SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
Descargar para leer sin conexión
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                      สมดุลเคมี / 1



                                           สมดุลเคมี
                                 (Chemical equilibrium)


1. สมดุลเคมี เปนสมดุลแบบไดนามิกหรือสมดุลพลวัต (dynamic equilibrium) หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงปฏิกริยาไปขางหนาและปฏิกิริยายอนกลับอยูตลอดเวลา ไมหยุดนิ่ง
                  ิ

2. ประเภทของสมดุลไดนามิก

        2.1 ภาวะสมดุลระหวางสถานะ เกิดจากสถานะที่แตกตางกัน


  ประเภทสมดุล             การเปลี่ยนแปลง       ภาวะของสมดุล          ตัวอยาง
                                             อัตราการ
สมดุลของการ
                      solid           liquid หลอมเหลวเทากับ H2O(s)           H2O(l)
หลอมเหลว
                                             อัตราการแข็งตัว
                                             อัตราการระเหย
สมดุลของการ
                        liquid          gas เทากับอัตราการ  H2O(l)           H2O(g)
กลายเปนไอ
                                             กลั่นตัว
                                             อัตราการระเหิด
สมดุลของการ
                        solid           gas เทากับอัตราการ    I2(s)          I2(g)
ระเหิด
                                             เกิดผลึก

        2.2 ภาวะสมดุลในสารละลาย
                 1) สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับสารละลายอิเล็กโทรไลตออนในน้ํา สวนหนึ่ง
แตกตัวเปนไอออน ในขณะที่บางสวนของไอออนจะรวมกันเปนโมเลกุล เชน

                HCN(aq) + H2O(l)                     H3O+(aq) + CN-(aq)

                 2) สมดุลของการละลาย เกิดขึนกับสารละลายอิเล็กโทรไลตแกหรือนอนอิเล็ก
                                           ้
โทรไลตที่อยูในภาวะอิ่มตัว(ถาไมอิ่มตัวจะไมเกิดสมดุลเกิดขึ้น)     ซึ่งกลาวไดวาอัตราการละลาย
เทากับอัตราการตกผลึก

                 CuSO4(s) + H2O(l)                  Cu2+(aq) + SO42-(aq)

                                                                               นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                สมดุลเคมี / 2

        2.3 ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เชน

                 PCl5(g)          PCl3(g) + Cl2(g)

                 NH4+(aq) + H2O(l)                 NH3(aq) + H3O+(aq)

3. ปฏิกิริยาทีผันกลับได (Reversible reaction)
              ่

         ในการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมื่อสารตั้งตนเขาทําปฏิกิริยากันไดสารผลิตภัณฑจะเรียกวา
ปฏิกิริยาไปขางหนา และเมื่อสารผลิตภัณฑทําปฏิกิริยากันแลวไดเปนสารตั้งตนเรียกวาปฏิกิรยา
                                                                                          ิ
ยอนกลับ สําหรับการเปลี่ยนแปลงปฏิกริยาเคมีทั้งไปขางหนาและปฏิกิริยายอนกลับจะเรียกวาการ
                                        ิ
เปลี่ยนแปลงทีผันกลับไดหรือปฏิกิริยาที่ผันกลับได (reversible reaction)
              ่

ปฏิกิริยาไปขางหนา      Reactant              Product

ปฏิกิริยายอนกลับ        Reactant              Product

ปฏิกิริยาที่ผันกลับได   Reactant           Product




                             ปฏิกิริยาผันกลับไดของสารละลาย

                 [Co(H2O)6]2+ + 4Cl-                [CoCl4]2- + 6H2O



                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                สมดุลเคมี / 3

          ณ อุณหภูมิหองไอออนทั้งสองของโคบอลตจะปะปนกันอยูในสารละลาย และเปน
สารละลายสีมวง ตอเมื่อเราใหความรอนแกสารละลาย ปฏิกิรยาไปขางหนาจะเกิดไดมากขึ้น
                                                                  ิ
สารละลายจะเปลี่ยนเปนสีนาเงินในรูปของ [CoCl4]2- และเมือนําสารละลายนี้มาทําใหเย็น
                             ้ํ                                     ่
ปฏิกิรยายอนกลับจะเกิดไดมากขึ้นใหสารละลายสีชมพูในรูปของ [Co(H2O)6] 2+ ในบทนี้เราจะ
       ิ
ศึกษาเรื่องสมดุลเคมี รวมถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอสมดุลเคมี
          ปฏิกิริยาเคมีสวนใหญมักจะเปนปฏิกิริยาทีผันกลับได คือมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่
                                                   ่
เกิดสารผลิตภัณฑหรือการเปลี่ยนแปลงไปขางหนาและการเปลี่ยนแปลงยอนกลับหรือการ
เปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เกิดสารตั้งตนเมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาและอัตราการ
เกิดปฏิกิริยายอนกลับมีคาเทากัน แสดงวาระบบเขาสู สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)

4. ระบบกับสิ่งแวดลอม (System and surrounding)
       1) ระบบ สิ่งที่เราศึกษาหรือทดลอง
       2) สิ่งแวดลอม คือสิ่งที่อยูนอกระบบ

5. ชนิดของระบบ
       1) ระบบเปด (Opened system) คือระบบที่มีการถายเทไดทั้งมวลสารและพลังงาน
กับสิ่งแวดลอม
         2) ระบบปด (Closed system) คือระบบที่มีการถายเทเฉพาะพลังงานอยางเดียว แตไม
มีการถายเทมวลสาร
         3) ระบบโดดเดี่ยว (Isolated system) คือระบบที่ไมมีการถายเททังพลังงานและมวล
                                                                      ้
สารแกสิ่งแวดลอม


        Energy                        Energy                       Energy
        Matter                        Matter                       Matter




   Opened system                    Closed system                Isolated system




                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                             สมดุลเคมี / 4

ตัวอยาง การเปลี่ยนแปลงตอไปนี้จัดวาเปนระบบแบบใด
    1) การหลอมเหลวแนพธารีนในชามกระเบื้อง                                    ระบบ.............................
    2) ใสโลหะทองแดงลงในสารละลายกรดไนตริก                                   ระบบ.............................
    3) ผสมกรด HCl กับ NaOH ในบีกเกอร                                       ระบบ.............................
    4) ตั้งบีกเกอรใสน้ําปูนใสไวบนโตะจนกระทั่งมีฝาสีขาว
         ลอยอยูบนน้ําปูนใส                                                 ระบบ.............................

6. ระบบที่อยูในภาวะสมดุล
     1) เกิดในระบบปด
     2) อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาเทากับปฏิกิริยายอนกลับ
     3) เปนปฏิกิริยาทีผันกลับได
                       ่
     4) มีสมบัติคงที่ (สี อุณหภูมิ ความดัน ความเขมขน และ จํานวนโมล)

ตัวอยาง จากปฏิกิริยาเคมีตอไปนี้จงตอบคําถาม
                          
                   A + B                  C + D


1)       A      B                              สมดุล

ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม .................
สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................
                          ้                                   ํ


2)       C       D                             สมดุล

ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม .................
สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................
                          ้                                   ํ


3)       A        C                            สมดุล

ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม .................
สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................
                          ้                                   ํ


                                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                             สมดุลเคมี / 5


4)       B       D                             สมดุล

ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม .................
สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................
                          ้                                   ํ


5)       A B C                                 สมดุล

ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม .................
สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................
                          ้                                   ํ


6)       B C         D                         สมดุล

ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม .................
สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................
                          ้                                   ํ

7. ภาวะสมดุล

         อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปขางหนาเทากับปฏิกิริยายอนกลับ

        เริ่มตนอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาเริมลดลง ในขณะที่ปฏิกิริยายอนกลับเริ่มเพิ่มขึ้น ที่
                                                  ่
ภาวะสมดุลอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาและปฏิกริยายอนกลับมีคาเทากันถาไมมีการรบกวน
                                                    ิ
สมดุลเกิดขึ้น ตัวอยางเชนการทดลองในระบบของสารตอไปนี้ดังสมการ

                            N2O4(g)                                2NO2(g)
                            ไมมีสี                                สีน้ําตาล

         เมื่อเรานํากาซไดไนโตรเจนเตตระออกไซดใสไวในขวดที่มีฝาปด และทําใหมีอณหภูมิ
                                                                                 ุ
100๐C กาซในขวดจะเริ่มเปลี่ยนเปนสีนาตาลและคอย ๆ เขมขึ้นเรื่อย ๆ จนความเขมสีคงที่ เมือ
                                        ้ํ                                              ่
ทําการศึกษาในระดับโมเลกุลพบวา ในชวงแรกโมเลกุลของ N2O4 จะแพรกระจายไปทั่วขวด
จากนั้นจึงคอย ๆ สลายตัวเปน NO2 ซึ่งมีสีน้ําตาล และโมเลกุลของ NO2 จะคอย ๆ เพิ่มมากขึ้น
จึงเห็นเปนสีนาตาลเขมขึ้น เมื่อจํานวนโมเลกุลของ N2O4 นอยลง N2O4 ก็จะสลายตัวชาลงดวย
                ้ํ

                                                                                        นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                                สมดุลเคมี / 6

ในขณะที่โมเลกุลของ N2O4 สลายตัว โมเลกุลของ NO2 จะเกิดขึ้น และเมื่ออัตราการ
เกิดปฏิกิรยาไปขางหนา (การสลายตัวของ N2O4 ) เทากับอัตราการเกิดปฏิกิริยายอนกลับ (การ
          ิ
เกิด N2O4 ) ภาวะนี้เรียกวา ภาวะสมดุล




8. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีกับเวลาในระบบที่มีภาวะสมดุล
                                              ิ

                                                  R1
                                         A                B
                                                  R2
             อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี




                                         ปฏิกิริยาไปขางหนา A   B

                                                                     สมดุล
                                         ปฏิกิริยายอนกลับ B     A

                                                          เวลา
เมื่อเปรียบเทียบ R1 และ R2 ควรเปนอยางไร
ที่เริ่มตนปฏิกริยา
               ิ         R1………………R2
ที่ภาวะสมดุล             R1………………R2
นอกจากการเกิดภาวะสมดุลนั้นจะตองเปนระบบปด เปนปฏิกิริยาที่ผนกลับไดแลว ภาวะสมดุลจะ
                                                                 ั
เกิดขึ้นไดอีกประการหนึ่งทีสําคัญคือคุณสมบัติของระบบคงทีทั้ง สี กลิ่น และความเขมขนของสาร
                           ่                            ่




                                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                              สมดุลเคมี / 7

กราฟแสดงในเทอมของความเขมขนของสมดุลไดนามิกของสารแตละตัวในระบบได ซึ่งที่ภาวะ
สมดุลความเขมขนของสารทุกตัวในระบบจะคงที่ดังกราฟตอไปนี้

               A + B             C + D



                              A+B
                  [ ]

                              C+D

                                            เวลา

กราฟแสดงความเขมขนที่ภาวะสมดุลเมื่อความเขมขนของสาร ผลิตภัณฑ เทากับ สารตั้งตน


                                  A+B
                  [ ]
                                  C+D


                                            เวลา

กราฟแสดงความสัมพันธที่ภาวะสมดุลเมื่อความเขมขนของสารผลิตภัณฑ นอยกวา สารตั้งตน


                                            C+D
                  [ ]

                                            A+B

                                            เวลา
กราฟแสดงความสัมพันธที่ภาวะสมดุลเมื่อความเขมขนของสารผลิตภัณฑ มากกวา สารตั้งตน

       การแสดงกราฟสมดุลของระบบในแงความเขมขนไมจําเปนตองเขียนความสัมพันธ
ระหวางความเขมขนของสารทุกตัวกับเวลา อาจเขียนพิจาณาแคสารใดสารหนึ่ง




                                                                       นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                สมดุลเคมี / 8

9. ภาวะสมดุลกับตัวเรงปฏิกิริยา

         หากนําตัวเรงใสเขาไปในปฏิกิริยาที่สามารถเกิดภาวะสมดุลไดและปฏิกิริยาขณะนันยังไม
                                                                                       ้
เขาสูสมดุล ตัวเรงจะเรงใหเขาสูภาวะสมดุลไดเร็วขึ้น โดยจะเรงใหปฏิกริยาไปขางหนาและ
                                                                              ิ
ปฏิกิริยายอนกลับใหเทากัน แตถาภาวะนันเขาสูสมดุลแลวตัวเรงปฏิกิริยาจะไมมีผลตอระบบ
                                        ้

10. สมดุลเอกพันธและสมดุลวิวิธพันธ (Homogeneous and heterogeneous
equilibrium)

สมดุลเอกพันธคือสมดุลที่มีสามตั้งตนและผลิตภัณฑทกชนิดมีวฏภาคเดียวกันสวนสมดุลที่มีวฏภาค
                                                 ุ       ั                          ั
ตางกันตั้งแต 2 ชนิดเรียกวาสมดุลวิวิธพันธ

ตัวอยางสมดุลวิวิธพันธไดแกสภาวะระหวางน้ําในสถานะของเหลวกับน้ําในสถานะไอ

                H2O(l)            H2O(g)



เลอชาเตอริเอ (Lechatelier) กลาวไววา ระบบใดก็ตามที่เขาสูภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวน
                                     
ดวยภาวะตางๆ (ความเขมขน อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทําใหระบบที่เขาสูสมดุลนั้นเสียไป แต
ระบบจะพยายามปรับสภาวะใหเขาสูสมดุลอีกครั้ง แตจะไมเหมือนสมดุลครั้งแรก

เชน จากปฏิกริยา A + B
            ิ                  C + D ซึ่งอยูในภาวะสมดุลถาเปลี่ยนความเขมขนของสารตัว
หนึ่งตัวใดของระบบจะทําใหสมดุลเปลี่ยน

ถาเพิ่ม [A] จะทําใหสมดุลเปลี่ยนทิศทาง เพื่อลดความเขมขนของ A ตามหลักเลอชาเตอริเอ
สมดุลเปลี่ยนจากซายไปขวา ที่สมดุลใหม [A] เพิ่มขึ้น [B] ลดลง [C] และ [D] เพิ่มขึ้น เมื่อ
เทียบกับสมดุลเดิม




                                                                     เวลา
                           สมดุลเกา               สมดุล
                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                               สมดุลเคมี / 9


ถาลด [A] จะทําใหสมดุลเปลี่ยนทิศทาง เพื่อเพิ่มความเขมขนของ A ตามหลักเลอชาเตอริเอ
สมดุลเปลี่ยนจากขวาไปซาย ที่สมดุลใหม [A] ลดลง [B] เพิ่มขึ้น [C] และ [D] ลดลง เมื่อ
เทียบกับสมดุลเดิม




                                                                  เวลา
                          สมดุลเกา                 สมดุล
11. คาคงที่สมดุลกับสมการเคมี

กําหนดใหปฏิกิริยาเคมีคือ

        aA + bB                    cC + dD

เมื่อเขียนคาคงที่สมดุล (K) จะไดความสัมพันธดังนี้
             [C]c [D]d
        K=                         ... (1)
             [A]a [B]b
       หากมีการเปลียนแปลงสมการเคมี เชนกลับสมการจากสารตั้งตนเปนสารผลิตภัณฑหรือ
                   ่
จํานวนโมลของสมการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ก็จะมีผลตอคาคงที่สมดุลใหมดวย ดังตัวอยาง
                                                                   

กรณีที่ 1. ถากลับสมการจากสารตั้งตนเปนสารผลิตภัณฑคาคงที่สมดุลใหมจะเปนสวนกลับกับ
คาคงที่เดิมเชน
         A+B                C+D              … K1

                          [C][D]
คาคงที่สมดุลคือ   K1 =
                          [A][B]

ถากลับสมการ
        C+D                 A+B              … K2

คาคงที่สมดุลคือ K 2 = [A][B]
                          [C][D]


                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                 สมดุลเคมี / 10

                      1
จะเห็นไดวา   K2 =
                      K1
กรณีที่ 2. ถานําสมการเคมีมารวมกันจะสงผลตอคาคงที่เดิม คาคงที่ใหมจะเทากับคาคงที่ของ
ปฏิกิริยาแรกคูณดวยคาคงทีของปฏิกิริยาที่สองเชน
                          ่
        A+B                C+D             … K1

เขียนคาคงที่สมดุลได K 1 = [C][D]
                             [A][B]


        E+F                G+B             … K2

เขียนคาคงที่สมดุลได K 2 = [G][B]
                             [E][F]
เมื่อรวมสมการเคมีจะได

                 A+E+F                     C+D+G

เขียนคาคงที่สมดุลได K 3 = [C][D][G]
                             [A][E][F]


จะเห็นไดวา K 1 × K 2 = [C][D][G] = K 3
                           [A][E][F]
กรณีที่ 3. ถานําจํานวนเต็มใดๆ (n = 1, 2, 3, …) คูณเขาไปในสมการจะพบวา คาคงที่ใหม
เทากับคาคงที่เดิมกําลัง n เชน

        A+B                C+D             … K1

เขียนคาคงที่สมดุลได K 1 = [C][D]
                             [A][B]

เอาสองคูณทั้งสมการจะได

         2A + 2B               2C + 2D            … K2
                                2      2
เขียนคาคงที่สมดุลได K 2 = [C] 2[D]2
                             [A] [B]
จะเห็นไดวา K 2 = K 12



                                                                           นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                  สมดุลเคมี / 11


ดังนั้นสรุปไดวา
             1) ถากลับสมการคา K จะกลับเศษเปนสวน
             2) ถานําสมการมารวมกันคา K จะนํามาคูณกัน
             3) ถาเอาเลขคูณทั้งสมการคา K นํามายกกําลัง

ตัวอยาง จงหาคา K ของปฏิกิริยาตอไปนี้
     A+B                 C+D   --- K1
     G+B                 E+F   --- K2
   A+E+F                 C+D+G

K = ………………………

ตัวอยาง คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 2NO(g) + O2(g)               2NO2(g) เทากับ 1× 1012
คาคงที่สมดลุของปฏิกิริยา NO(g) + 1/2O2(g)                 NO2(g) เทากับเทาใด

K = …………………………………………….

12. การหาคาคงที่ K

มีทั้งหมด 4 แนวทาง
        1) ใหหา คาคงทีสมดุล โดยกําหนดความเขมขนใหทกคา
                        ่                              ุ
        2) ใหหาคาคงที่สมดุล โดยกําหนดความเขมขนใหบางคา สวนคาที่เหลือหาจากสมการ
            เคมี
        3) กําหนดคาคงที่สมดุลให และหาความเขมขนของสารแตละตัว
        4) การหาคา K เมื่อมีการรบกวนสมดุล

คา K ที่นํามาคิด คิดเฉพาะสารที่เปน aqueous และ gas เทานั้น

ตัวอยาง 12.1 จากปฏิกิริยา A(s) + 2B(g) + 2C(g)           4D(g) + 6E(s) + F(g) ที่
ภาวะสมดุลในภาชนะ 5 ลิตรซึ่งมีสารตางๆ ดังนี้ A = 15 mol, B = 5 mol, C = 10 mol,
D = 20 mol, E = 5 mol และ F = 5 mol จงหาคา K




                                                                            นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                       สมดุลเคมี / 12


ตัวอยาง 12.2 จากปฏิกิริยาเคมีตอไปนี้ N2O4(g)    2NO2(g) ที่ภาวะสมดุลพบวาความ
เขมขนของ N2O4 มีคาเทากับ 4.50 × 10 mol/dm และ ความเขมขนของ NO2 เทากับ
                                          -2    3


1.61 × 10-2 mol/dm3 จงคํานวณหาคา K ของปฏิกิริยานี้




ตัวอยาง 12.3 3.0 โมลของ SO2 และ 1.50 โมลของ O2 บรรจุอยูในภาชนะ 2.0 dm3 ที่
อุณหภูมิ 1350 K จากการทดลองพบวาที่ภาวะสมดุลมี O2 0.90 โมล จงคํานวณหาคาคงที่
สมดุลของปฏิกิริยา
      2SO2(g) + O2(g)           2SO3(g)




ตัวอยาง 12.4 1.24 โมลของ H2 และ 5.08 โมลของ N2 บรรจุอยูในภาชนะ 10 dm3 ที่
400 ๐C เมื่อถึงภาวะสมดุลมี NH3 0.159 โมลเกิดขึน จงคํานวณหาคา K สําหรับปฏิกิริยา
                                              ้
      N2(g) + 3H2(g)            2NH3(g)




                                                                 นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                            สมดุลเคมี / 13


ตัวอยาง 12.5 การทดลองในการสันดาปใน combustion chamber ที่ 1800 K ความ
เขมขนเริ่มตนของ N2 และ O2 เทากับ 2.2 และ 0.060 mol/dm3 ตามลําดับคาคงที่สมดุลของ
ปฏิกริยา
     ิ
               N2(g) + O2(g)           2NO(g)

เทากับ 1.2 × 10-4 ที่ 1800 K จงคํานวณหาความเขมขนของ N2, O2 และ NO ที่ภาวะสมดุล




ตัวอยาง 12.6 จากการเผา PCl5 0.08 โมล ในภาชนะ 2 ลิตรใหความรอน 250 ๐C รอใหถึง
ภาวะสมดุลพบวาจะให Cl2(g) 0.05 โมล จงคํานวณหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่ 250 ๐C




ตัวอยาง 12.7 ปฏิกิริยา A(g) + B(g)            C(g) + D(g) ถาอุณหภูมิที่ 25๐C ปริมาตร
1 ลิตรมีกาซ A, B, C และ D อยู 2, 2, 1 และ 1 โมลตามลําดับถารบกวนสมดุลโดยการเติม A
ลงไปโดยไมเปลี่ยนอุณหภูมิพบวาเมื่อระบบเขาสูสมดุลใหมจะมีกาซ B เหลืออยู 1.5 โมล อยาก
                                                            
ทราบวาเติมกาซ A ลงไปกี่โมล




                                                                      นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                             สมดุลเคมี / 14



12. การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล
         อิทธิพลที่มีตอภาวะสมดุลของระบบและสามารถทําใหสมดุลของระบบเปลี่ยนไปมีดังนี้
         1) ความเขมขน
         2) ความดัน
         3) อุณหภูมิ
         1) ความเขมขนกับการเปลี่ยนภาวะสมดุล จะสงผลใหสมดุลเกิดการเปลี่ยนแปลงแลวเกิด
สมดุลใหมเกิดขึ้น
ตัวอยางเชนการทดปฏิกิริยาระหวาง Fe(NO3)3 กับสารละลาย NH4SCN เมื่ออยูในระบบ
สมดุลเขียนสมการไดดังนี้

               Fe3+(aq) + SCN-(aq)                   FeSCN2+(aq)
               สีเหลืองออน   ไมมีสี            สีแดง

        เมื่อเติมสารละลาย Fe(NO3)3 ลงไปในระบบที่สมดุลแลวความเขมขนของ Fe3+ ใน
ระบบเพิ่มขึ้นจะพบวาสารละลายผสมมีสีแดงเขมขึ้นแสดงใหเห็นวาระบบเกิดการปรับตัวโดยมี
FeSCN2+ ไอออนเกิดเพิ่มขึ้นและในที่สุดสีคงทีอีกครั้ง แสดงวาระบบเขาสูสมดุลอีกครั้ง
        เมื่อเติมสารละลาย NH4SCN จะทําใหความเขมขนของ SCN- ไอออนในระบบเพิมขึ้น    ่
สารละลายผสมจะมีสีแดงเขมขึ้นแสดงวามี FeSCN2+ เพิ่มขึ้นไอออนเกิดเพิ่มขึ้นตอมาสีจะคงที่
แสดงวาระบบเขาสูสมดุลอีกครั้ง


ตัวอยางที่ 12.1 จงทํานายการดําเนินไปของปฏิกิริยาเมื่อรบกวนสมดุลวาทิศทางไปทางไหนเพื่อ
ปรับเขาสูสมดุลใหม

       2Fe3+ + 2I-              2Fe2+ + I2

เติม Fe(NO3)3          สมดุลเลื่อนไปทาง ……………………
เติม Pb(NO3)3          สมดุลเลื่อนไปทาง ……………………
เติม KI       สมดุลเลื่อนไปทาง ……………………
เติม AgNO3 สมดุลเลื่อนไปทาง ……………………
เติม LiI      สมดุลเลื่อนไปทาง ……………………


                                                                       นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                              สมดุลเคมี / 15


ตัวอยางที่ 12.2 A + 3B              2C

ถาเพิ่มความเขมขนของ A ลงไปจงวาดกราฟแสดงภาวะสมดุลใหม

      A

[]    B

      C
                                           เวลา



แตเมื่อลดความเขมขนของ C กราฟสมดุลใหมจะเปนอยางไร

          A

 []       B

          C
                                             เวลา



ในกรณีที่เปนปฏิกิริยาจําพวกกรดเบส
- ถาเติมกรดหรือเกลือที่เปนกรดเปรียบเสมือนเติม H+
- ถาเติมเบสหรือเกลือที่เปนเบส เปรียบเสมือนเติม OH-

          2) ความดันกับการเปลี่ยนภาวะสมดุล จะมีผลเฉพาะกาซหรือไอเทานัน ระบบจะเขาสู
                                                                      ้
สมดุลเมื่อถูกรบกวนตามหลักของเลอชาเตอลิเอ โดยอาศัยกฎของบอยล (Boyle’s law): Vα 1
                                                                                          P
และกฎของอาโวกาโดร: V α n
         ถารบกวนสภาวะสมดุลโดยการเพิ่มความดันของระบบ ระบบจะปรับตัวไปในทางทีจะลด่
ความดันของตัวเอง โดยการลดจํานวนโมลของแกส คือเกิดปฏิกิริยาจากดานที่มแกสมากไปยังดาน
                                                                     ี
ที่มีแกสนอย แลวเขาสูสมดุลใหม




                                                                        นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                 สมดุลเคมี / 16


          แตถารบกวนภาวะสมดุลโดยการลดความดันของระบบ ระบบจะปรับตัวไปในทางทีจะ     ่
เพิ่มความดันของตัวเอง โดยการเพิ่มจํานวนโมลของแกส คือเกิดปฏิกริยาจากดานทีมแกสนอยไปยัง
                                                             ิ            ่ ี
ดานที่มีแกสมาก แลวเขาสูภาวะสมดุลใหม
                           

ดังนั้นสามารถสรุปไดดังนี้
ถาเพิ่มความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางโมลนอย และ ถาลดความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางโมลมาก
แตถาจํานวนโมลเทากันเมื่อเปลี่ยนความดันระบบจะเขาสูภาวะสมดุลใหมโดยไมมการปรับตัว
                                                                          ี
เชน 2SO2(g) + O2(g)                     2SO3(g)

                         3 mol             2 mol

ถาเพิ่มความดันระบบจะปรับตัวเขาสูสมดุลโดยเลื่อนไปทางโมลนอย นั้นคือเลื่อนจากซายไปขวา
ถาลดความดันระบบจะปรับตัวเขาสูสมดุลโดยเลื่อนไปทางโมลมาก นั้นคือเลื่อนจากขวาไปซาย

ตัวอยางที่ 12.3                 2CO(g) + O2(g)         2CO2(g)

    • เพิ่มความดันสมดุลเลื่อนไปทาง………………………..
    • ลดความดันสมดุลเลื่อนไปทาง…………………………
    • ถาตองการใหสมดุลเลื่อนจากซายไปขวา (สมดุลเลื่อนไปขางหนา) ตองลดหรือเพิ่มความ
             ดัน………………..


ถาเพิ่มความดันใหระบบจะไดกราฟที่สมดุลใหมเปนเชนไร



                    CO
      ความเขมขน




                    O2

                    CO2

                                                        เวลา




                                                                           นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                    สมดุลเคมี / 17


ถาลดความดันใหระบบจะไดกราฟที่สมดุลใหมเปนเชนไร


                   CO
     ความเขมขน



                   O2

                   CO2


                                                           เวลา


            3) อุณหภูมิกบการเปลี่ยนภาวะสมดุล อุณหภูมิมีผลตอสมดุลเคมีวาดําเนินไปขางหนาหรือ
                        ั
ยอนกลับตองพิจารณากอนวาปฏิกิรยาเคมีนั้นเปนดูดหรือคายความรอน หากปฏิกิรยาเปนปฏิกรยา
                                   ิ                                          ิ     ิิ
ดูดความรอน เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจะสงผลใหระบบดําเนินไปขางหนามากขึนแตหากลดอุณหภูมิจะ
                                                                      ้
สงผลใหปฏิกิริยาเกิดยอนกลับ ในทางกลับกันหากเปนปฏิกิริยาคายความรอนหากลดอุณหภูมิจะ
สงผลใหปฏิกิริยาดําเนินไปขางหนา แตเมือเพิ่มอุณหภูมปฏิกิริยาจะเกิดยอนกลับ
                                         ่            ิ

ตารางพิจารณาปฏิกิริยาวาดูดหรือคายความรอน

ปฏิกิริยาดูดความรอน(Endothermic ปฏิกิริยาคายความรอน    (Exothermic
reaction)                        reaction)
A + B + 100 kJ       C+D         A + B - 100 kJ          C+D
A+B          C + D - 100 kJ      A+B             C + D + 100 kJ
A+B          C+D      ΔH เปนบวก A + B           C+D      ΔH เปนลบ
A+B          C + D - heat        A+B              C + D + heat
A + B + heat       C+D           A + B - heat          C+D
A         C+D                    A+B              C

ตัวอยาง 12.4 จากสมการ
            N2O4(g) + 92 kJ               2NO2(g)
หากเพิ่มอุณหภูมิปฏิกิริยาจะปรับเขาสูภาวะสมดุลโดย……………………..




                                                                              นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                            สมดุลเคมี / 18


ตัวอยาง 12.5 จากสมการ 2CO2            2CO + O2 จงทํานายกราฟหลังจากรบกวนระบบ

ถาเพิ่มอุณหภูมิใหแกระบบ

                       CO
       ความเขมขน




                       O2

                       CO2

                                                        เวลา

ถาลดอุณหภูมแกระบบ
            ิ

                       CO
         ความเขมขน




                       O2

                       CO2


                                                         เวลา
13 การใชหลักของเลอชาเตอริเอในอุตสาหกรรม

         ในการผลิตทางดานอุตสาหกรรมผูลงทุนจะตองทําการผลิตและเลือกใชวิธีผลิตในการ
เปลี่ยนวัตถุดิบเพื่อใหไดผลิตภัณฑมากที่สด ในการผลิตกาซแอมโมเนียมีปฏิกิรยาดังนี้
                                          ุ                               ิ

N2(g) + 3H2(g)               2NH3(g) + 92 kJ




                                                                      นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                            สมดุลเคมี / 19

จากปฏิกิริยาถาอาศัยหลักของเลอชาเตอลิเอเพื่อใหไดกาซมาก ๆ ทําไดดังนี้
         1) ลดอุณหภูมิ
         2) เพิ่มความดัน
         3) เพิ่มความเขมขนของสารตั้นและลดความเขมขนของสารใหม
    แตในทางปฏิบัติจะใชหลักของเลอชาเตอริเอ เพียงอยางเดียวไมไดในทางอุตสาหกรรมจะตอง
คํานึงถึงเวลาและเงินทุนดวย
    จากการทดลองพบวาภาวะทีพอเหมาะคืออุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 500๐C และใชตัวเรง
                                   ่
ปฏิกริยาดวย ซึ่งตัวเรงปฏิกริยาที่เหมาะสมคือเหล็ก
     ิ                      ิ

   ปฏิกิริยาการเติม H2




   ปฏิกิริยาการเติม H2 และการดึง NH3




                                                                      นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                                 สมดุลเคมี / 20

ตัวอยางที่ 13.1 การเตรียมกาซซัลเฟอรไตรออกไซด (SO3) เพื่อใชเปนสารตั้งตนในการเตรียม
กรดซัลฟวริก โดยการนํากาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) มาทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนดัง
สมการ

                          2SO2(g) + O2(g)               2SO3(g)

ซึ่งปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาคายความรอน จงใชหลักเลอชาเตอลิเอเพื่อใหไดผลิตภัณฑปริมาณมาก




                              แบบฝกหัดเพิมเติมเรื่อง สมดุลเคมี
                                          ่

1. จงหาคา K ของสมการตอไปนี้ ในกรณีที่เกียวกับกาซ ใหหาทั้ง Kp และ KC และเขียน
                                          ่
สมการแสดงความสัมพันธของ KP กับ KC ดวย

        ก. 2NOCl(g)                           2 NO (g) + Cl2 (g)
        ข. COCl2(g)                           CO (g) + Cl2 (g)
        ค. NO(g)                               ½ N2 (g) + ½ O2 (g)
        ง. Zn (s) + CO2(g)                     ZnO (s) + CO (g)
        จ. MgSO4(s)                            MgO (s) + SO3 (g)

……………………………………………………………………………
………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………………………
……….……………………………………………………………………
………………………………………………….…………………………
……………………………………………………………………………


                                                                           นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                       สมดุลเคมี / 21
……………….……………………………………………………………
………………………………………………………….…………………
……………………………………………………………………………
……………………….……………………………………………………
………………………………………………………………….

2. สมการของปฏิกิริยา CaCO3 (s)                CaO (s) + CO2 (g) ที่อุณหภูมิ 800 °C
ความดันของ CO2 เทากับ 0.236 atm จงคํานวณ (ก) KP
                     (ข) KC ที่อุณหภูมินี้
……………………………………………………………………………
………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………………………
……….……………………………………………………………………
………………………………………………….…………………………
……………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
………………………………………………………….

3. แอมโมเนียมคารบาเมต ( NH4CO2NH2 ) สลายตัวดังสมการ
NH4CO2NH2 (s)              2NH3 (g) + CO2 (g)
   ตอนเริ่มตนปฏิกิริยามีแอมโมเนียมคารบาเมตที่เปนของแข็งเพียงอยางเดียว และเมื่ออุณหภูมิ
40°C พบวามีความดันของกาซ (NH3 และ CO2) เทากับ 0.363 atm จงคํานวณหาคาคงที่
สมดุล (KP)
……………………………………………………………………………
………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………………………
……….
4.ที่ภาวะสมดุล คา KC ของสมการ H2 (g) + CO2 (g) H2O (g) + CO (g)
เทากับ 4.2 ที่อุณหภูมิ 1650 ° C เมื่อเริ่มตนปฏิกิริยานํา CO2 0.8 โมล ฉีดเขาไปในภาชนะ
ขนาด 5 ลิตร ที่มี H2 อยู 0.80 โมล จงคํานวณหาความเขมขนของสารตั้งตนและสารผลิตภัณฑ
ที่ภาวะสมดุล

……………………………………………………………………………
………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………………………
……….……………………………………………………………………
………………………………………………….…………………………
……………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………
……………………………………………………….


                                                                          นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                            สมดุลเคมี / 22

5. จงเติมคําวา “เพิ่มขึ้น” “ลดลง” หรือ “ไมเปลี่ยนแปลง” ถามีการรบกวนสมดุลของปฏิกิริยา
ตอไปนี้ลงในชองวางใหถกตอง
                        ู

H2 (g)    + Cl2 (g)             2 HCl (g) + 68 kJ

การเปลี่ยนแปลง             [Cl2]                 [HCl]                K
เติม H2 ลงไป
เพิ่มอุณหภูมใหกับระบบ
            ิ
เพิ่มปริมาตรใหกับระบบ

6. ปฏิกิริยาการเตรียมแอมโมเนีย N2 (g) + 3H2 (g)            2 NH3 (g) ปฏิกิริยานี้เปน
ปฏิกริยาดูดความรอน ในอุตสาหกรรมตองการใหไดผลิตภัณฑมากทีสุดคือปฏิกิริยาเลื่อนจากซาย
    ิ                                                        ่
ไปขวา อาศัยความรูเรื่องหลักของเลอชาเตอลิเอในการทําใหได NH3 มาก ๆ สามารถทําไดโดย
……………………………………………………………………………
………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………………………
……….……………………………………………………………………
………………………………………………….…………………………
……………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
………………………………………………………….…………………
……………………………………………………………………………
……………………….……………………………………………………
………………………………………………………………….…………
……………………………………………………………………………
……………………………….




                                                                      นายสาโรจน บุญเส็ง
สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                                                             สมดุลเคมี / 23

ในทางปฏิบัตจริงไดมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะตาง ๆ ใหนักเรียนเติมขอดีและขอเสียของการ
           ิ
เปลี่ยนแปลงนัน ๆ ลงในตาราง
             ้

สภาวะ           การเปลี่ยนแปลง      ขอดี                      ขอเสีย

อุณหภูมิ        สูง                 ……………………                   ……………………
                                    ……………………                   ……………………
                ต่ํา
                                    ………………                     ……………….

ความดัน         สูง                 ……………………                   ……………………
                                    ……………………                   ……………………
                ต่ํา
                                    ………………                     ………………

ในอุตสาหกรรมเลือกใชอุณหภูมท……………….. ความดันที………………………
                                 ิ ี่                    ่
และเมื่อเติมตัวเรงปฏิกิริยาจะมีผลตอสมดุลเคมีหรือไม……………………………




                                                                         นายสาโรจน บุญเส็ง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์neena988
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 

La actualidad más candente (20)

เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 

Destacado

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีnatthaporn1111
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)jitima
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
ประภา
ประภาประภา
ประภาprapa2537
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีKhwan Jomkhwan
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีNanmoer Tunteng
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีchemnpk
 

Destacado (20)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)
 
Bk
BkBk
Bk
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
chemical equilibrium
chemical equilibriumchemical equilibrium
chemical equilibrium
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Similar a Equilibrium mahidol

สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุลMuk52
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมีทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมีmaneerat kinnarat
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียนtippawan61
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkorng001
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีoraneehussem
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 

Similar a Equilibrium mahidol (20)

สาร
สารสาร
สาร
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมีทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
 
Solid liquid-gas
Solid liquid-gasSolid liquid-gas
Solid liquid-gas
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Más de สุรัชนี ภัทรเบญจพล (7)

Protein
ProteinProtein
Protein
 
Ray
RayRay
Ray
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 

Equilibrium mahidol

  • 1. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 1 สมดุลเคมี (Chemical equilibrium) 1. สมดุลเคมี เปนสมดุลแบบไดนามิกหรือสมดุลพลวัต (dynamic equilibrium) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปฏิกริยาไปขางหนาและปฏิกิริยายอนกลับอยูตลอดเวลา ไมหยุดนิ่ง ิ 2. ประเภทของสมดุลไดนามิก 2.1 ภาวะสมดุลระหวางสถานะ เกิดจากสถานะที่แตกตางกัน ประเภทสมดุล การเปลี่ยนแปลง ภาวะของสมดุล ตัวอยาง อัตราการ สมดุลของการ solid liquid หลอมเหลวเทากับ H2O(s) H2O(l) หลอมเหลว อัตราการแข็งตัว อัตราการระเหย สมดุลของการ liquid gas เทากับอัตราการ H2O(l) H2O(g) กลายเปนไอ กลั่นตัว อัตราการระเหิด สมดุลของการ solid gas เทากับอัตราการ I2(s) I2(g) ระเหิด เกิดผลึก 2.2 ภาวะสมดุลในสารละลาย 1) สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับสารละลายอิเล็กโทรไลตออนในน้ํา สวนหนึ่ง แตกตัวเปนไอออน ในขณะที่บางสวนของไอออนจะรวมกันเปนโมเลกุล เชน HCN(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + CN-(aq) 2) สมดุลของการละลาย เกิดขึนกับสารละลายอิเล็กโทรไลตแกหรือนอนอิเล็ก ้ โทรไลตที่อยูในภาวะอิ่มตัว(ถาไมอิ่มตัวจะไมเกิดสมดุลเกิดขึ้น) ซึ่งกลาวไดวาอัตราการละลาย เทากับอัตราการตกผลึก CuSO4(s) + H2O(l) Cu2+(aq) + SO42-(aq) นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 2. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 2 2.3 ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เชน PCl5(g) PCl3(g) + Cl2(g) NH4+(aq) + H2O(l) NH3(aq) + H3O+(aq) 3. ปฏิกิริยาทีผันกลับได (Reversible reaction) ่ ในการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมื่อสารตั้งตนเขาทําปฏิกิริยากันไดสารผลิตภัณฑจะเรียกวา ปฏิกิริยาไปขางหนา และเมื่อสารผลิตภัณฑทําปฏิกิริยากันแลวไดเปนสารตั้งตนเรียกวาปฏิกิรยา ิ ยอนกลับ สําหรับการเปลี่ยนแปลงปฏิกริยาเคมีทั้งไปขางหนาและปฏิกิริยายอนกลับจะเรียกวาการ ิ เปลี่ยนแปลงทีผันกลับไดหรือปฏิกิริยาที่ผันกลับได (reversible reaction) ่ ปฏิกิริยาไปขางหนา Reactant Product ปฏิกิริยายอนกลับ Reactant Product ปฏิกิริยาที่ผันกลับได Reactant Product ปฏิกิริยาผันกลับไดของสารละลาย [Co(H2O)6]2+ + 4Cl- [CoCl4]2- + 6H2O นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 3. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 3 ณ อุณหภูมิหองไอออนทั้งสองของโคบอลตจะปะปนกันอยูในสารละลาย และเปน สารละลายสีมวง ตอเมื่อเราใหความรอนแกสารละลาย ปฏิกิรยาไปขางหนาจะเกิดไดมากขึ้น ิ สารละลายจะเปลี่ยนเปนสีนาเงินในรูปของ [CoCl4]2- และเมือนําสารละลายนี้มาทําใหเย็น ้ํ ่ ปฏิกิรยายอนกลับจะเกิดไดมากขึ้นใหสารละลายสีชมพูในรูปของ [Co(H2O)6] 2+ ในบทนี้เราจะ ิ ศึกษาเรื่องสมดุลเคมี รวมถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอสมดุลเคมี ปฏิกิริยาเคมีสวนใหญมักจะเปนปฏิกิริยาทีผันกลับได คือมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ ่ เกิดสารผลิตภัณฑหรือการเปลี่ยนแปลงไปขางหนาและการเปลี่ยนแปลงยอนกลับหรือการ เปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เกิดสารตั้งตนเมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาและอัตราการ เกิดปฏิกิริยายอนกลับมีคาเทากัน แสดงวาระบบเขาสู สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium) 4. ระบบกับสิ่งแวดลอม (System and surrounding) 1) ระบบ สิ่งที่เราศึกษาหรือทดลอง 2) สิ่งแวดลอม คือสิ่งที่อยูนอกระบบ 5. ชนิดของระบบ 1) ระบบเปด (Opened system) คือระบบที่มีการถายเทไดทั้งมวลสารและพลังงาน กับสิ่งแวดลอม 2) ระบบปด (Closed system) คือระบบที่มีการถายเทเฉพาะพลังงานอยางเดียว แตไม มีการถายเทมวลสาร 3) ระบบโดดเดี่ยว (Isolated system) คือระบบที่ไมมีการถายเททังพลังงานและมวล ้ สารแกสิ่งแวดลอม Energy Energy Energy Matter Matter Matter Opened system Closed system Isolated system นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 4. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 4 ตัวอยาง การเปลี่ยนแปลงตอไปนี้จัดวาเปนระบบแบบใด 1) การหลอมเหลวแนพธารีนในชามกระเบื้อง ระบบ............................. 2) ใสโลหะทองแดงลงในสารละลายกรดไนตริก ระบบ............................. 3) ผสมกรด HCl กับ NaOH ในบีกเกอร ระบบ............................. 4) ตั้งบีกเกอรใสน้ําปูนใสไวบนโตะจนกระทั่งมีฝาสีขาว ลอยอยูบนน้ําปูนใส ระบบ............................. 6. ระบบที่อยูในภาวะสมดุล 1) เกิดในระบบปด 2) อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาเทากับปฏิกิริยายอนกลับ 3) เปนปฏิกิริยาทีผันกลับได ่ 4) มีสมบัติคงที่ (สี อุณหภูมิ ความดัน ความเขมขน และ จํานวนโมล) ตัวอยาง จากปฏิกิริยาเคมีตอไปนี้จงตอบคําถาม  A + B C + D 1) A B สมดุล ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม ................. สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................ ้ ํ 2) C D สมดุล ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม ................. สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................ ้ ํ 3) A C สมดุล ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม ................. สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................ ้ ํ นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 5. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 5 4) B D สมดุล ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม ................. สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................ ้ ํ 5) A B C สมดุล ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม ................. สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................ ้ ํ 6) B C D สมดุล ระบบเขาสูสภาวะสมดุลได หรือ ไมได สารใดเกิดใหม ................. สารใดที่มีจํานวนโมลเพิ่มขึน........................สารใดที่มีจานวนโมลลดลง........................ ้ ํ 7. ภาวะสมดุล อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปขางหนาเทากับปฏิกิริยายอนกลับ เริ่มตนอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาเริมลดลง ในขณะที่ปฏิกิริยายอนกลับเริ่มเพิ่มขึ้น ที่ ่ ภาวะสมดุลอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาและปฏิกริยายอนกลับมีคาเทากันถาไมมีการรบกวน ิ สมดุลเกิดขึ้น ตัวอยางเชนการทดลองในระบบของสารตอไปนี้ดังสมการ N2O4(g) 2NO2(g) ไมมีสี สีน้ําตาล เมื่อเรานํากาซไดไนโตรเจนเตตระออกไซดใสไวในขวดที่มีฝาปด และทําใหมีอณหภูมิ ุ 100๐C กาซในขวดจะเริ่มเปลี่ยนเปนสีนาตาลและคอย ๆ เขมขึ้นเรื่อย ๆ จนความเขมสีคงที่ เมือ ้ํ ่ ทําการศึกษาในระดับโมเลกุลพบวา ในชวงแรกโมเลกุลของ N2O4 จะแพรกระจายไปทั่วขวด จากนั้นจึงคอย ๆ สลายตัวเปน NO2 ซึ่งมีสีน้ําตาล และโมเลกุลของ NO2 จะคอย ๆ เพิ่มมากขึ้น จึงเห็นเปนสีนาตาลเขมขึ้น เมื่อจํานวนโมเลกุลของ N2O4 นอยลง N2O4 ก็จะสลายตัวชาลงดวย ้ํ นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 6. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 6 ในขณะที่โมเลกุลของ N2O4 สลายตัว โมเลกุลของ NO2 จะเกิดขึ้น และเมื่ออัตราการ เกิดปฏิกิรยาไปขางหนา (การสลายตัวของ N2O4 ) เทากับอัตราการเกิดปฏิกิริยายอนกลับ (การ ิ เกิด N2O4 ) ภาวะนี้เรียกวา ภาวะสมดุล 8. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีกับเวลาในระบบที่มีภาวะสมดุล ิ R1 A B R2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาไปขางหนา A B สมดุล ปฏิกิริยายอนกลับ B A เวลา เมื่อเปรียบเทียบ R1 และ R2 ควรเปนอยางไร ที่เริ่มตนปฏิกริยา ิ R1………………R2 ที่ภาวะสมดุล R1………………R2 นอกจากการเกิดภาวะสมดุลนั้นจะตองเปนระบบปด เปนปฏิกิริยาที่ผนกลับไดแลว ภาวะสมดุลจะ ั เกิดขึ้นไดอีกประการหนึ่งทีสําคัญคือคุณสมบัติของระบบคงทีทั้ง สี กลิ่น และความเขมขนของสาร ่ ่ นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 7. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 7 กราฟแสดงในเทอมของความเขมขนของสมดุลไดนามิกของสารแตละตัวในระบบได ซึ่งที่ภาวะ สมดุลความเขมขนของสารทุกตัวในระบบจะคงที่ดังกราฟตอไปนี้ A + B C + D A+B [ ] C+D เวลา กราฟแสดงความเขมขนที่ภาวะสมดุลเมื่อความเขมขนของสาร ผลิตภัณฑ เทากับ สารตั้งตน A+B [ ] C+D เวลา กราฟแสดงความสัมพันธที่ภาวะสมดุลเมื่อความเขมขนของสารผลิตภัณฑ นอยกวา สารตั้งตน C+D [ ] A+B เวลา กราฟแสดงความสัมพันธที่ภาวะสมดุลเมื่อความเขมขนของสารผลิตภัณฑ มากกวา สารตั้งตน การแสดงกราฟสมดุลของระบบในแงความเขมขนไมจําเปนตองเขียนความสัมพันธ ระหวางความเขมขนของสารทุกตัวกับเวลา อาจเขียนพิจาณาแคสารใดสารหนึ่ง นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 8. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 8 9. ภาวะสมดุลกับตัวเรงปฏิกิริยา หากนําตัวเรงใสเขาไปในปฏิกิริยาที่สามารถเกิดภาวะสมดุลไดและปฏิกิริยาขณะนันยังไม ้ เขาสูสมดุล ตัวเรงจะเรงใหเขาสูภาวะสมดุลไดเร็วขึ้น โดยจะเรงใหปฏิกริยาไปขางหนาและ ิ ปฏิกิริยายอนกลับใหเทากัน แตถาภาวะนันเขาสูสมดุลแลวตัวเรงปฏิกิริยาจะไมมีผลตอระบบ  ้ 10. สมดุลเอกพันธและสมดุลวิวิธพันธ (Homogeneous and heterogeneous equilibrium) สมดุลเอกพันธคือสมดุลที่มีสามตั้งตนและผลิตภัณฑทกชนิดมีวฏภาคเดียวกันสวนสมดุลที่มีวฏภาค ุ ั ั ตางกันตั้งแต 2 ชนิดเรียกวาสมดุลวิวิธพันธ ตัวอยางสมดุลวิวิธพันธไดแกสภาวะระหวางน้ําในสถานะของเหลวกับน้ําในสถานะไอ H2O(l) H2O(g) เลอชาเตอริเอ (Lechatelier) กลาวไววา ระบบใดก็ตามที่เขาสูภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวน  ดวยภาวะตางๆ (ความเขมขน อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทําใหระบบที่เขาสูสมดุลนั้นเสียไป แต ระบบจะพยายามปรับสภาวะใหเขาสูสมดุลอีกครั้ง แตจะไมเหมือนสมดุลครั้งแรก เชน จากปฏิกริยา A + B ิ C + D ซึ่งอยูในภาวะสมดุลถาเปลี่ยนความเขมขนของสารตัว หนึ่งตัวใดของระบบจะทําใหสมดุลเปลี่ยน ถาเพิ่ม [A] จะทําใหสมดุลเปลี่ยนทิศทาง เพื่อลดความเขมขนของ A ตามหลักเลอชาเตอริเอ สมดุลเปลี่ยนจากซายไปขวา ที่สมดุลใหม [A] เพิ่มขึ้น [B] ลดลง [C] และ [D] เพิ่มขึ้น เมื่อ เทียบกับสมดุลเดิม เวลา สมดุลเกา สมดุล นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 9. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 9 ถาลด [A] จะทําใหสมดุลเปลี่ยนทิศทาง เพื่อเพิ่มความเขมขนของ A ตามหลักเลอชาเตอริเอ สมดุลเปลี่ยนจากขวาไปซาย ที่สมดุลใหม [A] ลดลง [B] เพิ่มขึ้น [C] และ [D] ลดลง เมื่อ เทียบกับสมดุลเดิม เวลา สมดุลเกา สมดุล 11. คาคงที่สมดุลกับสมการเคมี กําหนดใหปฏิกิริยาเคมีคือ aA + bB cC + dD เมื่อเขียนคาคงที่สมดุล (K) จะไดความสัมพันธดังนี้ [C]c [D]d K= ... (1) [A]a [B]b หากมีการเปลียนแปลงสมการเคมี เชนกลับสมการจากสารตั้งตนเปนสารผลิตภัณฑหรือ ่ จํานวนโมลของสมการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ก็จะมีผลตอคาคงที่สมดุลใหมดวย ดังตัวอยาง  กรณีที่ 1. ถากลับสมการจากสารตั้งตนเปนสารผลิตภัณฑคาคงที่สมดุลใหมจะเปนสวนกลับกับ คาคงที่เดิมเชน A+B C+D … K1 [C][D] คาคงที่สมดุลคือ K1 = [A][B] ถากลับสมการ C+D A+B … K2 คาคงที่สมดุลคือ K 2 = [A][B] [C][D] นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 10. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 10 1 จะเห็นไดวา K2 = K1 กรณีที่ 2. ถานําสมการเคมีมารวมกันจะสงผลตอคาคงที่เดิม คาคงที่ใหมจะเทากับคาคงที่ของ ปฏิกิริยาแรกคูณดวยคาคงทีของปฏิกิริยาที่สองเชน ่ A+B C+D … K1 เขียนคาคงที่สมดุลได K 1 = [C][D] [A][B] E+F G+B … K2 เขียนคาคงที่สมดุลได K 2 = [G][B] [E][F] เมื่อรวมสมการเคมีจะได A+E+F C+D+G เขียนคาคงที่สมดุลได K 3 = [C][D][G] [A][E][F] จะเห็นไดวา K 1 × K 2 = [C][D][G] = K 3 [A][E][F] กรณีที่ 3. ถานําจํานวนเต็มใดๆ (n = 1, 2, 3, …) คูณเขาไปในสมการจะพบวา คาคงที่ใหม เทากับคาคงที่เดิมกําลัง n เชน A+B C+D … K1 เขียนคาคงที่สมดุลได K 1 = [C][D] [A][B] เอาสองคูณทั้งสมการจะได 2A + 2B 2C + 2D … K2 2 2 เขียนคาคงที่สมดุลได K 2 = [C] 2[D]2 [A] [B] จะเห็นไดวา K 2 = K 12 นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 11. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 11 ดังนั้นสรุปไดวา 1) ถากลับสมการคา K จะกลับเศษเปนสวน 2) ถานําสมการมารวมกันคา K จะนํามาคูณกัน 3) ถาเอาเลขคูณทั้งสมการคา K นํามายกกําลัง ตัวอยาง จงหาคา K ของปฏิกิริยาตอไปนี้ A+B C+D --- K1 G+B E+F --- K2 A+E+F C+D+G K = ……………………… ตัวอยาง คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 2NO(g) + O2(g) 2NO2(g) เทากับ 1× 1012 คาคงที่สมดลุของปฏิกิริยา NO(g) + 1/2O2(g) NO2(g) เทากับเทาใด K = ……………………………………………. 12. การหาคาคงที่ K มีทั้งหมด 4 แนวทาง 1) ใหหา คาคงทีสมดุล โดยกําหนดความเขมขนใหทกคา ่ ุ 2) ใหหาคาคงที่สมดุล โดยกําหนดความเขมขนใหบางคา สวนคาที่เหลือหาจากสมการ เคมี 3) กําหนดคาคงที่สมดุลให และหาความเขมขนของสารแตละตัว 4) การหาคา K เมื่อมีการรบกวนสมดุล คา K ที่นํามาคิด คิดเฉพาะสารที่เปน aqueous และ gas เทานั้น ตัวอยาง 12.1 จากปฏิกิริยา A(s) + 2B(g) + 2C(g) 4D(g) + 6E(s) + F(g) ที่ ภาวะสมดุลในภาชนะ 5 ลิตรซึ่งมีสารตางๆ ดังนี้ A = 15 mol, B = 5 mol, C = 10 mol, D = 20 mol, E = 5 mol และ F = 5 mol จงหาคา K นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 12. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 12 ตัวอยาง 12.2 จากปฏิกิริยาเคมีตอไปนี้ N2O4(g) 2NO2(g) ที่ภาวะสมดุลพบวาความ เขมขนของ N2O4 มีคาเทากับ 4.50 × 10 mol/dm และ ความเขมขนของ NO2 เทากับ -2 3 1.61 × 10-2 mol/dm3 จงคํานวณหาคา K ของปฏิกิริยานี้ ตัวอยาง 12.3 3.0 โมลของ SO2 และ 1.50 โมลของ O2 บรรจุอยูในภาชนะ 2.0 dm3 ที่ อุณหภูมิ 1350 K จากการทดลองพบวาที่ภาวะสมดุลมี O2 0.90 โมล จงคํานวณหาคาคงที่ สมดุลของปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) ตัวอยาง 12.4 1.24 โมลของ H2 และ 5.08 โมลของ N2 บรรจุอยูในภาชนะ 10 dm3 ที่ 400 ๐C เมื่อถึงภาวะสมดุลมี NH3 0.159 โมลเกิดขึน จงคํานวณหาคา K สําหรับปฏิกิริยา ้ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 13. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 13 ตัวอยาง 12.5 การทดลองในการสันดาปใน combustion chamber ที่ 1800 K ความ เขมขนเริ่มตนของ N2 และ O2 เทากับ 2.2 และ 0.060 mol/dm3 ตามลําดับคาคงที่สมดุลของ ปฏิกริยา ิ N2(g) + O2(g) 2NO(g) เทากับ 1.2 × 10-4 ที่ 1800 K จงคํานวณหาความเขมขนของ N2, O2 และ NO ที่ภาวะสมดุล ตัวอยาง 12.6 จากการเผา PCl5 0.08 โมล ในภาชนะ 2 ลิตรใหความรอน 250 ๐C รอใหถึง ภาวะสมดุลพบวาจะให Cl2(g) 0.05 โมล จงคํานวณหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่ 250 ๐C ตัวอยาง 12.7 ปฏิกิริยา A(g) + B(g) C(g) + D(g) ถาอุณหภูมิที่ 25๐C ปริมาตร 1 ลิตรมีกาซ A, B, C และ D อยู 2, 2, 1 และ 1 โมลตามลําดับถารบกวนสมดุลโดยการเติม A ลงไปโดยไมเปลี่ยนอุณหภูมิพบวาเมื่อระบบเขาสูสมดุลใหมจะมีกาซ B เหลืออยู 1.5 โมล อยาก  ทราบวาเติมกาซ A ลงไปกี่โมล นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 14. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 14 12. การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล อิทธิพลที่มีตอภาวะสมดุลของระบบและสามารถทําใหสมดุลของระบบเปลี่ยนไปมีดังนี้ 1) ความเขมขน 2) ความดัน 3) อุณหภูมิ 1) ความเขมขนกับการเปลี่ยนภาวะสมดุล จะสงผลใหสมดุลเกิดการเปลี่ยนแปลงแลวเกิด สมดุลใหมเกิดขึ้น ตัวอยางเชนการทดปฏิกิริยาระหวาง Fe(NO3)3 กับสารละลาย NH4SCN เมื่ออยูในระบบ สมดุลเขียนสมการไดดังนี้ Fe3+(aq) + SCN-(aq) FeSCN2+(aq) สีเหลืองออน ไมมีสี สีแดง เมื่อเติมสารละลาย Fe(NO3)3 ลงไปในระบบที่สมดุลแลวความเขมขนของ Fe3+ ใน ระบบเพิ่มขึ้นจะพบวาสารละลายผสมมีสีแดงเขมขึ้นแสดงใหเห็นวาระบบเกิดการปรับตัวโดยมี FeSCN2+ ไอออนเกิดเพิ่มขึ้นและในที่สุดสีคงทีอีกครั้ง แสดงวาระบบเขาสูสมดุลอีกครั้ง เมื่อเติมสารละลาย NH4SCN จะทําใหความเขมขนของ SCN- ไอออนในระบบเพิมขึ้น ่ สารละลายผสมจะมีสีแดงเขมขึ้นแสดงวามี FeSCN2+ เพิ่มขึ้นไอออนเกิดเพิ่มขึ้นตอมาสีจะคงที่ แสดงวาระบบเขาสูสมดุลอีกครั้ง ตัวอยางที่ 12.1 จงทํานายการดําเนินไปของปฏิกิริยาเมื่อรบกวนสมดุลวาทิศทางไปทางไหนเพื่อ ปรับเขาสูสมดุลใหม 2Fe3+ + 2I- 2Fe2+ + I2 เติม Fe(NO3)3 สมดุลเลื่อนไปทาง …………………… เติม Pb(NO3)3 สมดุลเลื่อนไปทาง …………………… เติม KI สมดุลเลื่อนไปทาง …………………… เติม AgNO3 สมดุลเลื่อนไปทาง …………………… เติม LiI สมดุลเลื่อนไปทาง …………………… นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 15. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 15 ตัวอยางที่ 12.2 A + 3B 2C ถาเพิ่มความเขมขนของ A ลงไปจงวาดกราฟแสดงภาวะสมดุลใหม A [] B C เวลา แตเมื่อลดความเขมขนของ C กราฟสมดุลใหมจะเปนอยางไร A [] B C เวลา ในกรณีที่เปนปฏิกิริยาจําพวกกรดเบส - ถาเติมกรดหรือเกลือที่เปนกรดเปรียบเสมือนเติม H+ - ถาเติมเบสหรือเกลือที่เปนเบส เปรียบเสมือนเติม OH- 2) ความดันกับการเปลี่ยนภาวะสมดุล จะมีผลเฉพาะกาซหรือไอเทานัน ระบบจะเขาสู ้ สมดุลเมื่อถูกรบกวนตามหลักของเลอชาเตอลิเอ โดยอาศัยกฎของบอยล (Boyle’s law): Vα 1 P และกฎของอาโวกาโดร: V α n ถารบกวนสภาวะสมดุลโดยการเพิ่มความดันของระบบ ระบบจะปรับตัวไปในทางทีจะลด่ ความดันของตัวเอง โดยการลดจํานวนโมลของแกส คือเกิดปฏิกิริยาจากดานที่มแกสมากไปยังดาน ี ที่มีแกสนอย แลวเขาสูสมดุลใหม นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 16. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 16 แตถารบกวนภาวะสมดุลโดยการลดความดันของระบบ ระบบจะปรับตัวไปในทางทีจะ ่ เพิ่มความดันของตัวเอง โดยการเพิ่มจํานวนโมลของแกส คือเกิดปฏิกริยาจากดานทีมแกสนอยไปยัง ิ ่ ี ดานที่มีแกสมาก แลวเขาสูภาวะสมดุลใหม  ดังนั้นสามารถสรุปไดดังนี้ ถาเพิ่มความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางโมลนอย และ ถาลดความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางโมลมาก แตถาจํานวนโมลเทากันเมื่อเปลี่ยนความดันระบบจะเขาสูภาวะสมดุลใหมโดยไมมการปรับตัว ี เชน 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) 3 mol 2 mol ถาเพิ่มความดันระบบจะปรับตัวเขาสูสมดุลโดยเลื่อนไปทางโมลนอย นั้นคือเลื่อนจากซายไปขวา ถาลดความดันระบบจะปรับตัวเขาสูสมดุลโดยเลื่อนไปทางโมลมาก นั้นคือเลื่อนจากขวาไปซาย ตัวอยางที่ 12.3 2CO(g) + O2(g) 2CO2(g) • เพิ่มความดันสมดุลเลื่อนไปทาง……………………….. • ลดความดันสมดุลเลื่อนไปทาง………………………… • ถาตองการใหสมดุลเลื่อนจากซายไปขวา (สมดุลเลื่อนไปขางหนา) ตองลดหรือเพิ่มความ ดัน……………….. ถาเพิ่มความดันใหระบบจะไดกราฟที่สมดุลใหมเปนเชนไร CO ความเขมขน O2 CO2 เวลา นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 17. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 17 ถาลดความดันใหระบบจะไดกราฟที่สมดุลใหมเปนเชนไร CO ความเขมขน O2 CO2 เวลา 3) อุณหภูมิกบการเปลี่ยนภาวะสมดุล อุณหภูมิมีผลตอสมดุลเคมีวาดําเนินไปขางหนาหรือ ั ยอนกลับตองพิจารณากอนวาปฏิกิรยาเคมีนั้นเปนดูดหรือคายความรอน หากปฏิกิรยาเปนปฏิกรยา ิ ิ ิิ ดูดความรอน เมื่อเพิ่มอุณหภูมิจะสงผลใหระบบดําเนินไปขางหนามากขึนแตหากลดอุณหภูมิจะ ้ สงผลใหปฏิกิริยาเกิดยอนกลับ ในทางกลับกันหากเปนปฏิกิริยาคายความรอนหากลดอุณหภูมิจะ สงผลใหปฏิกิริยาดําเนินไปขางหนา แตเมือเพิ่มอุณหภูมปฏิกิริยาจะเกิดยอนกลับ ่ ิ ตารางพิจารณาปฏิกิริยาวาดูดหรือคายความรอน ปฏิกิริยาดูดความรอน(Endothermic ปฏิกิริยาคายความรอน (Exothermic reaction) reaction) A + B + 100 kJ C+D A + B - 100 kJ C+D A+B C + D - 100 kJ A+B C + D + 100 kJ A+B C+D ΔH เปนบวก A + B C+D ΔH เปนลบ A+B C + D - heat A+B C + D + heat A + B + heat C+D A + B - heat C+D A C+D A+B C ตัวอยาง 12.4 จากสมการ N2O4(g) + 92 kJ 2NO2(g) หากเพิ่มอุณหภูมิปฏิกิริยาจะปรับเขาสูภาวะสมดุลโดย…………………….. นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 18. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 18 ตัวอยาง 12.5 จากสมการ 2CO2 2CO + O2 จงทํานายกราฟหลังจากรบกวนระบบ ถาเพิ่มอุณหภูมิใหแกระบบ CO ความเขมขน O2 CO2 เวลา ถาลดอุณหภูมแกระบบ ิ CO ความเขมขน O2 CO2 เวลา 13 การใชหลักของเลอชาเตอริเอในอุตสาหกรรม ในการผลิตทางดานอุตสาหกรรมผูลงทุนจะตองทําการผลิตและเลือกใชวิธีผลิตในการ เปลี่ยนวัตถุดิบเพื่อใหไดผลิตภัณฑมากที่สด ในการผลิตกาซแอมโมเนียมีปฏิกิรยาดังนี้ ุ ิ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) + 92 kJ นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 19. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 19 จากปฏิกิริยาถาอาศัยหลักของเลอชาเตอลิเอเพื่อใหไดกาซมาก ๆ ทําไดดังนี้ 1) ลดอุณหภูมิ 2) เพิ่มความดัน 3) เพิ่มความเขมขนของสารตั้นและลดความเขมขนของสารใหม แตในทางปฏิบัติจะใชหลักของเลอชาเตอริเอ เพียงอยางเดียวไมไดในทางอุตสาหกรรมจะตอง คํานึงถึงเวลาและเงินทุนดวย จากการทดลองพบวาภาวะทีพอเหมาะคืออุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 500๐C และใชตัวเรง ่ ปฏิกริยาดวย ซึ่งตัวเรงปฏิกริยาที่เหมาะสมคือเหล็ก ิ ิ ปฏิกิริยาการเติม H2 ปฏิกิริยาการเติม H2 และการดึง NH3 นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 20. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 20 ตัวอยางที่ 13.1 การเตรียมกาซซัลเฟอรไตรออกไซด (SO3) เพื่อใชเปนสารตั้งตนในการเตรียม กรดซัลฟวริก โดยการนํากาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) มาทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนดัง สมการ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) ซึ่งปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาคายความรอน จงใชหลักเลอชาเตอลิเอเพื่อใหไดผลิตภัณฑปริมาณมาก แบบฝกหัดเพิมเติมเรื่อง สมดุลเคมี ่ 1. จงหาคา K ของสมการตอไปนี้ ในกรณีที่เกียวกับกาซ ใหหาทั้ง Kp และ KC และเขียน ่ สมการแสดงความสัมพันธของ KP กับ KC ดวย ก. 2NOCl(g) 2 NO (g) + Cl2 (g) ข. COCl2(g) CO (g) + Cl2 (g) ค. NO(g) ½ N2 (g) + ½ O2 (g) ง. Zn (s) + CO2(g) ZnO (s) + CO (g) จ. MgSO4(s) MgO (s) + SO3 (g) …………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………………… ……….…………………………………………………………………… ………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………… นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 21. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 21 ……………….…………………………………………………………… ………………………………………………………….………………… …………………………………………………………………………… ……………………….…………………………………………………… …………………………………………………………………. 2. สมการของปฏิกิริยา CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g) ที่อุณหภูมิ 800 °C ความดันของ CO2 เทากับ 0.236 atm จงคํานวณ (ก) KP (ข) KC ที่อุณหภูมินี้ …………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………………… ……….…………………………………………………………………… ………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………… ……………….…………………………………………………………… …………………………………………………………. 3. แอมโมเนียมคารบาเมต ( NH4CO2NH2 ) สลายตัวดังสมการ NH4CO2NH2 (s) 2NH3 (g) + CO2 (g) ตอนเริ่มตนปฏิกิริยามีแอมโมเนียมคารบาเมตที่เปนของแข็งเพียงอยางเดียว และเมื่ออุณหภูมิ 40°C พบวามีความดันของกาซ (NH3 และ CO2) เทากับ 0.363 atm จงคํานวณหาคาคงที่ สมดุล (KP) …………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………………… ………. 4.ที่ภาวะสมดุล คา KC ของสมการ H2 (g) + CO2 (g) H2O (g) + CO (g) เทากับ 4.2 ที่อุณหภูมิ 1650 ° C เมื่อเริ่มตนปฏิกิริยานํา CO2 0.8 โมล ฉีดเขาไปในภาชนะ ขนาด 5 ลิตร ที่มี H2 อยู 0.80 โมล จงคํานวณหาความเขมขนของสารตั้งตนและสารผลิตภัณฑ ที่ภาวะสมดุล …………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………………… ……….…………………………………………………………………… ………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………… ………………………………………………………. นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 22. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 22 5. จงเติมคําวา “เพิ่มขึ้น” “ลดลง” หรือ “ไมเปลี่ยนแปลง” ถามีการรบกวนสมดุลของปฏิกิริยา ตอไปนี้ลงในชองวางใหถกตอง ู H2 (g) + Cl2 (g) 2 HCl (g) + 68 kJ การเปลี่ยนแปลง [Cl2] [HCl] K เติม H2 ลงไป เพิ่มอุณหภูมใหกับระบบ ิ เพิ่มปริมาตรใหกับระบบ 6. ปฏิกิริยาการเตรียมแอมโมเนีย N2 (g) + 3H2 (g) 2 NH3 (g) ปฏิกิริยานี้เปน ปฏิกริยาดูดความรอน ในอุตสาหกรรมตองการใหไดผลิตภัณฑมากทีสุดคือปฏิกิริยาเลื่อนจากซาย ิ ่ ไปขวา อาศัยความรูเรื่องหลักของเลอชาเตอลิเอในการทําใหได NH3 มาก ๆ สามารถทําไดโดย …………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………………… ……….…………………………………………………………………… ………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………… ……………….…………………………………………………………… ………………………………………………………….………………… …………………………………………………………………………… ……………………….…………………………………………………… ………………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………… ………………………………. นายสาโรจน บุญเส็ง
  • 23. สาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ สมดุลเคมี / 23 ในทางปฏิบัตจริงไดมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะตาง ๆ ใหนักเรียนเติมขอดีและขอเสียของการ ิ เปลี่ยนแปลงนัน ๆ ลงในตาราง ้ สภาวะ การเปลี่ยนแปลง ขอดี ขอเสีย อุณหภูมิ สูง …………………… …………………… …………………… …………………… ต่ํา ……………… ………………. ความดัน สูง …………………… …………………… …………………… …………………… ต่ํา ……………… ……………… ในอุตสาหกรรมเลือกใชอุณหภูมท……………….. ความดันที……………………… ิ ี่ ่ และเมื่อเติมตัวเรงปฏิกิริยาจะมีผลตอสมดุลเคมีหรือไม…………………………… นายสาโรจน บุญเส็ง