SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 33
Descargar para leer sin conexión
แฟ้มสะสมงาน
(Portfolio)
ประจาปีการศึกษา ๒๕๖5 เทอม 2
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ตาแหน่ง ครู คศ ๒
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ราชบุรี
คานา
เอกสารรายงานการประเมินตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 และมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติของข้าพเจ้า ได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการ
จัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติหน้าที่ฝ่าย/งาน ของข้าพเจ้า ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่ได้
ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะและคุณภาพตามระดับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ ในระหว่าง
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ทั้งนี้เพื่อเป็นการรายงานพร้อมประเมินผลการทางานของข้าพเจ้า
ว่าได้ปฏิบัติหน้าที่บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมาตรฐานการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้
รายงานดังกล่าวได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานการผลการประเมินตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ต่อ
ผู้บังคับบัญชาตามลาดับ ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนในสังคมได้ทราบผล
การปฏิบัติงานและคุณลักษณะของนักเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
ลงชื่อ
7 มีนาคม 2566
สารบัญ
เนื้อหา
หน้า
คานา
สารบัญ
ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้น
๑.๑ ข้อมูลส่วนตัว
ตอนที่ ๒ การพัฒนาตนเองในรอบปีการศึกษา ๒๕๖5
๒.๑ การประชุม อบรม สัมมนาหรือศึกษาดูงาน
๒.๒ การแสวงหาความรู้หรือพัฒนาตนเองโดยวิธีการหรือรูปแบบอื่นๆ
ตอนที่ ๓ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ภารกิจด้านการจัดการเรียนรู้
๓.๒ ภารกิจตามโครงสร้างการบริหารงาน
๓.๓ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่รับผิดชอบ
๓.๔ ภารกิจอื่นที่ได้รับมอบหมายจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ
ตอนที่ ๔ ผลการดาเนินงาน
๔๑ เกียรติประวัติและผลงานที่ดีเด่นในรอบปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖6
๔.๒ ผลการจัดการเรียนรู้
๔.๓ ผลการดาเนินงานตามโครงสร้างการบริหารงาน
๔.๔ ผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
๔.๕ ผลการดาเนินงานตามภารกิจอื่นๆที่ได้รับหมายจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ
ตอนที่ ๕ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสบผลสาเร็จและเป็นแบบอย่างที่ดีได้
ตอนที่ ๖ ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตอนที่ ๗ แนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
๗.๑ ปัญหา/ความต้องการที่เร่งด่วนที่ต้องเร่งปรับปรุง พัฒนา
๗.๒ โครงการ/กิจกรรมที่กาหนดเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
ภาคผนวก
ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้น
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ตาแหน่ง คศ ๒ สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
เกิดวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๐๖ E mail: peterdontoom@hotmail.com /peterart.dt@gmail.com
/ peterdontoomart@hotmail.com
ที่อยู่ ๑๘๓/๑๐ หมู่ ๑๑ ตาบลปากแรต อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
การศึกษา วุฒิทางการศึกษา ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอก ศิลปศึกษา วันที่ ๓๑ มีนาคม
๒๕๒๘ ปี ที่บรรจุแต่งตั้ง ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ อายุราชการ ๓6 ปี ประสบการณ์ด้านการสอน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ศิลปศึกษาจานวน ๓6 ปี
ความชานาญพิเศษ ออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟฟิก เว็บไซต์ www.peterfineart.com
ตาแหน่งเลขที่ ๑๐๗๗๓๗ เลขที่ ๑๘๔๐ คาสั่ง ๑๔ ต.ค.๒๕๒๙ เลขประจาตัวเสียภาษี ๑๖๒๐๕๙๒๑๔๒
ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ วิชาเอก/โท ปีที่สาเร็จการศึกษา ชื่อสถานศึกษา
ประถมศึกษา ๒๕๑๓-๒๕๑๙ โรงเรียนวัดปลักแรด
มัธยมศึกษาตอนต้น ๒๕๒๐-๒๕๒๓ โรงเรียนรัตนราษฎร์บารุง
มัธยมศึกษาตอนปลาย ๒๕๒๓-๒๕๒๕ โรงเรียนรัตนราษฎร์บารุง
ปริญญาตรี วิชาเอกศิลปศึกษา ๒๕๒๘ วิทยาลัยครูนครปฐม
ประวัติการรับราชการ
วัน/เดือน/ปี ตาแหน่ง/วิทยฐานะ ขั้น (บาท)
๒๓ ก.ย. ๒๕๒๙ ครู ปกศสูง ๒,๔๗๖ บาท
ก.ย. ๒๕๓๓ ครู คบ. ๔,๒๔๐ บาท
ปัจจุบัน ๒๕๖๕ คศ ๒ ๕8,10๐ บาท
๒.๑ การพัฒนาตนเอง (การอบรม/ สัมมนา /
ประชุม / ศึกษาดูงาน )
ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖5
๒.๒ การแสวงหาความรู้หรือพัฒนาตนเองโดยวิธีการหรือรูปแบบอื่นๆ
ครั้งที่ รายการ เรื่อง/ระดับ/ชั้น เอกสารหรือ
ผลงาน
ที่จัดทา/รวบรวม
การนาไปพัฒนางาน
ผลิตสื่อการสอนม.ต้นและ
ม.ปลาย
มัธยม www.peterfineart.
com
คศ ๓
ผลิตป้ายโฆษณาด้วย
โปรแกรมกราฟฟิก
ทุกระดับชั้น ป้ายบอร์ดสื่อการ
สอนต่างๆ
www.peterfineart.
com
ในโรงเรียนและชุมชน
ตอนที่ ๓ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ภารกิจด้านการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5
ชั้น รหัสวิชา รายวิชา จานวนชั่วโมง/
สัปดาห์
จานวนนักเรียน(คน
ม.1 ศ๒1๑๐๑ ทัศนศิลป์ 4 77
ม.3 ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ 4 60
ม.4 ศ๓๑๑๐2 ทัศนศิลป์ 3 104
ม.3 ศ๒๓๑๐3 นาฏศิลป์ 2 60
ม.5 ศ32102 นาฏศิลป์ 3 84
ม.3 PLC 2 31
ม.ต้น ชุมนุมทัศนศิลป์ 1 31
๓.๑ ภารกิจตามโครงสร้างการบริหารงาน
ที่ ฝ่าย/งาน งานที่ได้รับมอบหมาย หมายเหตุ
1 ฝ่ายอาคารสถานที่ ดูแลอาคารสถานที่ใน
โรงเรียนทั้งหมด
2 ฝ่ายกิจการนักเรียน ครูที่ปรึกษา ม.3/๔
3. กรรมการทูบีนัมเบอร์วัน โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ที่ ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หมายเหตุ
1 โครงการเผยแผ่วิชาความรู้ที่หลากหลายลงในเว็บไซต์
www.peterfineart.com
2 รองอาคารสถานที่ดูแลเรื่องภูมิทัศน์ของโรงเรียน
๓.๒ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่รับผิดชอบ
๔.๑ ผลงานเด่น & รางวัลเกียรติยศที่ได้รับ
ที่ วัน/เดือน/ปี ผลงาน /รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบ
1 ๑๖ ม.ค.๖6 ครูผู้สอนดีเด่น (ปี ๖5) สนง. สพม.๘
2 ๒๕ ต.ค. ๖๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลระดับ
เหรียญเงิน ภาพวาดเส้น ต้น
สพม.๘
3 ๒๕ ต.ค. ๖๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลระดับ
เหรียญเงินภาพวาดเส้นปลาย
สพม.๘
4 ๒๕ ต.ค. ๖๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลระดับ
เหรียญทองแดง ภาพวาดสีเอก
รงค์
สพม.๘
๔.๒.๑ สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5
ลาดับ รหัส/
รายวิชา
จานวน
ชั่วโมง/สัปดาห์
จานวน
ห้อง
รวม
ชั่วโมง
จานวน
นักเรียน
( คน )
ร้อยละ
นักเรียนที่
ได้
ผลการเรียน
ระดับ ๓ ขึ้น
ไป
ผลการเรียนเฉลี่ย
1 ทัศนศิลป์
ศ๒1๑๐๑
4 2 4 77 48 84.5
2 ทัศนศิลป์
ศ๒๓๑๐๑
4 2 4 60 48 80.0
3 ทัศนศิลป์
ศ๓๑๑๐2
3 3 3 104 92 88.5
4 นาฏศิลป์
ม.๓
2 2 2 60 48 80.0
5 ลูกเสือม.2 1 1 1 32 32 100
6 นาฏศิลป์
ศ32102
3 3 3 84 76 90.5
7 ชุมนุม/P
LC
1 2 2 25 25 100
๔.๒.๒ ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาแนกตามรายวิชา
สรุปผลการประเมินผลการเรียนทุกระดับชั้น ม.ต้นและ ม.ปลาย
๑. นักเรียนที่เรียนวิชาทัศนศิลป์ และวิชานาฏศิลป์ในระดับ ม.ต้น 1-๓ มีผล
การเรียนอยู่ในระดับดีมาก 85.2 % ในระดับดี ๘.2% ในระดับพอใช้ ๐.5 % ในระดับ
ไม่ผ่าน ๐ % ติด ร (เนื่องจากไม่ตัวนักเรียน)
๒. นักเรียนที่เรียนวิชาทัศนศิลป์ ม.ปลาย มีผลการเรียนอยู่ในระดับดีมากเกรด
๔ ได้ 92.1 % ในระดับดี 13.1 % ในระดับพอใช้ 3.3% ในระดับไม่ผ่าน ๐ % ติด ร
(เนื่องจากไม่ตัวนักเรียน)
*** ชี้ให้เห็นว่าการเรียนวิชาทัศนศิลป์ประสบผลความสาเร็จในการวัดและประเมินผล
โดยยึดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มี
๕ ประการ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ตารางกราฟผลการเรียนปีการศึกษา 2565 เทอม2
4.3 ผลการดาเนินงานตามโครงสร้างการบริหารงาน
ที่ งานที่ได้รับมอบหมาย ภาระงาน ผลการดาเนินงาน
ครูที่ปรึกษา ม.3/4 ♦ ทุกวันในตอนเช้า สารวจรายชื่อ
ดูแลในเรื่องระเบียบวินัย ความ
ประพฤติ เครื่องแต่งกาย เช็คชื่อใช้
โปรแกรม Line การเรียนและติดตาม
เรื่องราวต่าง ๆ โดยใช้โปรแกรมไลน์
ในส่งข้อมูลให้กับผู้ปกครองนักเรียน
ทราบ ควบคุมดูแลนักเรียนให้อยู่ใน
ความเรียบร้อยในช่วงเข้าแถว และ
ทาพิธีการหน้าลานอเนกประสงค์เวลา
เช้าทุกวัน
♦ กากับติดตามด้านความรับผิดชอบ
ของนักเรียนในการรักษาความสะอาด
ของห้องเรียนที่ได้รับมอบหมาย และ
การรักษาสาธารณสมบัติของโรงเรียน
♦ เข้าอบรมนักเรียนตอนเช้า ( Home
Room ) และบันทึกผลการ Home
Roomส่งข้อมูลให้กับ ฝ่ายวิชาการทาง
ไลน์
จากการดาเนินงานในฐานะครูที่
ปรึกษาส่งผลให้นักเรียนชั้น ม. 3/๔
เป็นนักเรียนที่มีความประพฤติดี กล้า
พูดกล้าแสดงออก พูดได้ถูกต้องตาม
กาลเทศะ มีกิริยามารยาทที่ดี เคารพ
ผู้ใหญ่ ครูบาอาจารย์ ช่วยเหลือ
งานโรงเรียนได้ดี ผู้สอนจัดการเรียน
การสอนเป็นแบบ Active Learning
เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมี
ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน
การปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ
ระดม สมอง การแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น เป็นต้น
๔.๔ ผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ที่ ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์-เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน
การสอนแบบ Active Learning โดย
ผู้สอนใช้โปรแกรมไลน์ในการส่งงาน
และข้อสอบ ส่วนชิ้นงานปฏิบ้ติ ใช้
โปรแกรมไอบิสเพ้นท์
เพื่อให้น.ร.ได้มีโอกาสเรียน
ทันเทคโนโลยี (ในกรณีขาด
เรียน)สามารถส่งงานทาง
ไลน์ตลอดเวลา
ประสบผลความสาเร็จ
95% การปฏิบัติงาน
♦ ทาหน้าที่รองอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ห้องเรียน และอาคารสถานที่ทุกอย่างใน
โรงเรียน
♦ ช่วยเหลือนักเรียนที่มีความเดือดร้อนเรื่องการเงิน โดยการขอรับการสนับสนุน
ทุนการศึกษา
♦ จัดทาภูมิทัศนลานอเนกประสงค์ ห้องเรียน ห้องน้า
♦ ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อแก้ไขปัญหานักเรียน ที่เรียนช้าส่ง
ข้อมูลทางไลน์
๔.๕ ผลการดาเนินงานตามภารกิจอื่นๆที่ได้รับหมายจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ
ที่ งาน/กิจกรรม ผลการดาเนินงาน
*จัดทาฝ่ายอาคารสถานที่ ด้านเวที งานวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมล
ลักษณ พระบรมราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชร
สุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
วันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรม
หาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
วันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ
*จัดโต๊ะ เก้าอี้ในการประชุมในองค์กรครู และองค์กร
จากหน่วยงานอื่นที่ขอมายืมสถานที่ประชุม
ตอนที่ ๕ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสบผลสาเร็จและเป็นแบบอย่างที่ดีได้
ชื่อ การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก
รูปแบบ/วิธีการในการจัดการเรียนรู้ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์
รายวิชา เพิ่มเติม ระดับชั้น ม.4 เนื้อหา การใช้โปรแกรม Corel Draw
สภาพปัญหาเดิม การจัดเรียนรู้ที่เขียนภาพการออกแบบ ด้วยกระดาษเป็นการสิ้นเปลือง และไม่ทันยุคสมัย ที่ใน
สังคมปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์มาออกแบบกราฟิก ด้วยโปรแกรม
Corel Draw x๔ จะทาให้นักเรียนสามารถทางานไม่ต้องใช้กระดาษมากในกรณีที่ผิดพลาดก็ใช้คอมพิวเตอร์ลบ
หรือทาขึ้นมาใหม่ได้
ข้าพเจ้า ได้เล็งเห็นความสาคัญของประเด็นนี้ จึงได้ทาการสอนในรายวิชาเพิ่มเติม ม.4 ที่เน้นให้
นักเรียนได้ปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Corel Draw x๔ โดยใช้
เทคนิคการกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสาคัญของการประกอบอาชีพในอนาคต คิดในสิ่งที่นอกเหนือจากความรู้
ที่ได้รับจากครู แล้วลงมือค้นหาคาตอบในสิ่งที่นักเรียนอยากรู้ อย่างมีระบบ ย่อมทาให้เกิดสิ่งมหัศจรรย์จาก
คาถามนั้นๆ ฉันจึงได้นาขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ด้วยการปฎิบัติจริง โดยใช้การทางานแบบ Passakit
Model มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การใช้แนวคิด/ทฤษฎี
การสอนแบบโครงงานนั้นมีหลักการและเป้าหมายที่สาคัญคือมุ่งให้นักเรียนเป็นผู้ออกแบบพัฒนาและปฏิบัติภารกิจ
หรือภาระงานของตนอย่างเป็นกระบวนการที่มีความต่อเนื่องกัน ซึ่งหลักการดังกล่าวนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานทฤษฎี
การบริหารงานแบบ (Passakit Model) ซึ่งพัฒนามาจากแนวคิดที่มุ่งให้นักเรียนสร้างความรู้ใหม่ขึ้นเองอย่าง
กระตือรือร้นแทนการรับฟังและซึมซับความรู้จากครูผู้สอนเพียงอย่างเดียว
โครงงานคอมพิวเตอร์กราฟิก เป็นการส่งเสริมความสามารถของนักเรียน ฝึกมีทักษะ
กระบวนการทางานและทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ มีทักษะการใช้
เครื่องมือในโปรแกรม Corel Draw และเจตคติที่ดีต่อการใช้คอมพิวเตอร์ โดยคานึงถึง
หลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง นักเรียนสาคัญที่สุด ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจาก youtube
คิดเอง ทาเอง แก้ปัญหาได้เอง โดยครูเป็นเพียงผู้อานวยความสะดวก เตรียมแหล่ง
เรียนรู้จากเอกสารและเว็บไซต์ www.peterfineart.com คอยให้คาปรึกษา ไม่ปิดกั้น
แนวความคิดของนักเรียน เปิดโอกาสให้ศึกษาในทุกเรื่อง ไม่ว่าจะยากหรือง่าย แม้แต่
เรื่องที่มีผู้อื่นเคยทามาแล้ว หากนักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าลงมือปฏิบัติด้วยตนเองอย่าง
มุ่งมั่นก็สามารถประสบผลสาเร็จได้เช่นกันและที่สาคัญนักเรียนได้มีโอกาสนาเสนอ
ผลงานได้หลากหลายวิธีตามความถนัดของตนเอง เช่น การปฎิบัติจริง พร้อมทั้งได้
พัฒนาบุคลิกภาพ จนเกิดความเชื่อมั่น และกล้าแสดงออก มีทักษะทางสังคม ตามวิถี
ประชาธิปไตย ซึ่งปฏิบัติทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน ซึ่งมีขั้นตอนในการ
จัดการเรียนรู้แบบ (Passakit Model) คือ
ผลที่เกิดขึ้น จากการใช้แผนงานการบริหาร(Passakit Model)
มีผลการปฏิบัติงานเป็ยระเบียบแบบแผน ทางานร่วมกันเป็นทีม รู้จักคิดเป็น
แก้ปัญหาเป็นนักเรียนสามารถสื่อสาร และมีความคิดนอกกรอบ มีทักษะ
กระบวนความคิดใหม่ๆในการสร้างงานในชีวิตประจาวัน
ได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นการฝึกให้นักเรียนทางานอย่างมีระบบมีขั้นตอน
คิดเป็น รู้จักใช้เครื่องมือในการสร้างออกแบบในเชิงพาณิชย์ศิลป์ได้ในระดับ
หนึ่ง ขยายผลถึงขั้นการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ส่งผลต่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนเองและชุมชน นักเรียนได้ต่อยอดการเรียนรู้สู่การ
เป็นอาชีพ
ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
อารมย์ อินทรประเสริฐ: รายงานการมัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบกาฟิกด้วยโปรแกรม Corel Draw x๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
๑) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x๔
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน(๘๐/๘๐)
๒) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียน โดยใช้บทเรียน
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x๔ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
๓) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การ
ออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x๔ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเพื่อหาประสิทธิภาพของ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา ๒๕๖5 จานวน ๔๒ คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและศึกษาความ
พึงพอใจเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดดอนตูมอาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5
จานวน ๔2 คน ได้มาด้วย วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการ
ออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x4 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบ
ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบหาค่าที (t-test)
ผลการวิจัยพบว่า
๑. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรม CorelDraw x4
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ ๘๕.๒๖/๘๑.๒๓
๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง พื้นฐานการออกแบบโดยใช้โปรแกรม
CorelDraw x4 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.๐๕
๓. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x4 สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับ มาก ( X = ๔.๔๐)
ผลการศึกษาพบว่า ชุดการสอนมัลติมีเดีย การใช้โปรแกรม Corel Draw x๔ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิก
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ ๘๑.๓๒/๘๑.๑๔ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนมัลติมีเดียด้วยโปรแกรม Corel
Draw x๔ เรื่อง การออกแบบกราฟิก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และกลุ่มเป้าหมายมีความพึง
พอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอนอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
ลงชื่อ
( นายอารมย์ อินทรประเสริฐ )
ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ผู้รายงาน
บันทึกความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจรายงาน
ลงชื่อ ผู้ตรวจรายงาน
(นายพรรษกฤช เกตุรัตน์ )
ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ภาคผนวก
การปฏิบัติงานอาคารสถานที่
ผลงานการเรียนชุมนุมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การอบรมศึกษาดูงาน
จิตอาสาและบาเพ็ญประโยชน์
การพัฒนาการด้านภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
ใบประกาศนียบัตร
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf

Más contenido relacionado

Similar a portfolio 66.2.pdf

ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตาJang Suttita
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555Nattapon
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียนฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียนJang Suttita
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยาnatchaya sukjaroen
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน jariya6 niyomphong
 
งานคอมพอตตต ล่าสุด22
งานคอมพอตตต ล่าสุด22งานคอมพอตตต ล่าสุด22
งานคอมพอตตต ล่าสุด22AomSirilakKhawsanlee
 
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2AomSirilakKhawsanlee
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษา
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาแฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษา
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาratimaporn12
 
แฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDoc
แฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDocแฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDoc
แฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDocIsabelleBest
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 

Similar a portfolio 66.2.pdf (20)

Work you selt2
Work you selt2Work you selt2
Work you selt2
 
Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 
Work you selt3
Work you selt3Work you selt3
Work you selt3
 
Port arom 2561
Port arom 2561Port arom 2561
Port arom 2561
 
port peter64.pdf
port peter64.pdfport peter64.pdf
port peter64.pdf
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1-สุทธิตา
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียนฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับนักเรียน
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยาฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยา
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน 1 (1) ณัฐชยา
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
งานคอมพอตตต ล่าสุด22
งานคอมพอตตต ล่าสุด22งานคอมพอตตต ล่าสุด22
งานคอมพอตตต ล่าสุด22
 
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
 
แฟ้มสะสมบีบี
แฟ้มสะสมบีบีแฟ้มสะสมบีบี
แฟ้มสะสมบีบี
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษา
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาแฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษา
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษา
 
แฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDoc
แฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDocแฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDoc
แฟ้มสะสมผลงานเสร็จแล้วจ้าDoc
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 

Más de peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Más de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 
3.4.pdf
3.4.pdf3.4.pdf
3.4.pdf
 

portfolio 66.2.pdf

  • 1. แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖5 เทอม 2 นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ตาแหน่ง ครู คศ ๒ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ราชบุรี
  • 2. คานา เอกสารรายงานการประเมินตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติของข้าพเจ้า ได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการ จัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติหน้าที่ฝ่าย/งาน ของข้าพเจ้า ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะและคุณภาพตามระดับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ ในระหว่าง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ทั้งนี้เพื่อเป็นการรายงานพร้อมประเมินผลการทางานของข้าพเจ้า ว่าได้ปฏิบัติหน้าที่บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมาตรฐานการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ รายงานดังกล่าวได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานการผลการประเมินตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลาดับ ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนในสังคมได้ทราบผล การปฏิบัติงานและคุณลักษณะของนักเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ ลงชื่อ 7 มีนาคม 2566
  • 3. สารบัญ เนื้อหา หน้า คานา สารบัญ ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้น ๑.๑ ข้อมูลส่วนตัว ตอนที่ ๒ การพัฒนาตนเองในรอบปีการศึกษา ๒๕๖5 ๒.๑ การประชุม อบรม สัมมนาหรือศึกษาดูงาน ๒.๒ การแสวงหาความรู้หรือพัฒนาตนเองโดยวิธีการหรือรูปแบบอื่นๆ ตอนที่ ๓ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ๓.๑ ภารกิจด้านการจัดการเรียนรู้ ๓.๒ ภารกิจตามโครงสร้างการบริหารงาน ๓.๓ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่รับผิดชอบ ๓.๔ ภารกิจอื่นที่ได้รับมอบหมายจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ ตอนที่ ๔ ผลการดาเนินงาน ๔๑ เกียรติประวัติและผลงานที่ดีเด่นในรอบปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖6 ๔.๒ ผลการจัดการเรียนรู้ ๔.๓ ผลการดาเนินงานตามโครงสร้างการบริหารงาน ๔.๔ ผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๔.๕ ผลการดาเนินงานตามภารกิจอื่นๆที่ได้รับหมายจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ ตอนที่ ๕ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสบผลสาเร็จและเป็นแบบอย่างที่ดีได้ ตอนที่ ๖ ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ตอนที่ ๗ แนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๗.๑ ปัญหา/ความต้องการที่เร่งด่วนที่ต้องเร่งปรับปรุง พัฒนา ๗.๒ โครงการ/กิจกรรมที่กาหนดเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา ภาคผนวก
  • 4. ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ตาแหน่ง คศ ๒ สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เกิดวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๐๖ E mail: peterdontoom@hotmail.com /peterart.dt@gmail.com / peterdontoomart@hotmail.com ที่อยู่ ๑๘๓/๑๐ หมู่ ๑๑ ตาบลปากแรต อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี การศึกษา วุฒิทางการศึกษา ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอก ศิลปศึกษา วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๒๘ ปี ที่บรรจุแต่งตั้ง ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ อายุราชการ ๓6 ปี ประสบการณ์ด้านการสอน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ศิลปศึกษาจานวน ๓6 ปี ความชานาญพิเศษ ออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟฟิก เว็บไซต์ www.peterfineart.com ตาแหน่งเลขที่ ๑๐๗๗๓๗ เลขที่ ๑๘๔๐ คาสั่ง ๑๔ ต.ค.๒๕๒๙ เลขประจาตัวเสียภาษี ๑๖๒๐๕๙๒๑๔๒ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ วิชาเอก/โท ปีที่สาเร็จการศึกษา ชื่อสถานศึกษา ประถมศึกษา ๒๕๑๓-๒๕๑๙ โรงเรียนวัดปลักแรด มัธยมศึกษาตอนต้น ๒๕๒๐-๒๕๒๓ โรงเรียนรัตนราษฎร์บารุง มัธยมศึกษาตอนปลาย ๒๕๒๓-๒๕๒๕ โรงเรียนรัตนราษฎร์บารุง ปริญญาตรี วิชาเอกศิลปศึกษา ๒๕๒๘ วิทยาลัยครูนครปฐม
  • 5. ประวัติการรับราชการ วัน/เดือน/ปี ตาแหน่ง/วิทยฐานะ ขั้น (บาท) ๒๓ ก.ย. ๒๕๒๙ ครู ปกศสูง ๒,๔๗๖ บาท ก.ย. ๒๕๓๓ ครู คบ. ๔,๒๔๐ บาท ปัจจุบัน ๒๕๖๕ คศ ๒ ๕8,10๐ บาท ๒.๑ การพัฒนาตนเอง (การอบรม/ สัมมนา / ประชุม / ศึกษาดูงาน ) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖5
  • 6.
  • 7. ๒.๒ การแสวงหาความรู้หรือพัฒนาตนเองโดยวิธีการหรือรูปแบบอื่นๆ ครั้งที่ รายการ เรื่อง/ระดับ/ชั้น เอกสารหรือ ผลงาน ที่จัดทา/รวบรวม การนาไปพัฒนางาน ผลิตสื่อการสอนม.ต้นและ ม.ปลาย มัธยม www.peterfineart. com คศ ๓ ผลิตป้ายโฆษณาด้วย โปรแกรมกราฟฟิก ทุกระดับชั้น ป้ายบอร์ดสื่อการ สอนต่างๆ www.peterfineart. com ในโรงเรียนและชุมชน
  • 8. ตอนที่ ๓ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ๓.๑ ภารกิจด้านการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ชั้น รหัสวิชา รายวิชา จานวนชั่วโมง/ สัปดาห์ จานวนนักเรียน(คน ม.1 ศ๒1๑๐๑ ทัศนศิลป์ 4 77 ม.3 ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ 4 60 ม.4 ศ๓๑๑๐2 ทัศนศิลป์ 3 104 ม.3 ศ๒๓๑๐3 นาฏศิลป์ 2 60 ม.5 ศ32102 นาฏศิลป์ 3 84 ม.3 PLC 2 31 ม.ต้น ชุมนุมทัศนศิลป์ 1 31
  • 9. ๓.๑ ภารกิจตามโครงสร้างการบริหารงาน ที่ ฝ่าย/งาน งานที่ได้รับมอบหมาย หมายเหตุ 1 ฝ่ายอาคารสถานที่ ดูแลอาคารสถานที่ใน โรงเรียนทั้งหมด 2 ฝ่ายกิจการนักเรียน ครูที่ปรึกษา ม.3/๔ 3. กรรมการทูบีนัมเบอร์วัน โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ที่ ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หมายเหตุ 1 โครงการเผยแผ่วิชาความรู้ที่หลากหลายลงในเว็บไซต์ www.peterfineart.com 2 รองอาคารสถานที่ดูแลเรื่องภูมิทัศน์ของโรงเรียน ๓.๒ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่รับผิดชอบ
  • 10. ๔.๑ ผลงานเด่น & รางวัลเกียรติยศที่ได้รับ ที่ วัน/เดือน/ปี ผลงาน /รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบ 1 ๑๖ ม.ค.๖6 ครูผู้สอนดีเด่น (ปี ๖5) สนง. สพม.๘ 2 ๒๕ ต.ค. ๖๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลระดับ เหรียญเงิน ภาพวาดเส้น ต้น สพม.๘ 3 ๒๕ ต.ค. ๖๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลระดับ เหรียญเงินภาพวาดเส้นปลาย สพม.๘ 4 ๒๕ ต.ค. ๖๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลระดับ เหรียญทองแดง ภาพวาดสีเอก รงค์ สพม.๘
  • 11. ๔.๒.๑ สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ลาดับ รหัส/ รายวิชา จานวน ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ห้อง รวม ชั่วโมง จานวน นักเรียน ( คน ) ร้อยละ นักเรียนที่ ได้ ผลการเรียน ระดับ ๓ ขึ้น ไป ผลการเรียนเฉลี่ย 1 ทัศนศิลป์ ศ๒1๑๐๑ 4 2 4 77 48 84.5 2 ทัศนศิลป์ ศ๒๓๑๐๑ 4 2 4 60 48 80.0 3 ทัศนศิลป์ ศ๓๑๑๐2 3 3 3 104 92 88.5 4 นาฏศิลป์ ม.๓ 2 2 2 60 48 80.0 5 ลูกเสือม.2 1 1 1 32 32 100 6 นาฏศิลป์ ศ32102 3 3 3 84 76 90.5 7 ชุมนุม/P LC 1 2 2 25 25 100
  • 13. สรุปผลการประเมินผลการเรียนทุกระดับชั้น ม.ต้นและ ม.ปลาย ๑. นักเรียนที่เรียนวิชาทัศนศิลป์ และวิชานาฏศิลป์ในระดับ ม.ต้น 1-๓ มีผล การเรียนอยู่ในระดับดีมาก 85.2 % ในระดับดี ๘.2% ในระดับพอใช้ ๐.5 % ในระดับ ไม่ผ่าน ๐ % ติด ร (เนื่องจากไม่ตัวนักเรียน) ๒. นักเรียนที่เรียนวิชาทัศนศิลป์ ม.ปลาย มีผลการเรียนอยู่ในระดับดีมากเกรด ๔ ได้ 92.1 % ในระดับดี 13.1 % ในระดับพอใช้ 3.3% ในระดับไม่ผ่าน ๐ % ติด ร (เนื่องจากไม่ตัวนักเรียน) *** ชี้ให้เห็นว่าการเรียนวิชาทัศนศิลป์ประสบผลความสาเร็จในการวัดและประเมินผล โดยยึดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มี ๕ ประการ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
  • 15. 4.3 ผลการดาเนินงานตามโครงสร้างการบริหารงาน ที่ งานที่ได้รับมอบหมาย ภาระงาน ผลการดาเนินงาน ครูที่ปรึกษา ม.3/4 ♦ ทุกวันในตอนเช้า สารวจรายชื่อ ดูแลในเรื่องระเบียบวินัย ความ ประพฤติ เครื่องแต่งกาย เช็คชื่อใช้ โปรแกรม Line การเรียนและติดตาม เรื่องราวต่าง ๆ โดยใช้โปรแกรมไลน์ ในส่งข้อมูลให้กับผู้ปกครองนักเรียน ทราบ ควบคุมดูแลนักเรียนให้อยู่ใน ความเรียบร้อยในช่วงเข้าแถว และ ทาพิธีการหน้าลานอเนกประสงค์เวลา เช้าทุกวัน ♦ กากับติดตามด้านความรับผิดชอบ ของนักเรียนในการรักษาความสะอาด ของห้องเรียนที่ได้รับมอบหมาย และ การรักษาสาธารณสมบัติของโรงเรียน ♦ เข้าอบรมนักเรียนตอนเช้า ( Home Room ) และบันทึกผลการ Home Roomส่งข้อมูลให้กับ ฝ่ายวิชาการทาง ไลน์ จากการดาเนินงานในฐานะครูที่ ปรึกษาส่งผลให้นักเรียนชั้น ม. 3/๔ เป็นนักเรียนที่มีความประพฤติดี กล้า พูดกล้าแสดงออก พูดได้ถูกต้องตาม กาลเทศะ มีกิริยามารยาทที่ดี เคารพ ผู้ใหญ่ ครูบาอาจารย์ ช่วยเหลือ งานโรงเรียนได้ดี ผู้สอนจัดการเรียน การสอนเป็นแบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมี ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน การปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ระดม สมอง การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น เป็นต้น
  • 16. ๔.๔ ผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์-เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน การสอนแบบ Active Learning โดย ผู้สอนใช้โปรแกรมไลน์ในการส่งงาน และข้อสอบ ส่วนชิ้นงานปฏิบ้ติ ใช้ โปรแกรมไอบิสเพ้นท์ เพื่อให้น.ร.ได้มีโอกาสเรียน ทันเทคโนโลยี (ในกรณีขาด เรียน)สามารถส่งงานทาง ไลน์ตลอดเวลา ประสบผลความสาเร็จ 95% การปฏิบัติงาน
  • 17. ♦ ทาหน้าที่รองอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ห้องเรียน และอาคารสถานที่ทุกอย่างใน โรงเรียน ♦ ช่วยเหลือนักเรียนที่มีความเดือดร้อนเรื่องการเงิน โดยการขอรับการสนับสนุน ทุนการศึกษา ♦ จัดทาภูมิทัศนลานอเนกประสงค์ ห้องเรียน ห้องน้า ♦ ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อแก้ไขปัญหานักเรียน ที่เรียนช้าส่ง ข้อมูลทางไลน์
  • 18. ๔.๕ ผลการดาเนินงานตามภารกิจอื่นๆที่ได้รับหมายจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ ที่ งาน/กิจกรรม ผลการดาเนินงาน *จัดทาฝ่ายอาคารสถานที่ ด้านเวที งานวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมล ลักษณ พระบรมราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชร สุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรม หาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว วันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ *จัดโต๊ะ เก้าอี้ในการประชุมในองค์กรครู และองค์กร จากหน่วยงานอื่นที่ขอมายืมสถานที่ประชุม
  • 19. ตอนที่ ๕ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสบผลสาเร็จและเป็นแบบอย่างที่ดีได้ ชื่อ การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก รูปแบบ/วิธีการในการจัดการเรียนรู้ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ รายวิชา เพิ่มเติม ระดับชั้น ม.4 เนื้อหา การใช้โปรแกรม Corel Draw สภาพปัญหาเดิม การจัดเรียนรู้ที่เขียนภาพการออกแบบ ด้วยกระดาษเป็นการสิ้นเปลือง และไม่ทันยุคสมัย ที่ใน สังคมปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์มาออกแบบกราฟิก ด้วยโปรแกรม Corel Draw x๔ จะทาให้นักเรียนสามารถทางานไม่ต้องใช้กระดาษมากในกรณีที่ผิดพลาดก็ใช้คอมพิวเตอร์ลบ หรือทาขึ้นมาใหม่ได้ ข้าพเจ้า ได้เล็งเห็นความสาคัญของประเด็นนี้ จึงได้ทาการสอนในรายวิชาเพิ่มเติม ม.4 ที่เน้นให้ นักเรียนได้ปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Corel Draw x๔ โดยใช้ เทคนิคการกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสาคัญของการประกอบอาชีพในอนาคต คิดในสิ่งที่นอกเหนือจากความรู้ ที่ได้รับจากครู แล้วลงมือค้นหาคาตอบในสิ่งที่นักเรียนอยากรู้ อย่างมีระบบ ย่อมทาให้เกิดสิ่งมหัศจรรย์จาก คาถามนั้นๆ ฉันจึงได้นาขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ด้วยการปฎิบัติจริง โดยใช้การทางานแบบ Passakit Model มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้แนวคิด/ทฤษฎี การสอนแบบโครงงานนั้นมีหลักการและเป้าหมายที่สาคัญคือมุ่งให้นักเรียนเป็นผู้ออกแบบพัฒนาและปฏิบัติภารกิจ หรือภาระงานของตนอย่างเป็นกระบวนการที่มีความต่อเนื่องกัน ซึ่งหลักการดังกล่าวนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานทฤษฎี การบริหารงานแบบ (Passakit Model) ซึ่งพัฒนามาจากแนวคิดที่มุ่งให้นักเรียนสร้างความรู้ใหม่ขึ้นเองอย่าง กระตือรือร้นแทนการรับฟังและซึมซับความรู้จากครูผู้สอนเพียงอย่างเดียว
  • 20. โครงงานคอมพิวเตอร์กราฟิก เป็นการส่งเสริมความสามารถของนักเรียน ฝึกมีทักษะ กระบวนการทางานและทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ มีทักษะการใช้ เครื่องมือในโปรแกรม Corel Draw และเจตคติที่ดีต่อการใช้คอมพิวเตอร์ โดยคานึงถึง หลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง นักเรียนสาคัญที่สุด ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจาก youtube คิดเอง ทาเอง แก้ปัญหาได้เอง โดยครูเป็นเพียงผู้อานวยความสะดวก เตรียมแหล่ง เรียนรู้จากเอกสารและเว็บไซต์ www.peterfineart.com คอยให้คาปรึกษา ไม่ปิดกั้น แนวความคิดของนักเรียน เปิดโอกาสให้ศึกษาในทุกเรื่อง ไม่ว่าจะยากหรือง่าย แม้แต่ เรื่องที่มีผู้อื่นเคยทามาแล้ว หากนักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าลงมือปฏิบัติด้วยตนเองอย่าง มุ่งมั่นก็สามารถประสบผลสาเร็จได้เช่นกันและที่สาคัญนักเรียนได้มีโอกาสนาเสนอ ผลงานได้หลากหลายวิธีตามความถนัดของตนเอง เช่น การปฎิบัติจริง พร้อมทั้งได้ พัฒนาบุคลิกภาพ จนเกิดความเชื่อมั่น และกล้าแสดงออก มีทักษะทางสังคม ตามวิถี ประชาธิปไตย ซึ่งปฏิบัติทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน ซึ่งมีขั้นตอนในการ จัดการเรียนรู้แบบ (Passakit Model) คือ
  • 21.
  • 22. ผลที่เกิดขึ้น จากการใช้แผนงานการบริหาร(Passakit Model) มีผลการปฏิบัติงานเป็ยระเบียบแบบแผน ทางานร่วมกันเป็นทีม รู้จักคิดเป็น แก้ปัญหาเป็นนักเรียนสามารถสื่อสาร และมีความคิดนอกกรอบ มีทักษะ กระบวนความคิดใหม่ๆในการสร้างงานในชีวิตประจาวัน ได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นการฝึกให้นักเรียนทางานอย่างมีระบบมีขั้นตอน คิดเป็น รู้จักใช้เครื่องมือในการสร้างออกแบบในเชิงพาณิชย์ศิลป์ได้ในระดับ หนึ่ง ขยายผลถึงขั้นการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ส่งผลต่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนเองและชุมชน นักเรียนได้ต่อยอดการเรียนรู้สู่การ เป็นอาชีพ
  • 23. ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน อารมย์ อินทรประเสริฐ: รายงานการมัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบกาฟิกด้วยโปรแกรม Corel Draw x๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ราชบุรี บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x๔ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน(๘๐/๘๐) ๒) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียน โดยใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x๔ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ๓) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การ ออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x๔ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเพื่อหาประสิทธิภาพของ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา ๒๕๖5 จานวน ๔๒ คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและศึกษาความ พึงพอใจเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดดอนตูมอาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 จานวน ๔2 คน ได้มาด้วย วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการ ออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x4 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบ ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบหาค่าที (t-test)
  • 24. ผลการวิจัยพบว่า ๑. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรม CorelDraw x4 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ ๘๕.๒๖/๘๑.๒๓ ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง พื้นฐานการออกแบบโดยใช้โปรแกรม CorelDraw x4 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๓. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การออกแบบโดยใช้โปรแกรมCorelDraw x4 สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับ มาก ( X = ๔.๔๐) ผลการศึกษาพบว่า ชุดการสอนมัลติมีเดีย การใช้โปรแกรม Corel Draw x๔ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ ๘๑.๓๒/๘๑.๑๔ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนมัลติมีเดียด้วยโปรแกรม Corel Draw x๔ เรื่อง การออกแบบกราฟิก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และกลุ่มเป้าหมายมีความพึง พอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอนอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ลงชื่อ ( นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ) ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ผู้รายงาน บันทึกความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจรายงาน ลงชื่อ ผู้ตรวจรายงาน (นายพรรษกฤช เกตุรัตน์ ) ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม