวนการกลุ่ม ใชในการฝึกทกษะในการทางานร่วมกนเป็นกล่ม ้ ั ํ ั ุ (5) กระบวนการพัฒนา ใช้ในการส่งเสริมใหนกเรียนพฒนาการเรียนของตนเอง ้ ั ั การสอนโดยใชกระบวนการ อาจทาได้ 2 ลกษณะ คือ ้ ํ ั 1) ฝึ กกระบวนการต่างๆ ตามความเหมาะสมกับธรรมชาติของภาษาไทย เมื่อ ไดฝึกบ่อยๆจะไดทกษะกระบวนการเรียนรู้ ้ ้ ั 2) การจดการเรียนการสอน ตามทกษะกระบวนการเรียนรู้ ซ่ ึ งจะจดได้ ในการ ั ั ั สอนภาษาไทยบางเรื่ องเท่านั้น หรื อถ้าจัดเป็ นหน่วยใหญ่ๆ ก็อาจจะได้ ทั้งนี้ ข้ ึนอยูกบความเหมาะสม่ ั ของเน้ือหา กิจกรรม และกระบวนการที่ใช้ 5.3.2 ในการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ปรี ชา นิพนธ์พิทยา (2533: 122-123) ไดเ้ สนอไวควรยดหลกดังนี้ ้ ึ ั ั (1) การจดการเรียนการสอนใหเ้ หมือนกบสภาพที่ชีวิตจริ งเพื่อให้เด็กนําไปใช้ได้ ั (2) สอนเพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ดีข้ ึน (3) สอนให้เด็กมีความสัมพันธ์และเห็นความสําคัญของสิ่ งต่างๆ ที่เรียน เพื่อ ่ ปรับปรุ งความเป็ นอยูให้ดีข้ ึน (4) สอนโดยเนนปฏิบติจริงมากกวาท่องจากฎเกณฑ์ ้ ั ่ ํ (5) สอนเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะที่ดีมีความต่างๆ ใหมีในตวเดก ้ ั ็
  • 14. 23 (6) สอนเพื่อปูพ้ืนฐานทางประชาธิปไตยให้มีในตัวเด็ก และสามารถปฏิบติตน ั ให้เป็ นพลเมืองดีของชาติ (7) สอนจากส่ิ งเป็ นปั ญหาใกลตวเดกไปสิ่งไกลตวเดก โดยวิธีสอนต่างๆ คือ ้ ั ็ ั ็ การอภิปราย การซกถาม การศึกษาหาความรู ้ดวยตนเอง การทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม การแก้ปัญหา ั ้ เวลาปฏิบติจริ ง ซึ่งวิธีดงกล่าวนี้ จะช่วยเสริมใหเ้ ดกคิดเป็น ทาเป็น แกปัญหาเป็น ั ั ็ ํ ้ วิธีการสอนภาษาไทย ถ้าจะให้ประสบผลสําเร็ จตามจุดมุ่งหมายที่ได้วางเอาไว้ครู ตองรู ้จก ่ ้ ั เลือกใชวิธีการสอน ที่เหมาะสมโดยเลือกวธีการสอนใหสอดคลองกบเน้ือหา และกิจกรรมในทกษะ ้ ิ ้ ้ ั ั ต่างๆ วิธีการสอนที่นามาใช้ ได้แก่ การบรรยาย อภิปราย การสาธิตการแบ่งกลุ่มค้นคว้า การแบ่งกลุ่ม ํ ระดมความคิด การแบ่งกลุ่มทํางาน การค้นคว้ารายบุคคล การสอนเป็ นรายบุคคล การแสดงบทบาท สมมุติ การใช้เพลงประกอบการสอน การใช้บทเรี ยนสําเร็ จรู ป หรื อการจัดการทําศูนย์การเรี ยน การใช้ สถานการณ์จาลอง การสอนเป็นคณะ และการทาแบบฝึกเสริมทกษะ ํ ํ ั 6. แนวคิดเกียวกับการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ่ จํานง พรายแยมแข (2536: 8) ได้กล่าวถึงความคิดเกี่ยวกับการสอน ซึ่งผูรายงานนํามา ้ ้ ประยกตใชกบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ดังนี้ ุ ์ ้ ั 6.1 สอนใหครบทุกเรื่องและทุกส่วน คือ ท้งกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ ้ ั วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี ศิลปะ สุ ขศึกษาและ ั ั ั พลศึกษา ภาษาอังกฤษ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ใหเ้ ก้ือหนุนสมพนธ์กน 6.2 สอนท้ งเน้ือหาและกระบวนการ คือ สอนภาคทฤษฎีให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ แล้ว ั ต้องมีภาคปฏิบติให้สามารถทําได้ เพื่อนําไปใช้ได้จริ ง หรื อที่เรี ยกว่า “รู ้ทา–นําไปใช้” ั ํ 6.3 ส่งเสริมให้เด็กเป็นผแสดงโดยให้ครู เป็ นผูกากับการแสดงคือการจัดกิจกรรมการเรี ยน ู้ ้ํ การสอนด้วยวธีการเปิดโอกาสใหเ้ ดกมีบทบาทในการแสดงออกใหมากที่สุดเท่าที่จะทาไดตามความ ิ ็ ้ ํ ้ เหมาะสมแก่ช้ นเรียนและวย โดยครูเป็นผคอยดูแล แนะนําแนวทางที่เหมาะสมด้วย ตลอดเวลา ั ั ู้ 6.4 ส่ งเสริ มการทํางานตามกระบวนการกลุ่ม คือ จดกิจกรรมการเรียนใหเ้ ดกไดร่วมกน ั ็ ้ ั คิด ร่ วมกันวางแผน ร่ วมกันทํางาน แก้ปัญหา และประเมินผล เพื่อสร้างเสริ มทักษะและ ประสบการณ์ในการอยูร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย แต่อย่างไรก็ตามจะต้องไม่ลืมการส่ งเสริ ม ่ ความสามารถส่ วนบุคคลด้วยเช่นกน ั 6.5 สอนคนไม่ใช่สอนหนงสือ แนวคิดข้อนี้ เสมือนหนึ่ งจะเป็ นคําขวัญประจําหลกสูตร ั ั โรงเรี ยนบานดอนกลอย พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ้ 2551 ที่หวังจะใหเ้ ป็นขอเตือนใจใหครูทุกคนตระหนกในความสําคัญของกระบวนการเรี ยนการสอน ้ ้ ั ใหมุ่งเนนที่จะส่งเสริ มสมรรถภาพของนักเรี ยน ซึ่งเป็ น “คน” ที่มีเลือดเน้ือ มีชีวิต มีจิตใจ ย่อม ้ ้
  • 15. 24 ปรารถนาที่จะเป็ นคนที่มีคุณภาพ ทั้งด้านความรู ้และความคิด และการกระทําที่ถูกต้องสมบูรณ์ เพือให้ ่ ฐานะและความเป็ นอยูมีความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีต่อไปในอนาคต ครูที่ดีไม่ควรใชวิธียดเยยด ่ ้ ั ี ความรู ้ใหแก่นกเรียนดวยวิธีบอกใหจด ใหจาจากหนงสือ เสมือนหน่ ึงนกเรียนเป็นหุ่นยนต์ ้ ั ้ ้ ้ํ ั ั คอมพิวเตอร์ที่คอยรับโปรแกรมจากการป้ อนของมนุษย์เท่านั้น ซึ่งการสอนด้วยวิธีดงกล่าวนี้เรี ยกว่า ั การสอนหนังสื อ คือ ผสอนจะยึดเอาตําราหรื อหนังสื อ แบบเรียนเป็นศนยกลาง ู้ ู ์ แนวความคิดเกี่ยวกบการคิดเป็น ทาเป็น แกปัญหาเป็น แนวคิดข้อนี้ คือ ความต้องการ ั ํ ้ สู งสุ ดของ “การสอน” ดังกล่าว เพราะการคิดเป็นมิไดหมายถึงการคิดเพียงเพื่อที่จะทําให้ตนเองอยูรอด ้ ่ ั ่ ปลอดภย หรื ออยูดีมีสุขตามลําพังตนเองแต่จะเป็ นการคิดอย่างเป็ นระบบ และกอร์ปดวยจริ ยธรรม ้ และคุณธรรมที่ดีงาม คือ เป็นการคิดที่จะแกปัญหาใดๆ ใหสาเร็จ โดยไม่ทาใหผอื่นตองเดือดร้อนและ ้ ้ ํ ํ ้ ู้ ้ คํานึงถึงประโยชน์การสร้างสรรค์เพื่อส่ วนรวมเป็ นสําคัญ การคิดเป็น เป็ นสมรรถภาพสําคัญสูงสุ ดของบุคคลที่จะนําไปสู่ การทําเป็ นและแก้ปัญหาได้ ้่ อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซ่ ึง จํานง พรายแย้มแข (2536: 8) ไดเ้ สนอไววา “เนื่องจากมนุษย์มีความสามารถ ในการปรับตัวให้เข้กบสภาพแวดล้อมได้ง่าย และรวดเร็วกว่าสิ่ งมีชีวิตประเภทอื่นๆ พร้อมทั้งสามารถ ั ที่จะเรียนรู้ดวยวิธีต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางเสมอ ดังนั้น ในการจดกระบวนการเรียนการสอนที่จะตองมุ่ง ้ ั ้ ที่จะต้องช่วยให้นกเรี ยนได้พฒนาสมรรถภาพของตนเองอย่างเต็มที่ตามความต้องการของแต่ละบุคคล ั ั ่ เพราะจุดหมายปลายทางของระบบการศึกษาที่สาคัญอย่างแท้จริ งมิได้อยูที่ผลผลิต (Product) เพียง ํ เพื่อให้นกเรี ยนจบการศึกษาตามหลักสู ตร และจานวนปีที่กาหนดไวเ้ ท่าน้ น แต่มุ่งที่ผลสาเร็จของการ ั ํ ํ ั ํ ่ เรี ยนรู ้ (Learning Outcomes) เพื่อใหเ้ ป็นบุคคลที่มีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างเป็ นสุ ข และปลอดภัย