SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 67
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1 บทนำ

      รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ประจำปี 2547 เป็นสรุปผลการสำรวจข้อมูลทางธุรกิจของผูประกอบการพาณิชย์-
                                                        ้
อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แห่งชาติจัดทำขึ้น โดยปีนี้เป็นปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมิน
สถานภาพธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการ
กำหนดนโยบาย และวางแผนกลยุทธ์สำหรับภาครัฐในการพัฒนาและส่งเสริม
อุตสาหกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศให้ยั่งยืนและเข้มแข็ง สามารถ
แข่งขันได้ในระดับสากล นอกจากนีสำหรับภาคเอกชน ข้อมูลเหล่านียงมีสวนช่วย
                                ้                              ้ ั ่
ในการประกอบการตัดสินใจในเชิงธุรกิจต่างๆ อีกทังเอือประโยชน์ตอการคาดการณ์
                                               ้ ้           ่
แนวโน้มและสภาวะการณ์ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอนาคตอีกด้วย

       การสำรวจในปี 2547 นี้ จัดทำควบคูไปกับการศึกษาวิเคราะห์พฒนาการของ
                                            ่                            ั
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งดำเนินการโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
กระทรวงพาณิ ช ย์ รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุ ร กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547 ฉบับนี้จึงเป็นเพียงการสรุปข้อมูลเชิงสถิติที่
สำคัญที่ได้จากการสำรวจเท่านั้น สำหรับผู้ที่สนใจผลการสำรวจฉบับสมบูรณ์
พร้ อ มบทวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ลึ ก ของพาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ในภาพรวมและราย
อุตสาหกรรมสามารถดูได้จากรายงานผลโครงการศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการ
ของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง
พาณิชย์ (http://www.dbd.go.th)

      สำหรับผูทสนใจรายงานฉบับนีหรือข้อมูลสถิตดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
              ้ ่ี                ้           ิ ้
การสื่อสารอื่นๆ สามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ http://www.nectec.or.th/pld/
indicators/index.html และหากท่านมีขอสงสัยในผลการสำรวจหรือมีขอเสนอแนะ
                                    ้                          ้
ต่อรายงานฉบับนี้ กรุณาส่งมายัง phumisak.smutkupt@nectec.or.th หรือติดต่อที่

                                            13
               รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
หมายเลขโทรศัพท์ 02-644-8150-9 ต่อ 622

       ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติขอแสดงความ
ขอบคุณกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทีให้ความอนุเคราะห์ฐานข้อมูล
                                                 ่
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และเนื้อหาภายในแบบสอบถามบางส่วน
รวมทังผูประกอบการทุกท่านทีเสียสละเวลาร่วมให้ขอมูลอันเป็นประโยชน์ททำให้
      ้ ้                    ่                     ้                 ่ี
การศึกษาครังนีสำเร็จลุลวงได้ดวยดี ศูนย์ฯ หวังว่าจะได้รบความร่วมมือเช่นนีอก
              ้ ้       ่      ้                      ั                 ้ี
ในการสำรวจครังต่อๆ ไป
                  ้




                                          14
             รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
บทที่ 2 ระเบียบวิธการสำรวจ
                                                         ี

วิธการสำรวจ
   ี
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการสำรวจเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
โดยมีจำนวนผูประกอบการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ทตองการศึกษาทังสิน 880 ราย
               ้                      ิ                  ่ี ้            ้ ้
ซึ่งมาจากฐานข้อมูลผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่จดทะเบียนกับ
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทีมชอและทีอยูถกต้องชัดเจน จำนวน
                                                  ่ ี ่ื      ่ ่ ู
818 ราย และผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รายสำคัญ (Key Players)
ในฐานข้ อ มู ล ของศู น ย์ เ ทคโนโลยี อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ
ทีไม่ซำกับของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าอีก 62 ราย
  ่ ้

เครืองมือการสำรวจ
    ่
      การสำรวจครังนีเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามทีศนย์เทคโนโลยีอเล็กทรอนิกส์
                   ้ ้                             ู่            ิ
และคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ และกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์
ร่วมกันพัฒนาขึน มีทงสิน 12 หน้า และใช้ระยะเวลาในการตอบโดยเฉลียประมาณ
                ้ ้ั ้                                             ่
10-15 นาที
      เนือหาของแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
         ้
      ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานทางธุรกิจ
      ส่วนที่ 2 การประเมินธุรกิจในด้านต่างๆ ดังนี้
                 • การเรียนรู้และการพัฒนา
                 • ลูกค้า
                 • กระบวนการภายใน
                 • การตลาด
                 • เทคโนโลยีสารสนเทศ
                 • การเงิน
                 • พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
      ส่วนที่ 3 การแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม

                                             15
                รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
การเก็บรวบรวมข้อมูล
      ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ได้กระจายแบบ
สอบถามไปยังผูประกอบการทัวประเทศผ่านทางไปรษณีย์ (อีเมล์และโทรสารบ้าง
               ้            ่
ตามความสะดวกของผูรบ) ในระหว่างวันที่ 19 พฤษภาคม ถึง 30 มิถนายน 2547
                     ้ั                                      ุ
และเมือครบกำหนดมีแบบสอบถามทีได้รบกลับมาทังสิน 135 ชุด แต่ทใชัได้จริงมี
      ่                           ่ ั        ้ ้               ่ี
เพียง 127 ชุด อัตราการตอบกลับ (Response Rate) คิดเป็นร้อยละ 14.4

การวิเคราะห์ขอมูลและประเมินผล
             ้
     แบบสอบถามที่ได้กลับมาทั้งหมดถูกนำมาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows เพื่อทำการแจกแจงความถี่
(Frequency) คำนวณหาค่าร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลีย (Mean)
                                                   ่

แนวคิดและคำนิยามของธุรกรรมพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                  ิ
      การสำรวจครั ้ ง นี ้ ใ ช้ ค ำนิ ย ามธุ ร กรรมพาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบแคบ
(Narrow Definition) ขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา
(Organization for Economic Cooperation and Development: OECD)
เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการรวบรวมมูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย
คำนิยามดังกล่าวระบุวา “ธุรกรรมพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์แบบแคบ หรือ Internet
                      ่                           ิ
Transaction (I-Transaction) หมายถึง การซือหรือขายสินค้าหรือบริการระหว่าง
                                                    ้
ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน ภาคบุคคล หรือองค์กรต่างๆ ที่เกิดขึ้นผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต การสั่งซื้อสินค้าหรือบริการต้องเกิดขึ้นผ่านทางอินเทอร์เน็ต แต่
การชำระเงินหรือการจัดส่งสินค้าจะเกิดขึนออนไลน์หรือออฟไลน์กได้” สรุปได้วา
                                                ้                           ็            ่
มูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะนับเฉพาะมูลค่าของสินค้าหรือบริการ
ทีเกิดจากคำสังซือทีผานอินเทอร์เน็ตหรือเว็บไซต์เท่านัน ไม่คำนึงถึงรูปแบบของ
  ่           ่ ้ ่ ่                                        ้
การชำระเงินและการจัดส่ง แนวคิดดังกล่าวได้รับความนิยมไปทั่วโลก หลาย
ประเทศได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เช่นเดียวกัน เพือความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากล
                ่


                                             16
                รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
ข้อพึงระวังในการใช้ขอมูล
                    ้
    1. ข้อมูลที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้อาจมีความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก
       สาเหตุตางๆ เช่น การมีอตราการตอบกลับทีตำ หรือผูตอบไม่ให้ขอมูลตาม
                   ่                ั                        ่ ่       ้      ้
       ความเป็นจริง เป็นต้น อย่างไรก็ดี คณะผูวจยได้พยายามอย่างเต็มทีเพือให้
                                                       ้ิั                      ่ ่
       เกิดความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
    2. มูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้เป็น
       ข้อมูลในปี 2546 ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมเปิดเผยข้อมูล
       จำนวน 61 รายเท่านัน คณะผูวจยไม่สามารถประมาณค่าทีได้กลับไปเป็น
                                  ้        ้ิั                             ่
       มู ล ค่ า ของทั ้ ง อุ ต สาหกรรมเพื ่ อ นำเสนอในภาพรวมของประเทศได้
       เนื่องจากข้อจำกัดบางประการของฐานข้อมูล
    3. มู ล ค่ า ธุ ร กรรมพาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ท ี ่ น ำเสนอในรายงานฉบั บ นี ้
       ไม่ได้นบรวมมูลค่าการซือขายหลักทรัพย์ผานทางอินเทอร์เน็ตเข้าไว้ดวย
                 ั                    ้                    ่                         ้
       เหมือนเช่นข้อมูลของปี 2545 ทำให้มลค่าธุรกรรมของธุรกิจ B2C ในปี
                                                     ู
       2546 ลดลงกว่าปี 2545 อย่างมาก
    4. ผู้ประกอบการบางรายไม่ได้จำแนกรายรับที่เกิดจากสินค้าที่จำหน่าย
       ผ่านช่องทางปกติ (ออฟไลน์) หรือผ่านทางเว็บไซต์ (ออนไลน์) ไว้ ทำให้ไม่
       สามารถให้ข้อมูลของมูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้น
       จริงได้อย่างถูกต้อง
    5. สินค้าและบริการบางประเภท เช่น การจองทีพก ในเบืองต้นมีการสังซือ
                                                                 ่ ั     ้         ่ ้
       ผ่านทางเว็บไซต์ แต่ไม่ได้ชำระเงินทันทีเนื่องจากต้องผ่านกระบวนการ
       ต่างๆ เช่น เจรจาต่อรอง ทำให้การชำระเงินเกิดขึนภายหลังจากวันทีสงซือ
                                                                     ้           ่ ่ั ้
       สินค้านานหลายวัน และบางครั้งการชำระเงินก็ไม่ได้เกิดขึ้นผ่านทาง
       เว็บไซต์ ทำให้ผู้ประกอบการไม่นับธุรกรรมดังกล่าวว่าเป็นธุรกรรม
       พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งตามคำนิยาม ของ OECD จะถือว่าธุรกรรม
       ดังกล่าวเป็นธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากคำสั่งซื้อครั้งแรก
       เกิดขึ้นผ่านทางเว็บไซต์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มูลค่าธุรกรรมพาณิชย์-
       อิเล็กทรอนิกส์ที่รวบรวมได้อาจมีมูลค่าน้อยกว่าความเป็นจริง



                                           17
              รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
ข้อเสนอแนะสำหรับการสำรวจครังต่อไป
                           ้
   1. ปรับปรุงฐานข้อมูลธุรกิจ (Business List) ให้สมบูรณ์และสร้างความ
      เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลประเภทต่างๆ เพื่อความสามารถในการจำแนก
      ข้อมูลตามเงือนไข (Criteria) ทีตองการ เช่น ประเภทอุตสาหกรรมเงินทุน
                  ่                 ่ ้
      จดทะเบียน และจำนวนพนักงาน เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
      สำหรับการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
   2. ปรับปรุงแบบสอบถามให้สั้นและมีความซับซ้อนน้อยลงเพื่อเพิ่มอัตรา
      การตอบกลับ (Response Rate)




                                        18
           รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
บทที่ 3 ผลการสำรวจธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม
                                ิ

       3.1 ข้อมูลพืนฐานทางธุรกิจ
                   ้
       จากข้อมูลของผูประกอบการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ จำนวน 127 ราย พบว่า
                     ้                   ิ
ธุรกิจ ร้อยละ 58.3 จดทะเบียนในรูปของบริษทจำกัด รองลงมาคือ บุคคลธรรมดา
                                           ั
ร้อยละ 26.8 และบริษทมหาชนจำกัด ร้อยละ 6.3 และเมือพิจารณาถึงขนาดของ
                       ั                            ่
ธุรกิจ โดยดูจากจำนวนพนักงานทีทำงานเต็มเวลาในธุรกิจนันพบว่า ธุรกิจส่วนใหญ่
                              ่                       ้
มีขนาดเล็ก โดยร้อยละ 47.2 มีจำนวนพนักงานทีทำงานเต็มเวลาน้อยกว่า 5 คน
                                             ่
และมีเพียงร้อยละ 17.3 เท่านั้น ที่มีจำนวนพนักงานที่ทำงานเต็มเวลามากกว่า
50 คน

     แผนภาพที่ 1 รูปแบบการจดทะเบียนธุรกิจ


                                                                 บุคคลธรรมดา
                                                                     26.8%


                                                                      บริษทมหาชนจำกัด
                                                                          ั
                                                                            6.3%

                                                                       ห้างหุนส่วนจำกัด
                                                                             ้
          บริษทจำกัด
              ั                                                                4.7%
             58.3%
                                                                  ห้างหุนส่วนสามัญนิตบคคล
                                                                        ้            ิ ุ
                                                                 อืนๆ
                                                                   ่         2.4%
                                                                 1.6%

                                                                   (n=127)




                                           19
              รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 2 จำนวนพนักงานทีทำงานเต็มเวลา
                               ่
             ร้อยละ
            60

            50     47.2

            40

            30

            20                                                                   17.3
                             15.0
                                        11.0
            10                                                    5.5
                                                      1.6                2.4
             0
                 น้อยกว่า 5-10 คน 11-20 คน 21-30 คน 31-40 คน 41-50 คน มากกว่า
                   5 คน                                                50 คน
                                                                                        (n=127)

      เมือพิจารณาถึงเงินทุนจดทะเบียน พบว่าธุรกิจร้อยละ 31.5 มีทนจดทะเบียน
         ่                                                     ุ
ต่ำกว่า 5 แสนบาท ร้อยละ 22.0 มีทนจดทะเบียนระหว่าง 5 แสนถึง 1 ล้านบาท
                                  ุ
และร้อยละ 22.8 มีทนจดทะเบียนระหว่าง 1 ล้านถึง 5 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ธุรกิจ
                   ุ
ขนาดใหญ่ทมทนจดทะเบียนมากกว่า 20 ล้านบาทก็มอยูในการสำรวจครังนีเช่นกัน
            ่ี ี ุ                              ี ่              ้ ้
โดยมีถงร้อยละ 15.8
       ึ

     แผนภาพที่ 3 เงินทุนจดทะเบียน
        ร้อยละ
       50

       40
                  31.5
       30
                              22.0             22.8
       20
                                                                                   15.8

       10
                                                            3.2         4.7
        0
              น้อยกว่า     500,000 -    1,000,001 -   5,000,001 - 10,000,001 -        มากกว่า
            500,000 บาท 1,000,000 บาท 5,000,000 บาท 10,000,000 บาท 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท
                                                                                          (n=127)



                                                      20
                  รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
สำหรับประเภทอุตสาหกรรม ธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ 26 ราย หรือร้อยละ
                                           ิ
20.5 อยู่ในอุตสาหกรรมบริการ ซึ่งเป็นการบริการทั้งในระดับธุรกิจและบุคคล
โดยส่วนใหญ่มาจากด้านคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เช่น ออกแบบเว็บไซต์
หรือเว็บโฮสติง สำหรับประเภทอุตสาหกรรมรองลงมา ได้แก่ หัตถกรรม ของขวัญ
             ้
ของแต่งบ้าน ร้อยละ 15.7 และการท่องเทียวและขนส่ง ร้อยละ 8.7
                                     ่

     ตารางที่ 1 ประเภทอุตสาหกรรมทีดำเนินธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                  ่                   ิ
                                                                           (หน่วย:ราย)
                    ประเภทธุรกิจ                       จำนวน                   ร้อยละ
    ธุรกิจบริการ                                         26                      20.5
    หัตถกรรม ของขวัญ ของตกแต่งบ้าน                       20                      15.7
    ท่องเทียว ขนส่ง
              ่                                          11                      8.7
    ซีดเพลง ภาพยนต์ ซอฟต์แวร์
          ี                                              10                      7.9
    ผู้ให้บริการระบบและตลาดกลาง                          10                      7.9
    อาหาร เครืองดืม  ่ ่                                 6                       4.7
    การเงิน การประกัน                                    6                       4.7
    เครืองใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์
            ่                    ิ                       6                       4.7
    อุปกรณ์สื่อสาร
    คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เสริม                             6                    4.7
    หนังสือ สิงพิมพ์
                ่                                          5                    3.9
    สิงทอ เครืองนุงห่ม
        ่           ่ ่                                    4                    3.1
    สินค้าเกษตรกรรม ดอกไม้                                 3                    2.4
    เว็บพอร์ทล บันเทิง
                  ั                                        3                    2.4
    อัญมนีและเครื่องประดับ                                 2                    1.6
    วัสดุก่อสร้างและเคหะภัณฑ์                              2                    1.6
    อืนๆ
      ่                                                    7                    5.5
    รวม                                                   127                   100



                                          21
             รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
3.2 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
     เมือพิจารณาถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ธุรกิจส่วนใหญ่คำนึงถึง
        ่
ความสำคัญของการมีคอมพิวเตอร์และอีเมล์ ธุรกิจร้อยละ 75.6 มีอตราส่วนของ
                                                            ั
จำนวนพนักงานต่อจำนวนคอมพิวเตอร์เป็น 1:1 และร้อยละ 69.3 มีอเมล์ให้กบ
                                                              ี      ั
พนักงานเป็นรายบุคคล

     แผนภาพที่ 4 จำนวนคอมพิวเตอร์ในธุรกิจ
        ร้อยละ
      100

       80

                 61.4
       60

       40

       20                                                                      17.3
                               10.2            7.1               3.9
        0
             1-10 เครือง
                      ่     11-20 เครื่อง 21-30 เครื่อง    31-40 เครื่อง มากกว่า 40 เครื่อง
                                                                                      (n=127)

     แผนภาพที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนพนักงานต่อคอมพิวเตอร์ 1 เครือง
                                                              ่
       ร้อยละ
     100

      80          75.6

      60

      40
                                      19.7
      20
                                                          3.9                0.8
       0
                  1 คน                2 คน                5 คน              20 คน
                                                                                      (n=127)




                                               22
                 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 6 อัตราส่วนของอีเมล์ตอจำนวนพนักงาน
                                    ่
      ร้อยละ
    100

     80
                                   69.3
     60

     40
                                                         22.8
     20
               7.1
                                                                          0.8
      0
               ไม่มี         1 คนต่อ 1 อีเมล์            ี
                                                     ใช้อเมล์รวมกัน
                                                              ่          อืนๆ
                                                                           ่
                                                                                 (n=127)

     ในด้านของรูปแบบการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า โมเด็มเป็นช่องทางการ
                                 ่
เชือมต่อทีธรกิจนิยมใช้มากทีสดถึงร้อยละ 57.9 รองลงมาคือ ADSL ร้อยละ 18.3
   ่       ุ่                 ุ่
และ ISDN ร้อยละ 6.3 และเมือพิจารณาถึงความเร็วในการเชือมต่อ พบว่า ความเร็ว
                            ่                          ่
ในระดับทีไม่เกิน 56 Kbps เป็นทีนยมมากทีสดคือ ร้อยละ 48.4 รองลงมาคือ 256
         ่                         ่ ิ   ุ่
Kbps ร้อยละ 18.3 อย่างไรก็ดี เป็นที่น่าสังเกตว่า สัดส่วนของธุรกิจที่เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วตังแต่ 128 Kbps ขึนไป รวมแล้วมีมากถึงร้อยละ 46.8
                          ้                 ้
แสดงให้เห็นว่าธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จำนวนไม่น้อยได้นำเทคโนโลยี
บรอดแบนด์มาใช้ในการดำเนินธุรกิจแล้ว




                                                23
               รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 7 รูปแบบการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต
                                  ่
    ร้อยละ
   80


   60               57.9


   40


   20                                       18.3                                    17.5
                                                                6.3
       0
                   โมเด็ม                  ADSL                ISDN                 อืนๆ
                                                                                      ่
                                                                                             (n=126)



           แผนภาพที่ 8 อัตราความเร็วของการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต
                                             ่
    ร้อยละ
  80


  60
                 48.4

  40


  20                                                                    18.3          16.7
                                                     11.9
                                     4.8
   0
            ไม่เกิน 56 Kbps       64 Kbps          128 Kbps           256 Kbps   มากกว่า 256 Kbps
                                                                                             (n=126)




        เมือพิจารณาความเร็วในการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตของแต่ละธุรกิจ จำแนก
           ่                       ่
ตามเงินทุนจดทะเบียนแล้ว พบว่า ความเร็วในการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตมีแนวโน้ม
                                               ่
เพิมขึนตามเงินทุนจดทะเบียนของธุรกิจ กล่าวคือธุรกิจทีมเงินทุนจดทะเบียนน้อย
   ่ ้                                              ่ ี

                                                     24
                        รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
ส่วนใหญ่นยมเชือมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วต่ำ และธุรกิจทีมเงินทุนจดทะเบียน
           ิ ่                                             ่ ี
มากขึ้นส่วนใหญ่ก็จะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วที่สูงขึ้น ดังจะเห็นได้จาก
กลุ่มธุรกิจที่มีทุนจดทะเบียนน้อยกว่า 5 แสนบาท ที่ร้อยละ 72.5 เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วไม่เกิน 56 Kbps ในขณะทีมเพียง ร้อยละ 20.0 เท่านันทีใช้
                                               ่ ี                       ้ ่
เทคโนโลยีบรอดแบนด์ ในทางตรงกันข้าม กลุมทีมเงินทุนจดทะเบียนมากกว่า 20
                                           ่ ่ ี
ล้านบาท ร้อยละ 85.0 ใช้เทคโนโลยีบรอดแบนด์ โดยมีเพียงร้อยละ 15.0 เท่านันที่  ้
เชื่อมต่อด้วยความเร็วพื้นฐาน

            แผนภาพที่ 9 อัตราความเร็วของการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตจำแนก
                                              ่
                        ตามขนาดธุรกิจ

80
     72.5
70
                     60.7                                                                                                             ไม่เกิน 56 Kbps
60
                                                                                                                                      64 Kbps
                                                                             50.0                                                     128 Kbps
50
                                                                                                                                      256 Kbps
                                                                                                                           40.0
40                                                                                                                                    มากกว่า 256 Kbps
                                           14.3
                                                     32.1                                  33.3    33.3 33.3
30
                                                                                25.025.0                              25.0
                                                                                                                         20.0
20
                             14.3                 14.3      14.3                                               15.0
                                    10.7
10      7.5 7.57.5      7.1 7.1
           5.0                                3.6
 0                                                                 0.0 0.0                    0.0 0.0             0.0
       น้อยกว่า     500,000 -    1,000,001 -   5,000,001 -    10,000,001 -     มากกว่า
     500,000 บาท 1,000,000 บาท 5,000,000 บาท 10,000,000 บาท 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท
                                                                                                                                (n=126)



     ระบบสารสนเทศทีได้รบความนิยมมากทีสด นอกจากระบบพืนฐานทีเกียวกับ
                      ่ ั                 ุ่                ้     ่ ่
การบัญชีและการเงินแล้ว (ได้รบความนิยมร้อยละ 41.7 และร้อยละ 30.7 ตามลำดับ)
                            ั
ระบบตอบสนองคำสังซือ (Order Fulfillment) ก็เป็นอีกหนึงระบบทีธรกิจจำนวนมาก
                  ่ ้                               ่      ุ่

                                                                       25
                     รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
ให้ความสนใจ โดยมีธรกิจทีใช้ระบบดังกล่าวถึงร้อยละ 29.1 ตามด้วยระบบสินค้า
                         ุ       ่
      คงคลัง ร้อยละ 25.2 และระบบทรัพยากรบุคคลและระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์
      (Customer Relationship Management: CRM) เท่ากันทีรอยละ 23.6 สำหรับระบบ
                                                        ่้
      ทีได้รบความสนใจน้อยทีสดได้แก่ ระบบวางแผนทรัพยากรในองค์กร (Enterprise
        ่ ั                  ุ่
      Resource Planning: ERP) และระบบบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain
      Management: SCM) ทีมธรกิจนำมาใช้เพียงร้อยละ 8.7 และ 7.9 ตามลำดับ
                            ่ ีุ

             แผนภาพที่ 10 ระบบสารสนเทศทีใช้ในการดำเนินธุรกิจ
                                        ่

               ระบบการบัญชี                                                         41.7
                ระบบการเงิน                                             30.7
      ระบบตอบสนองคำสังซือ
                     ่ ้                                             29.1
            ระบบสินค้าคงคลัง                                  25.2
         ระบบทรัพยากรบุคคล                                  23.6
     ระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์                               23.6
             ระบบจัดส่งสินค้า                   12.6
ระบบวางแผนทรัพยากรในองค์กร                8.7

     ระบบบริหารห่วงโซ่อปทาน
                       ุ                 7.9
                                                                                                      ร้อยละ
                                0        10            20          30          40          50    60
                                                                                                (n=126)




             สำหรับงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลสำรวจ
      พบว่า ธุรกิจร้อยละ 30.1 มีการจัดสรรงบประมาณสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
      อยู่ในช่วงระหว่างร้อยละ 1-5 ของงบประมาณทั้งหมด รองลงมาคือช่วงระหว่าง
      ร้อยละ 6-10 และร้อยละ 16-20 อย่างไรก็ดีจะเห็นว่ามีธุรกิจเพียงร้อยละ 13.0
      เท่านั้นที่ไม่มีการจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้อย่างชัดเจน



                                                       26
                        รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 11 งบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เปรียบเทียบกับ
                     งบประมาณทังหมด
                               ้
    ร้อยละ
   50


   40

             30.1
   30


   20                        17.9
                                                        14.6          13.8            13.0
                                          10.6
   10


    0
          ร้อยละ 1-5     ร้อยละ 6-10 ร้อยละ11-15 ร้อยละ 16-20       มากกว่า           ไม่มี
                                                                   ร้อยละ 20                  (n=123)




        3.3 ระดับความก้าวหน้าของพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                        ิ
      การสำรวจครังนีได้แบ่งระดับความก้าวหน้าของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                     ้ ้                                            ิ
เป็น 3 ระดับ ตามการมีอยูของเว็บไซต์ และความสามารถในการรับคำสังซือสินค้า
                              ่                                       ่ ้
ของเว็บไซต์ ดังนี้
      ระดับที่ 1 ธุรกิจทีมอเมล์เพียงอย่างเดียว ไม่มเว็บไซต์ผประกอบการใช้อเมล์
                         ่ ีี                      ี           ู้         ี
                 ในการดำเนินธุรกิจ
      ระดับที่ 2 ธุรกิจทีมเว็บไซต์ทให้ขอมูลเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถรับคำสัง
                          ่ ี        ่ี ้                                   ่
                 ซือสินค้าได้ การรับคำสังซือต้องกระทำผ่านทางอีเมล์
                   ้                       ่ ้
      ระดับที่ 3 ธุรกิจที่มีเว็บไซต์ที่สามารถรับคำสั่งซื้อสินค้าได้




                                                 27
                    รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 12 ระดับความก้าวหน้าของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                                     ิ
      ร้อยละ
    80
                                                                       70.1

    60


    40
                                            26.8
    20

                  3.1
     0
               ระดับที่ 1                 ระดับที่ 2                 ระดับที่ 3
                                                                                  (n=127)




     จากการสำรวจพบว่า ธุรกิจ 89 ราย หรือประมาณร้อยละ 70 เป็นธุรกิจ
พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ทมความก้าวหน้าในระดับที่ 3 รองลงมาคือ ระดับที่ 2 จำนวน
        ิ            ่ี ี
34 ราย หรือร้อยละ 26.8 และระดับที่ 1 ซึงมีเพียง 4 ราย หรือ ร้อยละ 3.1 เท่านัน
                                       ่                                   ้




                                            28
               รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
บทที่ 4 ผลการสำรวจธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ขนก้าวหน้า
                                ิ            ้ั


      ข้อมูลที่นำเสนอในบทนี้ มาจากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มธุรกิจพาณิชย์-
อิเล็กทรอนิกส์ทอยูในระดับ 3 คือ กลุมทีมเว็บไซต์ทสามารถรับคำสังซือได้จำนวน
                ่ี ่               ่ ่ ี         ่ี            ่ ้
89 ราย เพียงกลุ่มเดียวเท่านั้น เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีการดำเนินธุรกิจพาณิชย์-
อิเล็กทรอนิกส์อย่างเข้มข้น จึงเหมาะสมที่สุดที่จะเป็นตัวแทนที่สะท้อนให้เห็นถึง
สถานภาพที่แท้จริงของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศ

      4.1 ลักษณะการดำเนินธุรกิจ
        จากการสำรวจพบว่า ผูประกอบการส่วนใหญ่มประสบการณ์ในธุรกิจพาณิชย์-
                           ้                     ี
อิเล็กทรอนิกส์ไม่นานนัก ร้อยละ 39.3 ทำธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์มาได้ไม่ถง
                                                      ิ                     ึ
2 ปี ร้อยละ 47.2 ทำมาประมาณ 2-4 ปี และมีเพียงร้อยละ 13.5 เท่านันทีทำมานานกว่า
                                                              ้ ่
4 ปี และเมือพิจารณาถึงรูปแบบการดำเนินธุรกิจพบว่า เป็นธุรกิจประเภท B2B
             ่
26 ราย หรือ ร้อยละ 29.2 และธุรกิจ B2C 63 ราย หรือร้อยละ 70.8

      แผนภาพที่ 13 ช่วงเวลาทีเริมนำธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้
                             ่ ่                 ิ
   ร้อยละ
 60                                                                     53.9%

 50                                           47.2

 40             39.3

 30                    41.1%

 20
                                                                      (n=89)      13.5
 10                ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว (Pure Internet)
                   ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตและมีหน้าร้านกายภาพ (Click and Mortar)
  0
            ปี 2546-2547                   ปี 2543-2545                        ก่อนปี 2543
                                                                                             (n=89)



                                               29
               รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
นอกจากนี้ ผลสำรวจยังแสดงให้เห็นด้วยว่า ช่องทางจำหน่ายสินค้าของ
ผู้ประกอบการ มีรูปแบบที่ไม่แตกต่างกันมากนัก กล่าวคือ ธุรกิจร้อยละ 53.9
มีการจำหน่ายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว (Pure Internet
Company) และอีกร้อยละ 46.1 เป็นธุรกิจทีมหน้าร้านทางกายภาพควบคูไปด้วย
                                       ่ ี                      ่
(Click and Mortar Company)

     แผนภาพที่ 14 ลักษณะการดำเนินธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                               ิ

                   B2B
                  29.2%




                                                                   B2C
                                                                  70.8%




                                                              (n=89)



     แผนภาพที่ 15 รูปแบบการดำเนินธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                               ิ


                                                                53.9%



              46.1%




                                                              (n=89)

               ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว (Pure Internet)
               ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตและมีหน้าร้านกายภาพ (Click and Mortar)

                                         30
            รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
4.2 จำนวนลูกค้า/สมาชิก
      เมือพิจารณาจากจำนวนลูกค้า/สมาชิกทีลงทะเบียนในเว็บไซต์แล้ว สามารถ
         ่                                        ่
แบ่งเว็บไซต์ได้เป็น 2 กลุมใหญ่ คือ กลุมเว็บไซต์ทมจำนวนลูกค้า/สมาชิกน้อยกว่า
                          ่            ่              ่ี ี
50 ราย และกลุมทีมจำนวนลูกค้า/สมาชิกมากกว่า 1,000 ราย โดยทังสองกลุมมี
                  ่ ่ ี                                             ้       ่
อัตราใกล้เคียงกัน ในธุรกิจ B2B เว็บไซต์ทมลกค้า/สมาชิกน้อยกว่า 50 ราย มีรอยละ
                                           ่ี ี ู                         ้
23.1 เทียบกับกลุมทีมลกค้า/สมาชิกมากกว่า 1,000 ราย มีรอยละ 30.8 สำหรับธุรกิจ
                   ่ ่ ีู                                  ้
B2C เว็บไซต์ทมลกค้า/สมาชิกน้อยกว่า 50 ราย มีรอยละ 30.2 ในขณะทีเว็บไซต์ทมี
               ่ี ี ู                               ้                 ่       ่ี
ลูกค้า/สมาชิกมากกว่า 1,000 ราย มีรอยละ 34.9
                                     ้
      และเมือพิจารณาถึงจำนวนลูกค้าทีทำธุรกรรมผ่านเว็บไซต์นน พบว่าธุรกิจ
             ่                           ่                     ้ั
B2B ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 34.6) มีลูกค้าที่ซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์ในช่วง 1 เดือน
มากกว่า 16 ราย ตรงข้ามกับธุรกิจ B2C ทีสวนใหญ่ (ร้อยละ 47.6) มีลกค้าซือสินค้า
                                             ่่                   ู     ้
ในแต่ละเดือน น้อยกว่า 5 ราย

      แผนภาพที่ 16 จำนวนลูกค้า/สมาชิกทีลงทะเบียนในเว็บไซต์
                                       ่
  ร้อยละ
 50
                                                B2B      B2C
 40
                                                                                               34.9
               30.2                                                                     30.8
 30
       23.1
 20
                                                         15.4          15.4
                                  12.7
 10                         7.7           7.7 7.9                             7.9
                                                                6.3

  0
           น้อยกว่า       51-100 ราย     101-250 ราย 251-500 ราย 500-1,000 ราย           มากกว่า
            50 ราย                                                                      1,000 ราย
                                                                                                      (n=89)




                                                    31
                      รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 17 จำนวนลูกค้าทีมการซือสินค้าผ่านเว็บไซต์
                                 ่ ี  ้
                   ในช่วงเวลา 1 เดือน
  ร้อยละ
 50                47.6
                                               B2B     B2C
 40                                                                                  38.1
                                                                              34.6

 30         26.9
                                  23.1
 20
                                                        15.4

 10                                                            7.9
                                         6.3

  0
           น้อยกว่า 5 ราย          6-10 ราย              11-15 ราย          มากกว่า 16 ราย
                                                                                             (n=89)




       สำหรับจำนวนลูกค้าที่ซื้อสินค้าซ้ำมากกว่า 1 ครั้งต่อเดือน พบว่าในธุรกิจ
B2B มีการกระจายตัวใกล้เคียงกันคือ ลูกค้าทีซอซ้ำเพียง 1-3 ราย มีรอยละ 28.0
                                             ่ ้ื                 ้
ทีซอซ้ำ 4-5 รายมีรอยละ 20.0 และทีซอซ้ำมากกว่า 5 รายมีรอยละ 24.0 เช่นเดียว
  ่ ้ื            ้                 ่ ้ื                  ้
กับธุรกิจทีไม่มลกค้าทีซอซ้ำเลยก็มสดส่วนใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 28.0
           ่ ีู       ่ ้ื         ีั
       ในส่วนของธุรกิจ B2C กว่าร้อยละ 70 มีลกค้าซือทีสนค้าซ้ำในแต่ละเดือน
                                                  ู ้ ่ิ
ไม่เกิน 3 ราย โดยร้อยละ 39.3 ไม่มลกค้าซือซ้ำเลย และร้อยละ 31.1 มีลกค้าซือซ้ำ
                                   ีู      ้                        ู   ้
เพียง 1-3 ราย
       สำหรับจำนวนลูกค้าใหม่ พบว่าทังธุรกิจ B2B และ B2C ส่วนใหญ่ ร้อยละ
                                         ้
32.0 และร้อยละ 42.9 ตามลำดับ มีลกค้าใหม่ในแต่ละเดือนประมาณ 1-5 ราย
                                      ู




                                                32
                   รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 18 จำนวนลูกค้าทีซอสินค้าซ้ำมากกว่า 1 ครังต่อเดือน
                               ่ ้ื                     ้
   ร้อยละ
 50
                                                         B2B         B2C
 40                     39.3

                                                      31.1
 30          28.0                            28.0
                                                                                                      24.0
                                                                        20.0
 20                                                                                                           18.0

                                                                                 11.5
 10


  0
                   ไม่มี                      1-3 ราย                       4-5 ราย                  มากกว่า 5 ราย
                                                                                                                           (n=84)




      แผนภาพที่ 19 จำนวนลูกค้าใหม่ทใช้บริการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                   ่ี               ิ
                   ในแต่ละเดือน
 ร้อยละ
50
                                      42.9                   B2B      B2C
40
                               32.0
30
                                                                                        24.0
20                                                                                                                  19.0
                 14.3                                                                                        16.0
          12.0                                      12.0 12.7
10
                                                                                               6.3
                                                                      4.0 4.8
 0
              ี
          ไม่มเลย              1-5 ราย              6-10 ราย         11-15 ราย          16-20 ราย            มากกว่า
                                                                                                             20 ราย
                                                                                                                            (n=88)




                                                                33
                        รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
4.3 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้าและส่วนหลัง
            ระบบแคตตาล็อกออนไลน์และระบบชำระเงินออนไลน์ คือระบบสารสนเทศ
      สำนักงานส่วนหน้า (Front Office Information System) ทีพบได้มากทีสดในธุรกิจ
                                                           ่          ุ่
      พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ โดยระบบแคตตาล็อกออนไลน์ได้รบความนิยมทังในกลุม
               ิ                                               ั         ้   ่
      ธุรกิจ B2B และ B2C ในระดับทีใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 76.9 และร้อยละ 79.4
                                     ่
      ตามลำดับ ในขณะทีระบบรับชำระเงินออนไลน์ เป็นทีแพร่หลายเฉพาะในกลุมธุรกิจ
                        ่                             ่                    ่
      B2C เท่านัน เนืองจากการซือขายสินค้าแต่ละครังของธุรกิจ B2B มีมลค่าสูงมาก
                 ้ ่           ้                   ้                ู
      ทำให้ไม่สะดวกทีจะชำระเงินออนไลน์ จึงทำผ่านช่องทางอืนแทน เช่น การโอนเงิน
                      ่                                      ่
      ผ่านบัญชีธนาคาร เป็นต้น

             แผนภาพที่ 20 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้า ด้านการให้บริการ
                          ทัวไปของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                            ่                   ิ

       แคตตาล็อกออนไลน์                                                                    76.9
                                                                                             79.4
                                                             38.5
        รับชำระเงินออนไลน์                                                     65.1

ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค                                   38.5
                                                             38.1
                                                      30.8
               จัดส่งสินค้า                           30.2
                                                      30.8
  ติดตามสถานะการส่งสินค้า                             30.2
                                                      30.8                                          B2B
             ชุมชนออนไลน์                      22.2                                                 B2C
                                                                                                             ร้อยละ
                              0           20                 40          60                80             100
                                                                                                          (n=89)




                                                        34
                         รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
สำหรับระบบการให้บริการด้านการซือขายสินค้า ระบบใบเสนอราคา (RFQ/
                                              ้
     RFP: Request for Quotation/Proposal) ดูเหมือนว่าจะเป็นระบบทีได้รบความนิยม
                                                                 ่ ั
     มากกว่าระบบอืนอย่างชัดเจน โดยมีธรกิจ B2B และ B2C ทีใช้ระบบดังกล่าวมากถึง
                    ่                 ุ                    ่
     ร้อยละ 65.4 และร้อยละ 44.4 ตามลำดับ ส่วนระบบทีเป็นทีแพร่หลายรองลงมาคือ
                                                      ่      ่
     ระบบปรับเปลียนราคาตามผูซอ (Customized Price)
                  ่            ้ ้ื

            แผนภาพที่ 21 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้า ด้านการให้บริการ
                         ซือขายสินค้าของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                          ้                           ิ

      ระบบใบเสนอราคา                                                            65.4
                                                                  44.4

ปรับเปลียนราคาตามผูซอ
        ่          ้ ้ื                              23.1
                                           12.7

                                             15.4
            ต่อรองราคา
                                     6.3

   ประมูลแบบมาตรฐาน                               19.2
                                3.2

                                             15.4                                                B2B
    ประมูลแบบย้อนกลับ
                               1.6                                                               B2C
                                                                                                          ร้อยละ
                           0                  20             40          60                 80          100
                                                                                                       (n=89)




              ในด้านของการให้บริการด้านความเชื่อมั่น ระบบยืนยันตัวบุคคล (Identity
     Authentication) เป็นระบบที่ได้รับความนิยมมากที่สุด โดยเฉพาะกับธุรกิจ B2C
     ทีมผใช้มากถึงร้อยละ 55.6 ในขณะทีธรกิจ B2B มีผใช้เพียงร้อยละ 38.5 รองลงมา
       ่ ี ู้                            ุ่           ู้
     คือ ระบบตรวจสอบเครดิต (Credit Check) และระบบให้ประกันการชำระเงิน
     สำหรับระบบทีเหลืออืนๆ มีธรกิจทีให้ความสนใจน้อยมาก
                     ่    ่       ุ    ่



                                                            35
                          รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 22 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้า ด้านการให้บริการ
                          ความเชือมันของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                 ่ ่                  ิ

     การยืนยันตัวบุคคล                                            38.5
                                                                                   55.6
                                                   23.1
   การตรวจสอบเครดิต                                   25.4
                                      7.7
  ให้ประกันการชำระเงิน                              23.8

บริการด้านการประกันภัย                 7.7
                                     6.3

   บริการคุณสมบัตคคา
                 ิ ู่ ้               7.7
                               3.2
                               3.8
  บริการประเมินชือเสียง
                 ่                6.3
                                                                                             B2B
    บริการจัดอันดับคูคา
                     ่ ้       3.8                                                           B2C
                                4.8
                                                                                                         ร้อยละ
                           0                  20                  40                  60            80
                                                                                                   (n=89)




           สำหรับระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหลัง (Back Office Information
     System) ระบบจัดการเนือหาข้อมูลและระบบจัดการแคตตาล็อกเป็นระบบทีมผใช้
                           ้                                            ่ ี ู้
     มากทีสด กว่าร้อยละ 60-70 ในขณะทีระบบอืนๆ มีอยูในระดับร้อยละ 20-30 เท่านัน
           ุ่                         ่     ่       ่                          ้
     ยกเว้นระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM)
     ทีได้รบความนิยมมากในกลุมธุรกิจ B2B
      ่ ั                    ่




                                                           36
                           รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 23 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหลังของธุรกิจ
                          พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                  ิ

 ระบบจัดการเนือหาข้อมูล
              ้                                                                        73.1
                                                                              60.3

 ระบบจัดการแคตตาล็อก                                                      57.7
                                                                              61.9
     ระบบวิเคราะห์ขอมูล
                   ้                             26.9
                                                        33.3
 ระบบจัดการสินค้าคงคลัง                                   34.6
                                                   28.6
      ระบบลูกค้าสัมพันธ์                                               53.8
                                               23.8
        ระบบขนส่งสินค้า                          26.9
                                        15.9
                                                                                                   B2B
ระบบสนับสนุน บำรุงรักษา                          26.9                                              B2C
              ฝึกอบรม                  14.3
                                                                                                            ร้อยละ
                           0              20                   40         60                  80         100
                                                                                                         (n=89)




             4.4 เว็บไซต์พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                 ิ
             ระบบสังซือสินค้า
                     ่ ้
          จากการสำรวจพบว่า ระบบสังซือสินค้าทัง 3 ประเภท คือ ระบบตะกร้าสินค้า
                                   ่ ้          ้
     (Shopping Cart) แบบฟอร์ม (Form) และอีเมล์ (e-Mail) ได้รบความนิยมจากทังธุรกิจ
                                                            ั            ้
     B2B และ B2C ใกล้เคียงกัน คืออยูในระดับร้อยละ 40
                                     ่




                                                          37
                           รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 24 รูปแบบการรับคำสังซือสินค้า
                                      ่ ้

                                                             42.6
ระบบตะกร้าสินค้า
                                                               47.6


                                                        42.3
      แบบฟอร์ม
                                                          44.4



                                                   38.5
           อีเมล์                                                                         B2B
                                                             46.0                         B2C
                                                                                                   ร้อยละ
                    0               20             40                 60         80             100
                                                                                                (n=89)



        ระบบรับชำระเงิน
         เมื่อพิจารณาระบบรับชำระเงินทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์แล้ว พบว่า
 การโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารเป็นวิธีการรับชำระเงินที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
 ทังในธุรกิจ B2B และ B2C โดยมีผใช้มากถึงร้อยละ 65.4 และ 66.7 ตามลำดับ
   ้                                ู้
 รองลงมาคือ บัตรเครดิตทีธรกิจ B2C ใช้มากถึงร้อยละ 57.1 เป็นทีนาสังเกตว่า
                          ุ่                                    ่ ่
 ระบบรับชำระเงินแบบอินเทอร์เน็ตแบงกิ้ง (Internet Banking) ยังไม่ได้รับ
 ความนิยมเท่าทีควร มีเพียงร้อยละ 22.2 ของธุรกิจ B2C และร้อยละ 15.4 ของธุรกิจ
                   ่
 B2B เท่านั้นที่ใช้ ในขณะที่รูปแบบการรับชำระเงินผ่านผู้ให้บริการกลาง อาทิ
 ThaiePay ซึงเป็นรูปแบบใหม่ ยังต้องอาศัยเวลาในการสร้างความรูจกและความ
                 ่                                             ้ั
 เชือมันให้กบลูกค้าอีกพอสมควร เนืองจากปัจจุบนได้รบความสนใจน้อยมาก
     ่ ่       ั                  ่            ั ั




                                                        38
                        รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
แผนภาพที่ 25 รูปแบบการรับชำระเงินออนไลน์

                                                        26.9
        บัตรเครดิต
                                                                              57.1


                                         15.4
อินเทอร์เน็ตแบงกิง
                 ้
                                                 22.2


                             3.8
ผูให้บริการชำระเงิน
  ้                                                                                     B2B
      เช่น ThaiePay        1.6                                                          B2C
                                                                                                    ร้อยละ
                      0                     20                      40         60              80
                                                                                              (n=54)




         แผนภาพที่ 26 รูปแบบการรับชำระเงินออฟไลน์

                                                                                      65.4
โอนผ่านบัญชีธนาคาร
                                                                                       66.7


                                                  23.1
         พนักงาน
                                                       25.4


                                   7.7
         ไปรษณีย์                                                                       B2B
                                                20.6                                    B2C
                                                                                                    ร้อยละ
                      0                     20                      40         60              80
                                                                                              (n=62)




                                                               39
                          รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
การจัดส่งสินค้า
             การจัดส่งสินค้าถือเป็นองค์ประกอบสำคัญอีกประการหนึ่งของพาณิชย์-
     อิเล็กทรอนิกส์ทจะขาดเสียไม่ได้ รูปแบบการจัดส่งทีธรกิจ B2C นิยมใช้มากทีสด
                       ่ี                               ุ่                     ุ่
     คือไปรษณีย์ ร้อยละ 44.4 รองลงมาคือการจัดส่งออนไลน์ ร้อยละ 38.1 ซึงเหมาะกับ
                                                                         ่
     สินค้าหรือบริการบางประเภทเท่านั้น สำหรับรูปแบบการจัดส่งที่ได้รับความนิยม
     น้อยทีสดของธุรกิจ B2C คือการว่าจ้างบริษทขนส่งสินค้า โดยมีธรกิจทีใช้บริการ
             ุ่                                ั                   ุ       ่
     ดังกล่าวเพียง ร้อยละ 27.0 ซึงตรงกันข้ามกับธุรกิจ B2B ทีการว่าจ้างบริษทขนส่ง
                                   ่                        ่                ั
     เป็นวิธทนยมมากทีสด ร้อยละ 38.5 รองลงมาคือ การจัดส่งด้วยพนักงานของตนเอง
              ี ่ี ิ      ุ่
     และจัดส่งออนไลน์ เท่ากันทีรอยละ 23.1 ในขณะทีไปรษณียได้รบความนิยมน้อย
                                 ่้                   ่       ์ ั
     ทีสด เพียงร้อยละ 15.4 เท่านัน
       ุ่                            ้
             จากการสำรวจจะเห็นว่าการเลือกใช้ประเภทการจัดส่งสินค้าเป็นไปตาม
     ธรรมชาติของการดำเนินธุรกิจอย่างแท้จริง ธุรกิจ B2C ทีสวนใหญ่จำหน่ายสินค้า
                                                           ่่
     ให้กบลูกค้าในประเทศ และมีปริมาณสินค้าทีซอขายแต่ละครังไม่สงนัก ไปรษณีย์
           ั                                     ่ ้ื          ้ ู
     เป็นทางเลือกทีเหมาะสมทีสด ในทางตรงกันข้าม ธุรกิจ B2B มีการซือขายสินค้า
                     ่          ุ่                                     ้
     ปริมาณมาก และการตรงต่อเวลาเป็นปัจจัยสำคัญ จึงต้องอาศัยบริษทจัดส่งสินค้า
                                                                     ั
     ที่มีความเชี่ยวชาญและให้ความเชื่อมั่นได้มากกว่า

            แผนภาพที่ 27 รูปแบบการจัดส่งสินค้า

                                                                                    38.5
        บริษทขนส่งสินค้า
            ั
                                                                    27.0

                                                             23.1
พนักงานจัดส่งของหน่วยงาน
                                                                           30.2

                                                15.4
               ไปรษณีย์
                                                                                           44.4

                                                             23.1                          B2B
           จัดส่งออนไลน์                                                                   B2C
                                                                                   38.1
                                                                                                     ร้อยละ
                           0           20               40            60             80           100
                                                                                                  (n=89)

                                                       40
                       รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
การรับรองความน่าเชือถือ
                        ่
         เมือพิจารณาถึงการมีเครืองหมายรับรองความน่าเชือถือของเว็บไซต์จากหน่วยงาน
            ่                   ่                     ่
ทีมชอเสียงต่างๆ ทังในประเทศและต่างประเทศ เช่น VeriSign Truste และ Thawte
  ่ ี ่ื              ้
เป็นต้น พบว่าร้อยละ 65.2 ของเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่มีเครื่องหมาย
รับรองความน่าเชือถือใดๆ ในจำนวนนีแบ่งเป็นธุรกิจ B2B 42 ราย และธุรกิจ B2C
                    ่                    ้
16 ราย ในขณะที่เว็บไซต์ที่มีเครื่องหมายรับรองมีเพียง ร้อยละ 34.8 เท่านั้น
โดยแบ่งเป็นธุรกิจ B2B 10 รายและธุรกิจ B2C 21 ราย

     แผนภาพที่ 28 การมีเครืองหมายรับรองความน่าเชือถือของเว็บไซต์
                          ่                      ่
                  พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                            ิ


                                                                  ได้รบ
                                                                      ั
                                                                  34.8%




                 ไม่ได้รบ
                        ั
                  65.2%


                                                               (n=89)



        การลงทุนเพือพัฒนาเว็บไซต์
                   ่
        การพัฒนาและปรับปรุงระบบให้ทนสมัยเป็นอีกสิงหนึงทีธรกิจควรให้ความสำคัญ
                                   ั             ่ ่ ุ่
หากต้องการรักษาขีดความสามารถทางการแข่งขันไว้ จากการสำรวจพบว่า ธุรกิจ
ส่วนใหญ่มแนวโน้มการลงทุนเพือพัฒนาเว็บไซต์หรือระบบพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
            ี                 ่                                  ิ
ในปี 2547 เมือเทียบกับปี 2546 เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือ เท่าเดิมหรือเพิมขึน
              ่                                                         ่ ้
ธุรกิจ B2B ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 34.6) ระบุวามีไม่มการเปลียนแปลงในการลงทุน
                                         ่        ี      ่
ขณะที่ธุรกิจ B2C ร้อยละ 36.5 ระบุว่ามีการลงทุนเท่าเดิม และอีกร้อยละ 36.5
ระบุวามีการลงทุนเพิมขึน ร้อยละ 1-20
      ่              ่ ้

                                           41
              รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006
Thailand E Commerce Survey 2006

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 
ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333
ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333
ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333JenissaraSakuljiamja
 
Pptงานคอม
PptงานคอมPptงานคอม
Pptงานคอมguest5201e5
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตIsriya Paireepairit
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่าrit77
 
TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333
TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333
TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333ssuser27e9a8
 
ไม้ตะกู
ไม้ตะกูไม้ตะกู
ไม้ตะกูchokchai57
 
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติguestdf2abc6
 
Sale Agreement Condo
Sale Agreement CondoSale Agreement Condo
Sale Agreement Condojavakhao
 
Pollination&Fertilization_332
Pollination&Fertilization_332Pollination&Fertilization_332
Pollination&Fertilization_332Paopaopaopao1
 

La actualidad más candente (19)

NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 
ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333
ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333
ส่วนประกอบของดอก กลุ่ม 1 ห้อง 333
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
Pptงานคอม
PptงานคอมPptงานคอม
Pptงานคอม
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่า
 
TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333
TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333
TISSUE CULTURE GROUP3 ROOM333
 
Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
ไม้ตะกู
ไม้ตะกูไม้ตะกู
ไม้ตะกู
 
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Classification of flowers
Classification of flowersClassification of flowers
Classification of flowers
 
Sale Agreement Condo
Sale Agreement CondoSale Agreement Condo
Sale Agreement Condo
 
Creative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free CultureCreative Commons: Toward Free Culture
Creative Commons: Toward Free Culture
 
Pollination&Fertilization_332
Pollination&Fertilization_332Pollination&Fertilization_332
Pollination&Fertilization_332
 
บทที่1
บทที่1 บทที่1
บทที่1
 
1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac
 

Más de Pawoot (Pom) Pongvitayapanu

Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incThailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comMobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 

Más de Pawoot (Pom) Pongvitayapanu (20)

E-Commerce Bubble 2016
E-Commerce Bubble 2016E-Commerce Bubble 2016
E-Commerce Bubble 2016
 
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
 
Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015
 
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
 
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
 
A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business
 
Content Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
Content Marketing by Pawoot Pom PongvitayapanuContent Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
Content Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
 
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
 
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
 
9 fundamentals for e-commerce in thailand
9 fundamentals for e-commerce in thailand9 fundamentals for e-commerce in thailand
9 fundamentals for e-commerce in thailand
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
 
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
 
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incThailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
 
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
 
Thailand e-commerce report 55
Thailand e-commerce report 55Thailand e-commerce report 55
Thailand e-commerce report 55
 
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comMobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
 

Thailand E Commerce Survey 2006

  • 1. บทที่ 1 บทนำ รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547 เป็นสรุปผลการสำรวจข้อมูลทางธุรกิจของผูประกอบการพาณิชย์- ้ อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติจัดทำขึ้น โดยปีนี้เป็นปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมิน สถานภาพธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการ กำหนดนโยบาย และวางแผนกลยุทธ์สำหรับภาครัฐในการพัฒนาและส่งเสริม อุตสาหกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศให้ยั่งยืนและเข้มแข็ง สามารถ แข่งขันได้ในระดับสากล นอกจากนีสำหรับภาคเอกชน ข้อมูลเหล่านียงมีสวนช่วย ้ ้ ั ่ ในการประกอบการตัดสินใจในเชิงธุรกิจต่างๆ อีกทังเอือประโยชน์ตอการคาดการณ์ ้ ้ ่ แนวโน้มและสภาวะการณ์ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอนาคตอีกด้วย การสำรวจในปี 2547 นี้ จัดทำควบคูไปกับการศึกษาวิเคราะห์พฒนาการของ ่ ั ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งดำเนินการโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิ ช ย์ รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547 ฉบับนี้จึงเป็นเพียงการสรุปข้อมูลเชิงสถิติที่ สำคัญที่ได้จากการสำรวจเท่านั้น สำหรับผู้ที่สนใจผลการสำรวจฉบับสมบูรณ์ พร้ อ มบทวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ลึ ก ของพาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ในภาพรวมและราย อุตสาหกรรมสามารถดูได้จากรายงานผลโครงการศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการ ของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์ (http://www.dbd.go.th) สำหรับผูทสนใจรายงานฉบับนีหรือข้อมูลสถิตดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ ้ ่ี ้ ิ ้ การสื่อสารอื่นๆ สามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ http://www.nectec.or.th/pld/ indicators/index.html และหากท่านมีขอสงสัยในผลการสำรวจหรือมีขอเสนอแนะ ้ ้ ต่อรายงานฉบับนี้ กรุณาส่งมายัง phumisak.smutkupt@nectec.or.th หรือติดต่อที่ 13 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 2. หมายเลขโทรศัพท์ 02-644-8150-9 ต่อ 622 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติขอแสดงความ ขอบคุณกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทีให้ความอนุเคราะห์ฐานข้อมูล ่ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และเนื้อหาภายในแบบสอบถามบางส่วน รวมทังผูประกอบการทุกท่านทีเสียสละเวลาร่วมให้ขอมูลอันเป็นประโยชน์ททำให้ ้ ้ ่ ้ ่ี การศึกษาครังนีสำเร็จลุลวงได้ดวยดี ศูนย์ฯ หวังว่าจะได้รบความร่วมมือเช่นนีอก ้ ้ ่ ้ ั ้ี ในการสำรวจครังต่อๆ ไป ้ 14 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 3. บทที่ 2 ระเบียบวิธการสำรวจ ี วิธการสำรวจ ี การสำรวจครั้งนี้เป็นการสำรวจเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีจำนวนผูประกอบการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ทตองการศึกษาทังสิน 880 ราย ้ ิ ่ี ้ ้ ้ ซึ่งมาจากฐานข้อมูลผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่จดทะเบียนกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทีมชอและทีอยูถกต้องชัดเจน จำนวน ่ ี ่ื ่ ่ ู 818 ราย และผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รายสำคัญ (Key Players) ในฐานข้ อ มู ล ของศู น ย์ เ ทคโนโลยี อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ ทีไม่ซำกับของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าอีก 62 ราย ่ ้ เครืองมือการสำรวจ ่ การสำรวจครังนีเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามทีศนย์เทคโนโลยีอเล็กทรอนิกส์ ้ ้ ู่ ิ และคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ และกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ ร่วมกันพัฒนาขึน มีทงสิน 12 หน้า และใช้ระยะเวลาในการตอบโดยเฉลียประมาณ ้ ้ั ้ ่ 10-15 นาที เนือหาของแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานทางธุรกิจ ส่วนที่ 2 การประเมินธุรกิจในด้านต่างๆ ดังนี้ • การเรียนรู้และการพัฒนา • ลูกค้า • กระบวนการภายใน • การตลาด • เทคโนโลยีสารสนเทศ • การเงิน • พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนที่ 3 การแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 15 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ได้กระจายแบบ สอบถามไปยังผูประกอบการทัวประเทศผ่านทางไปรษณีย์ (อีเมล์และโทรสารบ้าง ้ ่ ตามความสะดวกของผูรบ) ในระหว่างวันที่ 19 พฤษภาคม ถึง 30 มิถนายน 2547 ้ั ุ และเมือครบกำหนดมีแบบสอบถามทีได้รบกลับมาทังสิน 135 ชุด แต่ทใชัได้จริงมี ่ ่ ั ้ ้ ่ี เพียง 127 ชุด อัตราการตอบกลับ (Response Rate) คิดเป็นร้อยละ 14.4 การวิเคราะห์ขอมูลและประเมินผล ้ แบบสอบถามที่ได้กลับมาทั้งหมดถูกนำมาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows เพื่อทำการแจกแจงความถี่ (Frequency) คำนวณหาค่าร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลีย (Mean) ่ แนวคิดและคำนิยามของธุรกรรมพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ การสำรวจครั ้ ง นี ้ ใ ช้ ค ำนิ ย ามธุ ร กรรมพาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบแคบ (Narrow Definition) ขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Cooperation and Development: OECD) เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการรวบรวมมูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย คำนิยามดังกล่าวระบุวา “ธุรกรรมพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์แบบแคบ หรือ Internet ่ ิ Transaction (I-Transaction) หมายถึง การซือหรือขายสินค้าหรือบริการระหว่าง ้ ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน ภาคบุคคล หรือองค์กรต่างๆ ที่เกิดขึ้นผ่านทาง อินเทอร์เน็ต การสั่งซื้อสินค้าหรือบริการต้องเกิดขึ้นผ่านทางอินเทอร์เน็ต แต่ การชำระเงินหรือการจัดส่งสินค้าจะเกิดขึนออนไลน์หรือออฟไลน์กได้” สรุปได้วา ้ ็ ่ มูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะนับเฉพาะมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ทีเกิดจากคำสังซือทีผานอินเทอร์เน็ตหรือเว็บไซต์เท่านัน ไม่คำนึงถึงรูปแบบของ ่ ่ ้ ่ ่ ้ การชำระเงินและการจัดส่ง แนวคิดดังกล่าวได้รับความนิยมไปทั่วโลก หลาย ประเทศได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่นเดียวกัน เพือความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากล ่ 16 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 5. ข้อพึงระวังในการใช้ขอมูล ้ 1. ข้อมูลที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้อาจมีความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก สาเหตุตางๆ เช่น การมีอตราการตอบกลับทีตำ หรือผูตอบไม่ให้ขอมูลตาม ่ ั ่ ่ ้ ้ ความเป็นจริง เป็นต้น อย่างไรก็ดี คณะผูวจยได้พยายามอย่างเต็มทีเพือให้ ้ิั ่ ่ เกิดความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด 2. มูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้เป็น ข้อมูลในปี 2546 ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมเปิดเผยข้อมูล จำนวน 61 รายเท่านัน คณะผูวจยไม่สามารถประมาณค่าทีได้กลับไปเป็น ้ ้ิั ่ มู ล ค่ า ของทั ้ ง อุ ต สาหกรรมเพื ่ อ นำเสนอในภาพรวมของประเทศได้ เนื่องจากข้อจำกัดบางประการของฐานข้อมูล 3. มู ล ค่ า ธุ ร กรรมพาณิ ช ย์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ท ี ่ น ำเสนอในรายงานฉบั บ นี ้ ไม่ได้นบรวมมูลค่าการซือขายหลักทรัพย์ผานทางอินเทอร์เน็ตเข้าไว้ดวย ั ้ ่ ้ เหมือนเช่นข้อมูลของปี 2545 ทำให้มลค่าธุรกรรมของธุรกิจ B2C ในปี ู 2546 ลดลงกว่าปี 2545 อย่างมาก 4. ผู้ประกอบการบางรายไม่ได้จำแนกรายรับที่เกิดจากสินค้าที่จำหน่าย ผ่านช่องทางปกติ (ออฟไลน์) หรือผ่านทางเว็บไซต์ (ออนไลน์) ไว้ ทำให้ไม่ สามารถให้ข้อมูลของมูลค่าธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้น จริงได้อย่างถูกต้อง 5. สินค้าและบริการบางประเภท เช่น การจองทีพก ในเบืองต้นมีการสังซือ ่ ั ้ ่ ้ ผ่านทางเว็บไซต์ แต่ไม่ได้ชำระเงินทันทีเนื่องจากต้องผ่านกระบวนการ ต่างๆ เช่น เจรจาต่อรอง ทำให้การชำระเงินเกิดขึนภายหลังจากวันทีสงซือ ้ ่ ่ั ้ สินค้านานหลายวัน และบางครั้งการชำระเงินก็ไม่ได้เกิดขึ้นผ่านทาง เว็บไซต์ ทำให้ผู้ประกอบการไม่นับธุรกรรมดังกล่าวว่าเป็นธุรกรรม พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งตามคำนิยาม ของ OECD จะถือว่าธุรกรรม ดังกล่าวเป็นธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากคำสั่งซื้อครั้งแรก เกิดขึ้นผ่านทางเว็บไซต์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มูลค่าธุรกรรมพาณิชย์- อิเล็กทรอนิกส์ที่รวบรวมได้อาจมีมูลค่าน้อยกว่าความเป็นจริง 17 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 6. ข้อเสนอแนะสำหรับการสำรวจครังต่อไป ้ 1. ปรับปรุงฐานข้อมูลธุรกิจ (Business List) ให้สมบูรณ์และสร้างความ เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลประเภทต่างๆ เพื่อความสามารถในการจำแนก ข้อมูลตามเงือนไข (Criteria) ทีตองการ เช่น ประเภทอุตสาหกรรมเงินทุน ่ ่ ้ จดทะเบียน และจำนวนพนักงาน เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง สำหรับการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 2. ปรับปรุงแบบสอบถามให้สั้นและมีความซับซ้อนน้อยลงเพื่อเพิ่มอัตรา การตอบกลับ (Response Rate) 18 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 7. บทที่ 3 ผลการสำรวจธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม ิ 3.1 ข้อมูลพืนฐานทางธุรกิจ ้ จากข้อมูลของผูประกอบการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ จำนวน 127 ราย พบว่า ้ ิ ธุรกิจ ร้อยละ 58.3 จดทะเบียนในรูปของบริษทจำกัด รองลงมาคือ บุคคลธรรมดา ั ร้อยละ 26.8 และบริษทมหาชนจำกัด ร้อยละ 6.3 และเมือพิจารณาถึงขนาดของ ั ่ ธุรกิจ โดยดูจากจำนวนพนักงานทีทำงานเต็มเวลาในธุรกิจนันพบว่า ธุรกิจส่วนใหญ่ ่ ้ มีขนาดเล็ก โดยร้อยละ 47.2 มีจำนวนพนักงานทีทำงานเต็มเวลาน้อยกว่า 5 คน ่ และมีเพียงร้อยละ 17.3 เท่านั้น ที่มีจำนวนพนักงานที่ทำงานเต็มเวลามากกว่า 50 คน แผนภาพที่ 1 รูปแบบการจดทะเบียนธุรกิจ บุคคลธรรมดา 26.8% บริษทมหาชนจำกัด ั 6.3% ห้างหุนส่วนจำกัด ้ บริษทจำกัด ั 4.7% 58.3% ห้างหุนส่วนสามัญนิตบคคล ้ ิ ุ อืนๆ ่ 2.4% 1.6% (n=127) 19 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 8. แผนภาพที่ 2 จำนวนพนักงานทีทำงานเต็มเวลา ่ ร้อยละ 60 50 47.2 40 30 20 17.3 15.0 11.0 10 5.5 1.6 2.4 0 น้อยกว่า 5-10 คน 11-20 คน 21-30 คน 31-40 คน 41-50 คน มากกว่า 5 คน 50 คน (n=127) เมือพิจารณาถึงเงินทุนจดทะเบียน พบว่าธุรกิจร้อยละ 31.5 มีทนจดทะเบียน ่ ุ ต่ำกว่า 5 แสนบาท ร้อยละ 22.0 มีทนจดทะเบียนระหว่าง 5 แสนถึง 1 ล้านบาท ุ และร้อยละ 22.8 มีทนจดทะเบียนระหว่าง 1 ล้านถึง 5 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ธุรกิจ ุ ขนาดใหญ่ทมทนจดทะเบียนมากกว่า 20 ล้านบาทก็มอยูในการสำรวจครังนีเช่นกัน ่ี ี ุ ี ่ ้ ้ โดยมีถงร้อยละ 15.8 ึ แผนภาพที่ 3 เงินทุนจดทะเบียน ร้อยละ 50 40 31.5 30 22.0 22.8 20 15.8 10 3.2 4.7 0 น้อยกว่า 500,000 - 1,000,001 - 5,000,001 - 10,000,001 - มากกว่า 500,000 บาท 1,000,000 บาท 5,000,000 บาท 10,000,000 บาท 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท (n=127) 20 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 9. สำหรับประเภทอุตสาหกรรม ธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ 26 ราย หรือร้อยละ ิ 20.5 อยู่ในอุตสาหกรรมบริการ ซึ่งเป็นการบริการทั้งในระดับธุรกิจและบุคคล โดยส่วนใหญ่มาจากด้านคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เช่น ออกแบบเว็บไซต์ หรือเว็บโฮสติง สำหรับประเภทอุตสาหกรรมรองลงมา ได้แก่ หัตถกรรม ของขวัญ ้ ของแต่งบ้าน ร้อยละ 15.7 และการท่องเทียวและขนส่ง ร้อยละ 8.7 ่ ตารางที่ 1 ประเภทอุตสาหกรรมทีดำเนินธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ่ ิ (หน่วย:ราย) ประเภทธุรกิจ จำนวน ร้อยละ ธุรกิจบริการ 26 20.5 หัตถกรรม ของขวัญ ของตกแต่งบ้าน 20 15.7 ท่องเทียว ขนส่ง ่ 11 8.7 ซีดเพลง ภาพยนต์ ซอฟต์แวร์ ี 10 7.9 ผู้ให้บริการระบบและตลาดกลาง 10 7.9 อาหาร เครืองดืม ่ ่ 6 4.7 การเงิน การประกัน 6 4.7 เครืองใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ ่ ิ 6 4.7 อุปกรณ์สื่อสาร คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เสริม 6 4.7 หนังสือ สิงพิมพ์ ่ 5 3.9 สิงทอ เครืองนุงห่ม ่ ่ ่ 4 3.1 สินค้าเกษตรกรรม ดอกไม้ 3 2.4 เว็บพอร์ทล บันเทิง ั 3 2.4 อัญมนีและเครื่องประดับ 2 1.6 วัสดุก่อสร้างและเคหะภัณฑ์ 2 1.6 อืนๆ ่ 7 5.5 รวม 127 100 21 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 10. 3.2 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เมือพิจารณาถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ธุรกิจส่วนใหญ่คำนึงถึง ่ ความสำคัญของการมีคอมพิวเตอร์และอีเมล์ ธุรกิจร้อยละ 75.6 มีอตราส่วนของ ั จำนวนพนักงานต่อจำนวนคอมพิวเตอร์เป็น 1:1 และร้อยละ 69.3 มีอเมล์ให้กบ ี ั พนักงานเป็นรายบุคคล แผนภาพที่ 4 จำนวนคอมพิวเตอร์ในธุรกิจ ร้อยละ 100 80 61.4 60 40 20 17.3 10.2 7.1 3.9 0 1-10 เครือง ่ 11-20 เครื่อง 21-30 เครื่อง 31-40 เครื่อง มากกว่า 40 เครื่อง (n=127) แผนภาพที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนพนักงานต่อคอมพิวเตอร์ 1 เครือง ่ ร้อยละ 100 80 75.6 60 40 19.7 20 3.9 0.8 0 1 คน 2 คน 5 คน 20 คน (n=127) 22 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 11. แผนภาพที่ 6 อัตราส่วนของอีเมล์ตอจำนวนพนักงาน ่ ร้อยละ 100 80 69.3 60 40 22.8 20 7.1 0.8 0 ไม่มี 1 คนต่อ 1 อีเมล์ ี ใช้อเมล์รวมกัน ่ อืนๆ ่ (n=127) ในด้านของรูปแบบการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า โมเด็มเป็นช่องทางการ ่ เชือมต่อทีธรกิจนิยมใช้มากทีสดถึงร้อยละ 57.9 รองลงมาคือ ADSL ร้อยละ 18.3 ่ ุ่ ุ่ และ ISDN ร้อยละ 6.3 และเมือพิจารณาถึงความเร็วในการเชือมต่อ พบว่า ความเร็ว ่ ่ ในระดับทีไม่เกิน 56 Kbps เป็นทีนยมมากทีสดคือ ร้อยละ 48.4 รองลงมาคือ 256 ่ ่ ิ ุ่ Kbps ร้อยละ 18.3 อย่างไรก็ดี เป็นที่น่าสังเกตว่า สัดส่วนของธุรกิจที่เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วตังแต่ 128 Kbps ขึนไป รวมแล้วมีมากถึงร้อยละ 46.8 ้ ้ แสดงให้เห็นว่าธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จำนวนไม่น้อยได้นำเทคโนโลยี บรอดแบนด์มาใช้ในการดำเนินธุรกิจแล้ว 23 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 12. แผนภาพที่ 7 รูปแบบการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต ่ ร้อยละ 80 60 57.9 40 20 18.3 17.5 6.3 0 โมเด็ม ADSL ISDN อืนๆ ่ (n=126) แผนภาพที่ 8 อัตราความเร็วของการเชือมต่ออินเทอร์เน็ต ่ ร้อยละ 80 60 48.4 40 20 18.3 16.7 11.9 4.8 0 ไม่เกิน 56 Kbps 64 Kbps 128 Kbps 256 Kbps มากกว่า 256 Kbps (n=126) เมือพิจารณาความเร็วในการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตของแต่ละธุรกิจ จำแนก ่ ่ ตามเงินทุนจดทะเบียนแล้ว พบว่า ความเร็วในการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตมีแนวโน้ม ่ เพิมขึนตามเงินทุนจดทะเบียนของธุรกิจ กล่าวคือธุรกิจทีมเงินทุนจดทะเบียนน้อย ่ ้ ่ ี 24 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 13. ส่วนใหญ่นยมเชือมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วต่ำ และธุรกิจทีมเงินทุนจดทะเบียน ิ ่ ่ ี มากขึ้นส่วนใหญ่ก็จะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วที่สูงขึ้น ดังจะเห็นได้จาก กลุ่มธุรกิจที่มีทุนจดทะเบียนน้อยกว่า 5 แสนบาท ที่ร้อยละ 72.5 เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วไม่เกิน 56 Kbps ในขณะทีมเพียง ร้อยละ 20.0 เท่านันทีใช้ ่ ี ้ ่ เทคโนโลยีบรอดแบนด์ ในทางตรงกันข้าม กลุมทีมเงินทุนจดทะเบียนมากกว่า 20 ่ ่ ี ล้านบาท ร้อยละ 85.0 ใช้เทคโนโลยีบรอดแบนด์ โดยมีเพียงร้อยละ 15.0 เท่านันที่ ้ เชื่อมต่อด้วยความเร็วพื้นฐาน แผนภาพที่ 9 อัตราความเร็วของการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตจำแนก ่ ตามขนาดธุรกิจ 80 72.5 70 60.7 ไม่เกิน 56 Kbps 60 64 Kbps 50.0 128 Kbps 50 256 Kbps 40.0 40 มากกว่า 256 Kbps 14.3 32.1 33.3 33.3 33.3 30 25.025.0 25.0 20.0 20 14.3 14.3 14.3 15.0 10.7 10 7.5 7.57.5 7.1 7.1 5.0 3.6 0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 น้อยกว่า 500,000 - 1,000,001 - 5,000,001 - 10,000,001 - มากกว่า 500,000 บาท 1,000,000 บาท 5,000,000 บาท 10,000,000 บาท 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท (n=126) ระบบสารสนเทศทีได้รบความนิยมมากทีสด นอกจากระบบพืนฐานทีเกียวกับ ่ ั ุ่ ้ ่ ่ การบัญชีและการเงินแล้ว (ได้รบความนิยมร้อยละ 41.7 และร้อยละ 30.7 ตามลำดับ) ั ระบบตอบสนองคำสังซือ (Order Fulfillment) ก็เป็นอีกหนึงระบบทีธรกิจจำนวนมาก ่ ้ ่ ุ่ 25 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 14. ให้ความสนใจ โดยมีธรกิจทีใช้ระบบดังกล่าวถึงร้อยละ 29.1 ตามด้วยระบบสินค้า ุ ่ คงคลัง ร้อยละ 25.2 และระบบทรัพยากรบุคคลและระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) เท่ากันทีรอยละ 23.6 สำหรับระบบ ่้ ทีได้รบความสนใจน้อยทีสดได้แก่ ระบบวางแผนทรัพยากรในองค์กร (Enterprise ่ ั ุ่ Resource Planning: ERP) และระบบบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM) ทีมธรกิจนำมาใช้เพียงร้อยละ 8.7 และ 7.9 ตามลำดับ ่ ีุ แผนภาพที่ 10 ระบบสารสนเทศทีใช้ในการดำเนินธุรกิจ ่ ระบบการบัญชี 41.7 ระบบการเงิน 30.7 ระบบตอบสนองคำสังซือ ่ ้ 29.1 ระบบสินค้าคงคลัง 25.2 ระบบทรัพยากรบุคคล 23.6 ระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ 23.6 ระบบจัดส่งสินค้า 12.6 ระบบวางแผนทรัพยากรในองค์กร 8.7 ระบบบริหารห่วงโซ่อปทาน ุ 7.9 ร้อยละ 0 10 20 30 40 50 60 (n=126) สำหรับงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลสำรวจ พบว่า ธุรกิจร้อยละ 30.1 มีการจัดสรรงบประมาณสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ อยู่ในช่วงระหว่างร้อยละ 1-5 ของงบประมาณทั้งหมด รองลงมาคือช่วงระหว่าง ร้อยละ 6-10 และร้อยละ 16-20 อย่างไรก็ดีจะเห็นว่ามีธุรกิจเพียงร้อยละ 13.0 เท่านั้นที่ไม่มีการจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้อย่างชัดเจน 26 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 15. แผนภาพที่ 11 งบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เปรียบเทียบกับ งบประมาณทังหมด ้ ร้อยละ 50 40 30.1 30 20 17.9 14.6 13.8 13.0 10.6 10 0 ร้อยละ 1-5 ร้อยละ 6-10 ร้อยละ11-15 ร้อยละ 16-20 มากกว่า ไม่มี ร้อยละ 20 (n=123) 3.3 ระดับความก้าวหน้าของพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ การสำรวจครังนีได้แบ่งระดับความก้าวหน้าของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ้ ้ ิ เป็น 3 ระดับ ตามการมีอยูของเว็บไซต์ และความสามารถในการรับคำสังซือสินค้า ่ ่ ้ ของเว็บไซต์ ดังนี้ ระดับที่ 1 ธุรกิจทีมอเมล์เพียงอย่างเดียว ไม่มเว็บไซต์ผประกอบการใช้อเมล์ ่ ีี ี ู้ ี ในการดำเนินธุรกิจ ระดับที่ 2 ธุรกิจทีมเว็บไซต์ทให้ขอมูลเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถรับคำสัง ่ ี ่ี ้ ่ ซือสินค้าได้ การรับคำสังซือต้องกระทำผ่านทางอีเมล์ ้ ่ ้ ระดับที่ 3 ธุรกิจที่มีเว็บไซต์ที่สามารถรับคำสั่งซื้อสินค้าได้ 27 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 16. แผนภาพที่ 12 ระดับความก้าวหน้าของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ ร้อยละ 80 70.1 60 40 26.8 20 3.1 0 ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 (n=127) จากการสำรวจพบว่า ธุรกิจ 89 ราย หรือประมาณร้อยละ 70 เป็นธุรกิจ พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ทมความก้าวหน้าในระดับที่ 3 รองลงมาคือ ระดับที่ 2 จำนวน ิ ่ี ี 34 ราย หรือร้อยละ 26.8 และระดับที่ 1 ซึงมีเพียง 4 ราย หรือ ร้อยละ 3.1 เท่านัน ่ ้ 28 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 17. บทที่ 4 ผลการสำรวจธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ขนก้าวหน้า ิ ้ั ข้อมูลที่นำเสนอในบทนี้ มาจากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มธุรกิจพาณิชย์- อิเล็กทรอนิกส์ทอยูในระดับ 3 คือ กลุมทีมเว็บไซต์ทสามารถรับคำสังซือได้จำนวน ่ี ่ ่ ่ ี ่ี ่ ้ 89 ราย เพียงกลุ่มเดียวเท่านั้น เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีการดำเนินธุรกิจพาณิชย์- อิเล็กทรอนิกส์อย่างเข้มข้น จึงเหมาะสมที่สุดที่จะเป็นตัวแทนที่สะท้อนให้เห็นถึง สถานภาพที่แท้จริงของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศ 4.1 ลักษณะการดำเนินธุรกิจ จากการสำรวจพบว่า ผูประกอบการส่วนใหญ่มประสบการณ์ในธุรกิจพาณิชย์- ้ ี อิเล็กทรอนิกส์ไม่นานนัก ร้อยละ 39.3 ทำธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์มาได้ไม่ถง ิ ึ 2 ปี ร้อยละ 47.2 ทำมาประมาณ 2-4 ปี และมีเพียงร้อยละ 13.5 เท่านันทีทำมานานกว่า ้ ่ 4 ปี และเมือพิจารณาถึงรูปแบบการดำเนินธุรกิจพบว่า เป็นธุรกิจประเภท B2B ่ 26 ราย หรือ ร้อยละ 29.2 และธุรกิจ B2C 63 ราย หรือร้อยละ 70.8 แผนภาพที่ 13 ช่วงเวลาทีเริมนำธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้ ่ ่ ิ ร้อยละ 60 53.9% 50 47.2 40 39.3 30 41.1% 20 (n=89) 13.5 10 ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว (Pure Internet) ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตและมีหน้าร้านกายภาพ (Click and Mortar) 0 ปี 2546-2547 ปี 2543-2545 ก่อนปี 2543 (n=89) 29 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 18. นอกจากนี้ ผลสำรวจยังแสดงให้เห็นด้วยว่า ช่องทางจำหน่ายสินค้าของ ผู้ประกอบการ มีรูปแบบที่ไม่แตกต่างกันมากนัก กล่าวคือ ธุรกิจร้อยละ 53.9 มีการจำหน่ายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว (Pure Internet Company) และอีกร้อยละ 46.1 เป็นธุรกิจทีมหน้าร้านทางกายภาพควบคูไปด้วย ่ ี ่ (Click and Mortar Company) แผนภาพที่ 14 ลักษณะการดำเนินธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ B2B 29.2% B2C 70.8% (n=89) แผนภาพที่ 15 รูปแบบการดำเนินธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ 53.9% 46.1% (n=89) ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว (Pure Internet) ดำเนินธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตและมีหน้าร้านกายภาพ (Click and Mortar) 30 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 19. 4.2 จำนวนลูกค้า/สมาชิก เมือพิจารณาจากจำนวนลูกค้า/สมาชิกทีลงทะเบียนในเว็บไซต์แล้ว สามารถ ่ ่ แบ่งเว็บไซต์ได้เป็น 2 กลุมใหญ่ คือ กลุมเว็บไซต์ทมจำนวนลูกค้า/สมาชิกน้อยกว่า ่ ่ ่ี ี 50 ราย และกลุมทีมจำนวนลูกค้า/สมาชิกมากกว่า 1,000 ราย โดยทังสองกลุมมี ่ ่ ี ้ ่ อัตราใกล้เคียงกัน ในธุรกิจ B2B เว็บไซต์ทมลกค้า/สมาชิกน้อยกว่า 50 ราย มีรอยละ ่ี ี ู ้ 23.1 เทียบกับกลุมทีมลกค้า/สมาชิกมากกว่า 1,000 ราย มีรอยละ 30.8 สำหรับธุรกิจ ่ ่ ีู ้ B2C เว็บไซต์ทมลกค้า/สมาชิกน้อยกว่า 50 ราย มีรอยละ 30.2 ในขณะทีเว็บไซต์ทมี ่ี ี ู ้ ่ ่ี ลูกค้า/สมาชิกมากกว่า 1,000 ราย มีรอยละ 34.9 ้ และเมือพิจารณาถึงจำนวนลูกค้าทีทำธุรกรรมผ่านเว็บไซต์นน พบว่าธุรกิจ ่ ่ ้ั B2B ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 34.6) มีลูกค้าที่ซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์ในช่วง 1 เดือน มากกว่า 16 ราย ตรงข้ามกับธุรกิจ B2C ทีสวนใหญ่ (ร้อยละ 47.6) มีลกค้าซือสินค้า ่่ ู ้ ในแต่ละเดือน น้อยกว่า 5 ราย แผนภาพที่ 16 จำนวนลูกค้า/สมาชิกทีลงทะเบียนในเว็บไซต์ ่ ร้อยละ 50 B2B B2C 40 34.9 30.2 30.8 30 23.1 20 15.4 15.4 12.7 10 7.7 7.7 7.9 7.9 6.3 0 น้อยกว่า 51-100 ราย 101-250 ราย 251-500 ราย 500-1,000 ราย มากกว่า 50 ราย 1,000 ราย (n=89) 31 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 20. แผนภาพที่ 17 จำนวนลูกค้าทีมการซือสินค้าผ่านเว็บไซต์ ่ ี ้ ในช่วงเวลา 1 เดือน ร้อยละ 50 47.6 B2B B2C 40 38.1 34.6 30 26.9 23.1 20 15.4 10 7.9 6.3 0 น้อยกว่า 5 ราย 6-10 ราย 11-15 ราย มากกว่า 16 ราย (n=89) สำหรับจำนวนลูกค้าที่ซื้อสินค้าซ้ำมากกว่า 1 ครั้งต่อเดือน พบว่าในธุรกิจ B2B มีการกระจายตัวใกล้เคียงกันคือ ลูกค้าทีซอซ้ำเพียง 1-3 ราย มีรอยละ 28.0 ่ ้ื ้ ทีซอซ้ำ 4-5 รายมีรอยละ 20.0 และทีซอซ้ำมากกว่า 5 รายมีรอยละ 24.0 เช่นเดียว ่ ้ื ้ ่ ้ื ้ กับธุรกิจทีไม่มลกค้าทีซอซ้ำเลยก็มสดส่วนใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 28.0 ่ ีู ่ ้ื ีั ในส่วนของธุรกิจ B2C กว่าร้อยละ 70 มีลกค้าซือทีสนค้าซ้ำในแต่ละเดือน ู ้ ่ิ ไม่เกิน 3 ราย โดยร้อยละ 39.3 ไม่มลกค้าซือซ้ำเลย และร้อยละ 31.1 มีลกค้าซือซ้ำ ีู ้ ู ้ เพียง 1-3 ราย สำหรับจำนวนลูกค้าใหม่ พบว่าทังธุรกิจ B2B และ B2C ส่วนใหญ่ ร้อยละ ้ 32.0 และร้อยละ 42.9 ตามลำดับ มีลกค้าใหม่ในแต่ละเดือนประมาณ 1-5 ราย ู 32 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 21. แผนภาพที่ 18 จำนวนลูกค้าทีซอสินค้าซ้ำมากกว่า 1 ครังต่อเดือน ่ ้ื ้ ร้อยละ 50 B2B B2C 40 39.3 31.1 30 28.0 28.0 24.0 20.0 20 18.0 11.5 10 0 ไม่มี 1-3 ราย 4-5 ราย มากกว่า 5 ราย (n=84) แผนภาพที่ 19 จำนวนลูกค้าใหม่ทใช้บริการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ่ี ิ ในแต่ละเดือน ร้อยละ 50 42.9 B2B B2C 40 32.0 30 24.0 20 19.0 14.3 16.0 12.0 12.0 12.7 10 6.3 4.0 4.8 0 ี ไม่มเลย 1-5 ราย 6-10 ราย 11-15 ราย 16-20 ราย มากกว่า 20 ราย (n=88) 33 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 22. 4.3 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้าและส่วนหลัง ระบบแคตตาล็อกออนไลน์และระบบชำระเงินออนไลน์ คือระบบสารสนเทศ สำนักงานส่วนหน้า (Front Office Information System) ทีพบได้มากทีสดในธุรกิจ ่ ุ่ พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ โดยระบบแคตตาล็อกออนไลน์ได้รบความนิยมทังในกลุม ิ ั ้ ่ ธุรกิจ B2B และ B2C ในระดับทีใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 76.9 และร้อยละ 79.4 ่ ตามลำดับ ในขณะทีระบบรับชำระเงินออนไลน์ เป็นทีแพร่หลายเฉพาะในกลุมธุรกิจ ่ ่ ่ B2C เท่านัน เนืองจากการซือขายสินค้าแต่ละครังของธุรกิจ B2B มีมลค่าสูงมาก ้ ่ ้ ้ ู ทำให้ไม่สะดวกทีจะชำระเงินออนไลน์ จึงทำผ่านช่องทางอืนแทน เช่น การโอนเงิน ่ ่ ผ่านบัญชีธนาคาร เป็นต้น แผนภาพที่ 20 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้า ด้านการให้บริการ ทัวไปของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ่ ิ แคตตาล็อกออนไลน์ 76.9 79.4 38.5 รับชำระเงินออนไลน์ 65.1 ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค 38.5 38.1 30.8 จัดส่งสินค้า 30.2 30.8 ติดตามสถานะการส่งสินค้า 30.2 30.8 B2B ชุมชนออนไลน์ 22.2 B2C ร้อยละ 0 20 40 60 80 100 (n=89) 34 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 23. สำหรับระบบการให้บริการด้านการซือขายสินค้า ระบบใบเสนอราคา (RFQ/ ้ RFP: Request for Quotation/Proposal) ดูเหมือนว่าจะเป็นระบบทีได้รบความนิยม ่ ั มากกว่าระบบอืนอย่างชัดเจน โดยมีธรกิจ B2B และ B2C ทีใช้ระบบดังกล่าวมากถึง ่ ุ ่ ร้อยละ 65.4 และร้อยละ 44.4 ตามลำดับ ส่วนระบบทีเป็นทีแพร่หลายรองลงมาคือ ่ ่ ระบบปรับเปลียนราคาตามผูซอ (Customized Price) ่ ้ ้ื แผนภาพที่ 21 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้า ด้านการให้บริการ ซือขายสินค้าของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ้ ิ ระบบใบเสนอราคา 65.4 44.4 ปรับเปลียนราคาตามผูซอ ่ ้ ้ื 23.1 12.7 15.4 ต่อรองราคา 6.3 ประมูลแบบมาตรฐาน 19.2 3.2 15.4 B2B ประมูลแบบย้อนกลับ 1.6 B2C ร้อยละ 0 20 40 60 80 100 (n=89) ในด้านของการให้บริการด้านความเชื่อมั่น ระบบยืนยันตัวบุคคล (Identity Authentication) เป็นระบบที่ได้รับความนิยมมากที่สุด โดยเฉพาะกับธุรกิจ B2C ทีมผใช้มากถึงร้อยละ 55.6 ในขณะทีธรกิจ B2B มีผใช้เพียงร้อยละ 38.5 รองลงมา ่ ี ู้ ุ่ ู้ คือ ระบบตรวจสอบเครดิต (Credit Check) และระบบให้ประกันการชำระเงิน สำหรับระบบทีเหลืออืนๆ มีธรกิจทีให้ความสนใจน้อยมาก ่ ่ ุ ่ 35 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 24. แผนภาพที่ 22 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหน้า ด้านการให้บริการ ความเชือมันของธุรกิจพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ่ ่ ิ การยืนยันตัวบุคคล 38.5 55.6 23.1 การตรวจสอบเครดิต 25.4 7.7 ให้ประกันการชำระเงิน 23.8 บริการด้านการประกันภัย 7.7 6.3 บริการคุณสมบัตคคา ิ ู่ ้ 7.7 3.2 3.8 บริการประเมินชือเสียง ่ 6.3 B2B บริการจัดอันดับคูคา ่ ้ 3.8 B2C 4.8 ร้อยละ 0 20 40 60 80 (n=89) สำหรับระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหลัง (Back Office Information System) ระบบจัดการเนือหาข้อมูลและระบบจัดการแคตตาล็อกเป็นระบบทีมผใช้ ้ ่ ี ู้ มากทีสด กว่าร้อยละ 60-70 ในขณะทีระบบอืนๆ มีอยูในระดับร้อยละ 20-30 เท่านัน ุ่ ่ ่ ่ ้ ยกเว้นระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) ทีได้รบความนิยมมากในกลุมธุรกิจ B2B ่ ั ่ 36 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 25. แผนภาพที่ 23 ระบบสารสนเทศสำนักงานส่วนหลังของธุรกิจ พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ ระบบจัดการเนือหาข้อมูล ้ 73.1 60.3 ระบบจัดการแคตตาล็อก 57.7 61.9 ระบบวิเคราะห์ขอมูล ้ 26.9 33.3 ระบบจัดการสินค้าคงคลัง 34.6 28.6 ระบบลูกค้าสัมพันธ์ 53.8 23.8 ระบบขนส่งสินค้า 26.9 15.9 B2B ระบบสนับสนุน บำรุงรักษา 26.9 B2C ฝึกอบรม 14.3 ร้อยละ 0 20 40 60 80 100 (n=89) 4.4 เว็บไซต์พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ ระบบสังซือสินค้า ่ ้ จากการสำรวจพบว่า ระบบสังซือสินค้าทัง 3 ประเภท คือ ระบบตะกร้าสินค้า ่ ้ ้ (Shopping Cart) แบบฟอร์ม (Form) และอีเมล์ (e-Mail) ได้รบความนิยมจากทังธุรกิจ ั ้ B2B และ B2C ใกล้เคียงกัน คืออยูในระดับร้อยละ 40 ่ 37 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 26. แผนภาพที่ 24 รูปแบบการรับคำสังซือสินค้า ่ ้ 42.6 ระบบตะกร้าสินค้า 47.6 42.3 แบบฟอร์ม 44.4 38.5 อีเมล์ B2B 46.0 B2C ร้อยละ 0 20 40 60 80 100 (n=89) ระบบรับชำระเงิน เมื่อพิจารณาระบบรับชำระเงินทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์แล้ว พบว่า การโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารเป็นวิธีการรับชำระเงินที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ทังในธุรกิจ B2B และ B2C โดยมีผใช้มากถึงร้อยละ 65.4 และ 66.7 ตามลำดับ ้ ู้ รองลงมาคือ บัตรเครดิตทีธรกิจ B2C ใช้มากถึงร้อยละ 57.1 เป็นทีนาสังเกตว่า ุ่ ่ ่ ระบบรับชำระเงินแบบอินเทอร์เน็ตแบงกิ้ง (Internet Banking) ยังไม่ได้รับ ความนิยมเท่าทีควร มีเพียงร้อยละ 22.2 ของธุรกิจ B2C และร้อยละ 15.4 ของธุรกิจ ่ B2B เท่านั้นที่ใช้ ในขณะที่รูปแบบการรับชำระเงินผ่านผู้ให้บริการกลาง อาทิ ThaiePay ซึงเป็นรูปแบบใหม่ ยังต้องอาศัยเวลาในการสร้างความรูจกและความ ่ ้ั เชือมันให้กบลูกค้าอีกพอสมควร เนืองจากปัจจุบนได้รบความสนใจน้อยมาก ่ ่ ั ่ ั ั 38 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 27. แผนภาพที่ 25 รูปแบบการรับชำระเงินออนไลน์ 26.9 บัตรเครดิต 57.1 15.4 อินเทอร์เน็ตแบงกิง ้ 22.2 3.8 ผูให้บริการชำระเงิน ้ B2B เช่น ThaiePay 1.6 B2C ร้อยละ 0 20 40 60 80 (n=54) แผนภาพที่ 26 รูปแบบการรับชำระเงินออฟไลน์ 65.4 โอนผ่านบัญชีธนาคาร 66.7 23.1 พนักงาน 25.4 7.7 ไปรษณีย์ B2B 20.6 B2C ร้อยละ 0 20 40 60 80 (n=62) 39 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 28. การจัดส่งสินค้า การจัดส่งสินค้าถือเป็นองค์ประกอบสำคัญอีกประการหนึ่งของพาณิชย์- อิเล็กทรอนิกส์ทจะขาดเสียไม่ได้ รูปแบบการจัดส่งทีธรกิจ B2C นิยมใช้มากทีสด ่ี ุ่ ุ่ คือไปรษณีย์ ร้อยละ 44.4 รองลงมาคือการจัดส่งออนไลน์ ร้อยละ 38.1 ซึงเหมาะกับ ่ สินค้าหรือบริการบางประเภทเท่านั้น สำหรับรูปแบบการจัดส่งที่ได้รับความนิยม น้อยทีสดของธุรกิจ B2C คือการว่าจ้างบริษทขนส่งสินค้า โดยมีธรกิจทีใช้บริการ ุ่ ั ุ ่ ดังกล่าวเพียง ร้อยละ 27.0 ซึงตรงกันข้ามกับธุรกิจ B2B ทีการว่าจ้างบริษทขนส่ง ่ ่ ั เป็นวิธทนยมมากทีสด ร้อยละ 38.5 รองลงมาคือ การจัดส่งด้วยพนักงานของตนเอง ี ่ี ิ ุ่ และจัดส่งออนไลน์ เท่ากันทีรอยละ 23.1 ในขณะทีไปรษณียได้รบความนิยมน้อย ่้ ่ ์ ั ทีสด เพียงร้อยละ 15.4 เท่านัน ุ่ ้ จากการสำรวจจะเห็นว่าการเลือกใช้ประเภทการจัดส่งสินค้าเป็นไปตาม ธรรมชาติของการดำเนินธุรกิจอย่างแท้จริง ธุรกิจ B2C ทีสวนใหญ่จำหน่ายสินค้า ่่ ให้กบลูกค้าในประเทศ และมีปริมาณสินค้าทีซอขายแต่ละครังไม่สงนัก ไปรษณีย์ ั ่ ้ื ้ ู เป็นทางเลือกทีเหมาะสมทีสด ในทางตรงกันข้าม ธุรกิจ B2B มีการซือขายสินค้า ่ ุ่ ้ ปริมาณมาก และการตรงต่อเวลาเป็นปัจจัยสำคัญ จึงต้องอาศัยบริษทจัดส่งสินค้า ั ที่มีความเชี่ยวชาญและให้ความเชื่อมั่นได้มากกว่า แผนภาพที่ 27 รูปแบบการจัดส่งสินค้า 38.5 บริษทขนส่งสินค้า ั 27.0 23.1 พนักงานจัดส่งของหน่วยงาน 30.2 15.4 ไปรษณีย์ 44.4 23.1 B2B จัดส่งออนไลน์ B2C 38.1 ร้อยละ 0 20 40 60 80 100 (n=89) 40 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547
  • 29. การรับรองความน่าเชือถือ ่ เมือพิจารณาถึงการมีเครืองหมายรับรองความน่าเชือถือของเว็บไซต์จากหน่วยงาน ่ ่ ่ ทีมชอเสียงต่างๆ ทังในประเทศและต่างประเทศ เช่น VeriSign Truste และ Thawte ่ ี ่ื ้ เป็นต้น พบว่าร้อยละ 65.2 ของเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่มีเครื่องหมาย รับรองความน่าเชือถือใดๆ ในจำนวนนีแบ่งเป็นธุรกิจ B2B 42 ราย และธุรกิจ B2C ่ ้ 16 ราย ในขณะที่เว็บไซต์ที่มีเครื่องหมายรับรองมีเพียง ร้อยละ 34.8 เท่านั้น โดยแบ่งเป็นธุรกิจ B2B 10 รายและธุรกิจ B2C 21 ราย แผนภาพที่ 28 การมีเครืองหมายรับรองความน่าเชือถือของเว็บไซต์ ่ ่ พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ ได้รบ ั 34.8% ไม่ได้รบ ั 65.2% (n=89) การลงทุนเพือพัฒนาเว็บไซต์ ่ การพัฒนาและปรับปรุงระบบให้ทนสมัยเป็นอีกสิงหนึงทีธรกิจควรให้ความสำคัญ ั ่ ่ ุ่ หากต้องการรักษาขีดความสามารถทางการแข่งขันไว้ จากการสำรวจพบว่า ธุรกิจ ส่วนใหญ่มแนวโน้มการลงทุนเพือพัฒนาเว็บไซต์หรือระบบพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ี ่ ิ ในปี 2547 เมือเทียบกับปี 2546 เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือ เท่าเดิมหรือเพิมขึน ่ ่ ้ ธุรกิจ B2B ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 34.6) ระบุวามีไม่มการเปลียนแปลงในการลงทุน ่ ี ่ ขณะที่ธุรกิจ B2C ร้อยละ 36.5 ระบุว่ามีการลงทุนเท่าเดิม และอีกร้อยละ 36.5 ระบุวามีการลงทุนเพิมขึน ร้อยละ 1-20 ่ ่ ้ 41 รายงานการสำรวจสถานภาพการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประจำปี 2547