SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 41
ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน  โดย สุจิตรา  บุญชู รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม
หัวข้อการบรรยาย 1.  ความเป็นมาของกองทุนเงินทดแทน  และกองทุนประกันสังคม 2.  การเก็บเงินสมทบ 3.  การครอบคลุมลูกจ้าง 4.  เงินทดแทน  /  ประโยชน์ทดแทน 5.  การขอรับเงินทดแทน /  ประโยชน์ทดแทน
พระราชบัญญัติกองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2537
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กองทุนเงินทดแทน -  ประกาศคณะปฏิวัติ  ฉบับที่  103  16  มีนาคม  2515 - พระราชบัญญัติเงินทดแทน  พ . ศ .  2537
ความเป็นมาของกฎหมายเงินทดแทน 16  มี . ค . 2515  ประกาศคณะปฏิบัติ  ฉบับที่  103 1  ม . ค . 2517 บังคับใช้คุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง  20  คนขึ้นไป  ( เฉพาะกรุงเทพฯ ) 1  ม . ค . 2519  ขยายความคุ้มครองจังหวัดปริมณฑล 1  ก . ค . 2531  ขยายความคุ้มครองครบทุกจังหวัด ต่อ
ความเป็นมาของกฎหมายเงินทดแทน 1  ต . ค . 2536 ขยายความคุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง  10  คนขึ้นไป 15  มิ . ย . 2537 พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ . ศ . 2537 1  เม . ย . 2545    ขยายความคุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง  1  คนขึ้นไป
วัตถุประสงค์กองทุนเงินทดแทน เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือ  เจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องจากการทำงาน ให้การสนับสนุน และป้องกันเรื่องความปลอดภัย สุขอนามัยในการทำงาน ลดอุบัติเหตุ  เพื่อให้การบำบัดรักษาและส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ  ( ทั้งร่างกาย และอาชีพ )  ให้สามารถเลี้ยงชีพได้ด้วยตนเอง ไม่เป็นภาระแก่สังคม
พระราชบัญญัติเงินทดแทน ไม่ใช้บังคับ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
นายจ้างอื่นที่ไม่ใช้บังคับ 1.  นายจ้างที่ประกอบกิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้  และ  เลี้ยงสัตว์ ซึ่งมิได้ใช้ลูกจ้างตลอดปี และไม่มีงานลักษณะอื่น รวมอยู่ด้วย 2.  นายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งงานที่ลูกจ้างทำนั้น  มิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย 3.  นายจ้างที่ประกอบการค้าแร่  การค้าแผงลอย
เงินสมทบ กองทุนเงินทดแทน เก็บจากนายจ้าง  ( สปก . ที่มีลูกจ้าง  1  คนขึ้นไป ) คำนวณจากเงินค่าจ้างของลูกจ้าง  อัตราตามความเสี่ยงของกิจการ  ( ร้อยละ  0.2 – 1) จ่ายเป็นรายปี  /  รายงวด  (3  เดือน  / ครั้ง  )  ตามกำหนด จ่ายเกินเวลาที่กำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตรา ร้อยละ  3  ต่อเดือน
การคุ้มครองของกองทุนเงินทดแทน ประสบอันตราย เจ็บป่วยด้วยโรค -  สูญเสียอวัยวะ -  สูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะ -  ทุพพลภาพ -  ตาย  /  สูญหาย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง
สิทธิประโยชน์ ในกองทุนเงินทดแทน 1.  ค่ารักษาพยาบาล 2.  ค่าทดแทน 3.  ค่าทำศพ 4.  ค่าฟื้นฟู
1.1  เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็นไม่เกินวงเงิน 45,000  บาท 1.2  กรณีไม่เพียงพอจ่ายเพิ่มได้อีก  65,000  บาท กรณีดังต่อไปนี้ 1.  บาดเจ็บอย่างรุนแรงของอวัยวะ ภายในหลายส่วน  และต้องได้รับ การผ่าตัดแก้ไข 1.  ค่ารักษาพยาบาล
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
5.  ประสบภาวะที่ต้องผ่าตัดต่ออวัยวะที่ยุ่งยาก ซึ่งต้องใช้วิธีจุลศัลยกรรม 6.  ประสบอันตรายจากไฟไหม้  น้ำร้อนลวก สารเคมีหรือไฟฟ้า  จนถึงขั้นสูญเสีย ผิวหนังลึกถึงหนังแท้เกินกว่าร้อยละสามสิบ ของร่างกาย 7.  ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย  ซึ่งรุนแรง และเรื้อรัง ตามที่กระทรวงแรงงานประกาศ กำหนด
   ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ  1-  ข้อ  6 ตั้งแต่  2  รายการขึ้นไป    ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ  1-  ข้อ  6 ที่จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือต้องพัก รักษาตัวในห้องผู้ป่วยหนัก ตั้งแต่  20  วันขึ้นไป 1.3  กรณี 110,000 บาท ไม่เพียงพอ เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง  ตามความจำเป็น  แต่ไม่เกิน 200,000 บาท กรณี
   บาดเจ็บอย่างรุนแรงของระบบสมองหรือ ไขสันหลัง ที่จำเป็นรักษา  ตั้งแต่  30  วัน ติดต่อกัน    การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่น ซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง  จนเป็นผลให้อวัยวะ สำคัญล้มเหลว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  15  ก . พ . 48
1.4  ในกรณี 200,000 บาท ไม่เพียงพอ เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น  แต่ไม่เกิน  300,000 บาท โดย คณะกรรมการการแพทย์พิจารณา คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนให้ความเห็นชอบ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  13  พ . ค . 2551
2.  ค่าทดแทน จ่าย  60%   ของค่าจ้าง 2.1  กรณีหยุดพักรักษาตัว -  หยุดงาน เกิน  3  วัน  ไม่เกิน  1  ปี  2.2  กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือ สูญเสียสมรรถภาพ -  ไม่เกิน  10  ปี  ( ตามอัตราที่กำหนด ) 2.3  กรณีทุพพลภาพ ไม่เกิน  15  ปี 2.4  กรณีตาย ไม่เกิน  8  ปี
100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำรายวันสูงสุด 20,300 บาท จ่าย ผู้จัดการศพ 3.  ค่าทำศพ
4.  ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ 4.1  ค่าฟื้นฟูทางด้านเวชศาสตร์ ฟื้นฟู  20,000 บาท 4.2  ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด  เพื่อประโยชน์การฟื้นฟู  20,000 บาท
สูญหาย ก เชื่อว่าลูกจ้างถึงแก่ความตายเพราะประสบเหตุ ระหว่างทำงานตามคำสั่งของนายจ้างทั้งนี้  เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า  120 วัน  นับแต่วันเกิดเหตุ ารที่ลูกจ้างหายไปในระหว่างทำงานอันควร
พรบ . เงินทดแทน พ . ศ . 2537 มาตรา  48   เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย   ให้นายจ้างแจ้ง การประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย   ต่อสำนักงานแห่งท้องที่  ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนาอยู่  ตามแบบที่เลขาธิการกำหนด ภายในสิบห้าวัน  นับแต่วันที่นายจ้างทราบ   หรือควรจะได้ทราบ  ถึงการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย
พรบ . เงินทดแทน พ . ศ . 2537 มาตรา  49   เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย  หรือสูญหาย   ให้ลูกจ้าง หรือผู้มีสิทธิตามมาตรา  20  ยื่นคำร้องขอรับเงินทดแทน  ต่อสำนักงานแห่งท้องที่   ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนา  อยู่  ตามแบบที่เลขาธิการกำหนด ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประสบอันตราย  เจ็บป่วย หรือสูญหาย แล้วแต่กรณี
กองทุนเงินทดแทน มาตรา  28  จัดสรรเงินกองทุนไม่เกินร้อยละ  22  ของดอกผลเป็นค่าใช้จ่ายในการบำบัดรักษา  และส่งเสริมการฟื้นฟูฯ และส่งเสริมหรือป้องกันความปลอดภัยในการทำงาน
กองทุนเงินทดแทน ปี  2552 หน่วยงานได้งบจากการเสนอโครงการ    กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จำนวน  12,155,140  บาท ,[object Object],[object Object],[object Object]
กองทุนเงินทดแทน ปี  2552 หน่วยงานได้งบจากการเสนอโครงการ    กรมการแพทย์  ( รพ .  นพรัตน์ราชธานี ) จำนวน  800,000  บาท ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องจากการทำงาน โรคหรือการเจ็บป่วยบางอย่างมิได้เกิดขึ้นทันที เช่น โรคที่เกี่ยวเนื่องจากสารเคมี  ต้องใช้เวลานานพอสมควร จึงจะแสดงอาการ ให้ยื่นคำร้อง ภายใน  2  ปี ตาม  ม .51  อนุ 3
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดชนิดของโรค ซึ่งเกิดขึ้น ตามลักษณะ หรือสภาพของงาน  หรือเนื่องจากการทำงาน ชนิดของโรค  80  โรค ประกาศ ณ วันที่  24  กรกฏาคม  2550
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง  หลักเกณฑ์การวินิจฉัย  และการประเมิน การสูญเสียสมรรถภาพของผู้ป่วย หรือ บาดเจ็บด้วยโรคจากการทำงาน
หลักเกณฑ์ประกอบการวินิจฉัยโรค 1.  มีหลักฐานทางการแพทย์แสดงการเจ็บป่วย 1.  เวชระเบียน 2.  ผลและรายงานการชันสูตรต่าง ๆ  3.  ใบรับรองแพทย์ 4.  ความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ลูกจ้างประสบอันตราย /  เจ็บป่วย รักษาในโรงพยาบาล ,  คลินิค จ่ายให้นายจ้าง /  ลูกจ้าง กท . 44  รักษาในโรงพยาบาล ในความตกลงของกองทุน จ่ายให้ โรงพยาบาล การเบิกค่ารักษา
เปรียบเทียบ 2 กองทุน
ความแตกต่างระหว่าง กองทุนประกันสังคม ,[object Object],[object Object],กองทุนเงินทดแทน ,[object Object],[object Object]
ความแตกต่างระหว่าง กองทุนประกันสังคม 2.  หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ นายจ้างมีหน้าที่จ่าย กองทุนเงินทดแทน 2.  หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ ลูกจ้าง ,  นายจ้าง รัฐบาล
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1.5% 3% 5%
กองทุนประกันสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองทุนเงินทดแทน ,[object Object],[object Object]
กองทุนประกันสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองทุนเงินทดแทน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กองทุนประกันสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองทุนเงินทดแทน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กองทุนประกันสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองทุนเงินทดแทน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สวัสดี

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmchrmsmc
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnitedhrmsmc
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 

La actualidad más candente (7)

Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmc
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 

Similar a what

การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรwanarrom
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์thaitrl
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย Saharat Yimpakdee
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
Sso senior
Sso seniorSso senior
Sso seniorToNn Na
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnitedhrmsmc
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
การประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊กการประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊กNok Le Dy
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2thaitrl
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1thaitrl
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คน5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คนssuserbecb25
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากSupat Hasuwankit
 

Similar a what (20)

การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไร
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
Sso senior
Sso seniorSso senior
Sso senior
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
การประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊กการประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
 
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คน5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คน
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
 
ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52
 

what

  • 1. ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน โดย สุจิตรา บุญชู รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม
  • 2. หัวข้อการบรรยาย 1. ความเป็นมาของกองทุนเงินทดแทน และกองทุนประกันสังคม 2. การเก็บเงินสมทบ 3. การครอบคลุมลูกจ้าง 4. เงินทดแทน / ประโยชน์ทดแทน 5. การขอรับเงินทดแทน / ประโยชน์ทดแทน
  • 4. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กองทุนเงินทดแทน - ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 16 มีนาคม 2515 - พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ . ศ . 2537
  • 5. ความเป็นมาของกฎหมายเงินทดแทน 16 มี . ค . 2515 ประกาศคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 103 1 ม . ค . 2517 บังคับใช้คุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 20 คนขึ้นไป ( เฉพาะกรุงเทพฯ ) 1 ม . ค . 2519 ขยายความคุ้มครองจังหวัดปริมณฑล 1 ก . ค . 2531 ขยายความคุ้มครองครบทุกจังหวัด ต่อ
  • 6. ความเป็นมาของกฎหมายเงินทดแทน 1 ต . ค . 2536 ขยายความคุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 10 คนขึ้นไป 15 มิ . ย . 2537 พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ . ศ . 2537 1 เม . ย . 2545 ขยายความคุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป
  • 7. วัตถุประสงค์กองทุนเงินทดแทน เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องจากการทำงาน ให้การสนับสนุน และป้องกันเรื่องความปลอดภัย สุขอนามัยในการทำงาน ลดอุบัติเหตุ เพื่อให้การบำบัดรักษาและส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ ( ทั้งร่างกาย และอาชีพ ) ให้สามารถเลี้ยงชีพได้ด้วยตนเอง ไม่เป็นภาระแก่สังคม
  • 8.
  • 9. นายจ้างอื่นที่ไม่ใช้บังคับ 1. นายจ้างที่ประกอบกิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้ และ เลี้ยงสัตว์ ซึ่งมิได้ใช้ลูกจ้างตลอดปี และไม่มีงานลักษณะอื่น รวมอยู่ด้วย 2. นายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งงานที่ลูกจ้างทำนั้น มิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย 3. นายจ้างที่ประกอบการค้าแร่ การค้าแผงลอย
  • 10. เงินสมทบ กองทุนเงินทดแทน เก็บจากนายจ้าง ( สปก . ที่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป ) คำนวณจากเงินค่าจ้างของลูกจ้าง อัตราตามความเสี่ยงของกิจการ ( ร้อยละ 0.2 – 1) จ่ายเป็นรายปี / รายงวด (3 เดือน / ครั้ง ) ตามกำหนด จ่ายเกินเวลาที่กำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตรา ร้อยละ 3 ต่อเดือน
  • 11. การคุ้มครองของกองทุนเงินทดแทน ประสบอันตราย เจ็บป่วยด้วยโรค - สูญเสียอวัยวะ - สูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะ - ทุพพลภาพ - ตาย / สูญหาย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง
  • 12. สิทธิประโยชน์ ในกองทุนเงินทดแทน 1. ค่ารักษาพยาบาล 2. ค่าทดแทน 3. ค่าทำศพ 4. ค่าฟื้นฟู
  • 13. 1.1 เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็นไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท 1.2 กรณีไม่เพียงพอจ่ายเพิ่มได้อีก 65,000 บาท กรณีดังต่อไปนี้ 1. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของอวัยวะ ภายในหลายส่วน และต้องได้รับ การผ่าตัดแก้ไข 1. ค่ารักษาพยาบาล
  • 14.
  • 15. 5. ประสบภาวะที่ต้องผ่าตัดต่ออวัยวะที่ยุ่งยาก ซึ่งต้องใช้วิธีจุลศัลยกรรม 6. ประสบอันตรายจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก สารเคมีหรือไฟฟ้า จนถึงขั้นสูญเสีย ผิวหนังลึกถึงหนังแท้เกินกว่าร้อยละสามสิบ ของร่างกาย 7. ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ซึ่งรุนแรง และเรื้อรัง ตามที่กระทรวงแรงงานประกาศ กำหนด
  • 16. ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ 1- ข้อ 6 ตั้งแต่ 2 รายการขึ้นไป  ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ 1- ข้อ 6 ที่จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือต้องพัก รักษาตัวในห้องผู้ป่วยหนัก ตั้งแต่ 20 วันขึ้นไป 1.3 กรณี 110,000 บาท ไม่เพียงพอ เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 200,000 บาท กรณี
  • 17. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของระบบสมองหรือ ไขสันหลัง ที่จำเป็นรักษา ตั้งแต่ 30 วัน ติดต่อกัน  การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่น ซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง จนเป็นผลให้อวัยวะ สำคัญล้มเหลว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 15 ก . พ . 48
  • 18. 1.4 ในกรณี 200,000 บาท ไม่เพียงพอ เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 300,000 บาท โดย คณะกรรมการการแพทย์พิจารณา คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนให้ความเห็นชอบ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 13 พ . ค . 2551
  • 19. 2. ค่าทดแทน จ่าย 60% ของค่าจ้าง 2.1 กรณีหยุดพักรักษาตัว - หยุดงาน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 1 ปี 2.2 กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือ สูญเสียสมรรถภาพ - ไม่เกิน 10 ปี ( ตามอัตราที่กำหนด ) 2.3 กรณีทุพพลภาพ ไม่เกิน 15 ปี 2.4 กรณีตาย ไม่เกิน 8 ปี
  • 20. 100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำรายวันสูงสุด 20,300 บาท จ่าย ผู้จัดการศพ 3. ค่าทำศพ
  • 21. 4. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ 4.1 ค่าฟื้นฟูทางด้านเวชศาสตร์ ฟื้นฟู 20,000 บาท 4.2 ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด เพื่อประโยชน์การฟื้นฟู 20,000 บาท
  • 22. สูญหาย ก เชื่อว่าลูกจ้างถึงแก่ความตายเพราะประสบเหตุ ระหว่างทำงานตามคำสั่งของนายจ้างทั้งนี้ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 120 วัน นับแต่วันเกิดเหตุ ารที่ลูกจ้างหายไปในระหว่างทำงานอันควร
  • 23. พรบ . เงินทดแทน พ . ศ . 2537 มาตรา 48 เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ให้นายจ้างแจ้ง การประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ต่อสำนักงานแห่งท้องที่ ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนาอยู่ ตามแบบที่เลขาธิการกำหนด ภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่นายจ้างทราบ หรือควรจะได้ทราบ ถึงการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย
  • 24. พรบ . เงินทดแทน พ . ศ . 2537 มาตรา 49 เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ให้ลูกจ้าง หรือผู้มีสิทธิตามมาตรา 20 ยื่นคำร้องขอรับเงินทดแทน ต่อสำนักงานแห่งท้องที่ ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนา อยู่ ตามแบบที่เลขาธิการกำหนด ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย แล้วแต่กรณี
  • 25. กองทุนเงินทดแทน มาตรา 28 จัดสรรเงินกองทุนไม่เกินร้อยละ 22 ของดอกผลเป็นค่าใช้จ่ายในการบำบัดรักษา และส่งเสริมการฟื้นฟูฯ และส่งเสริมหรือป้องกันความปลอดภัยในการทำงาน
  • 26.
  • 27.
  • 28. การเจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องจากการทำงาน โรคหรือการเจ็บป่วยบางอย่างมิได้เกิดขึ้นทันที เช่น โรคที่เกี่ยวเนื่องจากสารเคมี ต้องใช้เวลานานพอสมควร จึงจะแสดงอาการ ให้ยื่นคำร้อง ภายใน 2 ปี ตาม ม .51 อนุ 3
  • 29. ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดชนิดของโรค ซึ่งเกิดขึ้น ตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงาน ชนิดของโรค 80 โรค ประกาศ ณ วันที่ 24 กรกฏาคม 2550
  • 30. ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การวินิจฉัย และการประเมิน การสูญเสียสมรรถภาพของผู้ป่วย หรือ บาดเจ็บด้วยโรคจากการทำงาน
  • 31. หลักเกณฑ์ประกอบการวินิจฉัยโรค 1. มีหลักฐานทางการแพทย์แสดงการเจ็บป่วย 1. เวชระเบียน 2. ผลและรายงานการชันสูตรต่าง ๆ 3. ใบรับรองแพทย์ 4. ความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
  • 32. ลูกจ้างประสบอันตราย / เจ็บป่วย รักษาในโรงพยาบาล , คลินิค จ่ายให้นายจ้าง / ลูกจ้าง กท . 44 รักษาในโรงพยาบาล ในความตกลงของกองทุน จ่ายให้ โรงพยาบาล การเบิกค่ารักษา
  • 34.
  • 35. ความแตกต่างระหว่าง กองทุนประกันสังคม 2. หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ นายจ้างมีหน้าที่จ่าย กองทุนเงินทดแทน 2. หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ ลูกจ้าง , นายจ้าง รัฐบาล
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.