SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 1 / 8
                     เพราะสาเหตุใดผูเรียนออนไลนถึงหยุดเรียนกลางครัน ?

                                                           บทความโดย Karen Frankola
                                                     ถอดความโดย อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี

กรณีศึกษาจากบริษัท GE Capital ที่ใชการปฐมนิเทศพนักงานดวยบทเรียนอีเลิรนนิงนั้น
ถึงแมวาจะเปนวิธีการที่ชวยฝกอบรมพนักงานไดรวดเร็ว ประหยัดงบประมาณ แตปญหา
สําคัญคือมีผูเรียนเพียงครึ่งเดียวที่เรียนจนจบ

กรณีขางตนไมใชเรื่องแปลกใหม เปนที่ทราบกันดีวาการจัดการเรียนการสอน หรือการ
ฝกอบรมดวยอีเลิรนนิงมีผูเรียนเลิกเรียนกลางครันสูง ถึงแมวาไมมีการสํารวจเปน
ทางการแตจากรายงานของ Chronicle for Higher Education พบวา อัตราที่ผูเรียนใน
ระบบการศึกษาทางไกลเลิกเรียนกลางครัน (Drop out rate) สูงกวาผูเรียนในระบบชั้น
เรียนประมาณรอยละ 10 ถึง 20

ในป 1999, IHEP (Institute for Higher Education Policy) ไดทําการประมวลงานวิจัย
ดานการจัดการเรียนการสอนทางไกลและไดขอมูลเชนเดียวกัน แตในรายงานฉบับ
ดังกลาวไมไดมีขอสรุปถึงสาเหตุของการเลิกเรียนกลางครันของผูเรียน

ผูเชี่ยวชาญดานอีเลิรนนิง ไดพยายามหาสาเหตุของปญหา บริษัทวิจัย Corporate
University Xchange ไดทําการสํารวจผูเรียนอีเลิรนนิง ทั้งที่เรียนแบบไมประสานเวลา
(Asynchronous คือ ผูเรียน ผูสอนสื่อสารผานเว็บบอรดโดยไมตองนัดเวลาใหตรงกัน)
และผูเรียนที่เรียนแบบประสานเวลา (Synchronous) เชน การ Chat การเรียนผานระบบ
วิดีโอคอนเฟอรเรนซ ถึงสิ่งที่ผูเรียนคาดหวังจะไดจากการเรียนคือ วุฒิทางการศึกษา
(ปริญญา หรือ ประกาศนียบัตร) สิ่งที่คาดหวังระหวางการเรียน คือ การไดสื่อสารกับ
ผูสนับสนุนการเรียนผานเว็บอยางสะดวก มีผูตอบคําถาม ชวยแกปญหาทางเทคนิค
ตลอดเวลา (24 ชม. x7 วัน) และความคลองตัวในการเรียนในเวลาที่สะดวก



    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 2 / 8
เหตุผลของการเลิกเรียนกลางครัน
1. ผูเรียนไมมีเวลา
2. ผูเรียนไมสามารถบริหารจัดการตัวเองได
3. ผูเรียนขาดแรงจูงใจในการเรียน
4. ผูเรียนไมสามารถใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีได
5. ขาดการสนับสนุนผูเรียน
6. ความแตกตางของผูเรียนรายบุคคล
7. คอรสแวรที่ใชในการเรียนไดรับการออกแบบมาไมดี
8. ผูสอนไมมีความรู หรือขาดประสบการณ

ผูเรียนที่ทํางานในองคกร ไดระบุถึงสาเหตุหลักที่ทําใหเลิกเรียนกลางครัน คือ ไมมีเวลา
ถูกรบกวนจากเพื่อนรวมงานโดยเฉพาะในกรณีที่ไมสามารถเรียนจากที่บานได (ตอง
เรียนจากระบบเครือขายของที่ทํางานเทานั้น)

การใหสิทธิเสมอภาคอาจจะไมเกิดผลดี
Elliot Masie ผูเชี่ยวชาญดานอีเลิรนนิง เชื่อวาสาเหตุใหญที่ผูเรียนอีเลิรนนิงในองคกรเลิก
เรียนกลางครัน คือ ปญหาในการบริหารจัดการ (ใหทุกคนไดเรียนโดยไมตองมีการขอ       
อนุมัติกอน) โดยปกติการสงพนักงานไปเรียนในชันเรียนจะตองขออนุมัติผูจัดการกอน
                                                     ้
แตการเรียนในระบบอีเลิรนนิงตางๆ ทุกคนไดรับสิทธิในการเรียนโดยไมตองขออนุมัติ     
ผูจัดการ ซึ่งนั่นอาจจะเปนปญหาทําใหผูเรียนไมไดมีความตั้งใจในการเรียนที่จริงจัง

บริษัท GE Capital ไดทําการวิจัย Six Sigma Study (การวิเคราะหทางสถิติที่เกี่ยวของกับ
การควบคุมคุณภาพ) เพื่อหาความแตกตางของปจจัยในผูเรียนที่เรียนจนจบกับผูเรียนที่
เลิกเรียนกลางครัน

Mike Markovits ผูจัดการศูนยฝกอบรมและศูนยเพื่อความเปนเลิศขององคกร ไดสรุปวา
"ปญหาไมไดอยูที่เทคโนโลยีหรือคุณภาพในการออกแบบการเรียนการสอน แตอยูที่



    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 3 / 8
ผูเรียนไดแรงจูงใจมากนอยเพียงใดจากผูบริหาร" ผลการวิจัยยังไดขอสรุปวา หาก
ผูบริหารใหกําลังใจเมื่อผูเรียนเขาเรียนสม่ําเสมอ และติดตามผลการเรียนใกลชิด

ผลการวิจัยชวยให GE Capital ปรับรูปแบบอีเลิรนนิงในองคกร โดยเนนการสรางความ
เขาใจแกผูบริหารถึงความสําคัญแลประโยชนของการเรียนอีเลิรนนิง ใหความรูในการ
ติดตาม ดูแลการฝกอบรมพนักงานดวยอีเลิรนนิง

แรงจูงใจในการเรียน (แรงจูงใจภายในของผูเรียน)
ผูเรียนอีเลิรนนิงในองคกรที่มีเปาหมายใหไดปริญญา หรือ ประกาศนียบัตร เพื่อโอกาส
ในการทํางานที่ดีกวาจะมีความแตกตางจากผูเรียนที่เรียนเพียงเพราะวามีอีเลิรนนิงให
เรียน (เรียนเพราะมี) สถานการณอีเลิรนนิงในองคกรก็ไมตางจากอีเลิรนนิงในภาค
การศึกษา คือ ผูเรียนเลิกเรียนกลางครันจํานวนมาก สาเหตุหลักๆอยูในหัวขอเหตุผลของ
การเลิกเรียนกลางครัน (ดูในกรอบหนา 2)

ผูจัดการศึกษาอีเลิรนนิงไดศึกษาและหาทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้นได ตัวอยางเชน ที่ Penn
State World Campus พบวาอัตราการเรียนจนประสบความสําเร็จในฤดูใบไมรวงป 2000
คือ รอยละ 95 สูงกวา ฤดูใบไมผลิป 1998 (รอยละ 80) โดย McGrath ใหเหตุผลของ
อัตราการเรียนจบที่สูงวาเพราะผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนที่สูง ผูเรียนสวนใหญเรียน
เพื่อใหไดปริญญา/ประกาศนียบัตร เพื่อโอกาสในการทํางานที่ดีขึ้น สวนนอยเทานั้นที่
เรียนเพื่อพัฒนาความรูตัวเอง สวนทุนในการเรียนสวนใหญผูเรียน เรียนดวยเงินสวนตัว
ถึงแมวาหลายบริษัทยินดีใหทุนในกาเรียนความคาดหวังที่เปนจริง

McGrath ใหขอมูลเพิ่มวา การเพิ่มขึ้นของผูเรียนที่เรียนจบ ตองใชหลายวิธีการรวมกัน
เชน การทําความเขาใจกับผูเรียนใหชัดเจนเพื่อใหผูเรียนมีความคาดหวังตามจริง การ
ออกแบบคอรสที่ดี มีการฝกอบรมผูสอนที่ดี ผูสอนมีประสบการณ เปนตน ที่ผานมา Pen
State เคยประชาสัมพันธวาการเรียนอีเลิรนนิงเพื่อใหไดปริญญาแค "คลิกผานเทานั้น"
ซึ่งเปนการใหความคาดหวังผูเรียนที่เกินจริง ผูเรียนไมไดเตรียมที่จะตองเรียนหนักกวา



    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 4 / 8
การเรียนในชั้นเรียนปกติ ซึ่งตองใชเวลา 10 ถึง 12 ชั่วโมงตอสัปดาห และจะตองเตรียม
ตัวกอนการเรียน

McGrath ไดเสริมวา ปฏิสัมพันธที่สูงระหวางผูเรียนกับผูสอน และระหวางผูเรียนดวย
กันเองเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลตอผูเรียน การที่ผูสอนดูแลผูเรียนและคอยสงอีเมลลเตือน
ผูเรียนที่ไมไดเขารวมการเรียน กิจกรรมการเรียน การสื่อสารผานชองทางตางๆเชน
อีเมล หรือ กระดานขาวอยางสม่ําเสมอจะชวยสงเสริมใหผูเรียนเรียนจนสําเร็จ "ผูสอน
คือปจจัยสําคัญสูความสําเร็จของ World Campus"

มหาวิทยาลัย UCLA ก็เชนเดียวกันมีความภาคภูมิใจในปจจัยสูความสําเร็จของการเรียน
การสอนอีเลิรนนิง ดวยอัตราความสําเร็จ รอยละ 89 เมื่อเทียบกับรอยละ 50 ถึง 60 ในป
1996 UCLA ใชการเรียนการสอนอีเลิรนนิงแบบไมประสานเวลา (Asynchronous) และ
ผูเรียนตองมีเวลาเรียนสัปดาหละ 10 ถึง 12 ชั่วโมง เหมือน Penn State ผูเรียนเรียนดวย
เงินสวนตัวและดวยทุนของหนวยงานตนสังกัด

UCLA เนนปฏิสัมพันธที่สูงระหวางผูเรียนกับผูสอน Kathy Mcguire กลาววาสิ่งสําคัญที่
จะเพิ่มอัตราการเรียนจนสําเร็จ คือ บริการดูแลเฝาติดตามอยางใกลชิด ผูจัดการรายวิชาที่
ทําหนาที่เปนผูตอบคําถามผูเรียน ตองดูแลเฝาระวังการเขาเรียนของผูเรียน และคอย
เตือนหากผูเรียนไมไดเขาเรียนผูจัดการรายวิชาจะตอบคําถามทางเทคนิคดวยตนเอง และ
จะสงตอคําถามวิชาการแกอาจารยผูสอน ถาเปนคําถามเกี่ยวกับผูสอนจะสงตอใหกับ
ผูบริหารหลักสูตร Mcguide กลาววาหากทําใหการสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอนเกิด
ขึ้นโดยเสมือนไมไดมีเทคโนโลยีเปนตัวกลางจะชวยใหการเรียนการสอน
อีเลิรนนิงเปนสภาพแวดลอมที่ดี

UCLA มีการฝกอบรมอาจารยอยางเขมขน หลักสูตรการเปนผูสอนอีเลิรนนิงระยะเวลา
อบรม 5 ถึง 6 สัปดาห โดยใหผูสอนเขาเรียนแบบอีเลิรนนิง ภายใตแนวคิดที่วา "ผูสอน
จะสอนไดดีหากไดเปนผูเรียนมากอน" ในการเรียนการสอนจริงมีผูจัดการรายวิชา



    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 5 / 8
McGuide ระบุวาผูสอนจะเขาสูระบบ 5 ถึง 7 ครั้งตอสัปดาห หลายครั้งตอวัน เพื่อตอบ
คําถามการเรียนการสอน "ผูเรียนไมสามารถหลับอยูหลังหองเรียนอีเลิรนนิงได"

Sun Microsystem ศึกษาพบวา พนักงานบริษัทที่เรียนอีเลิรนนิงดวยตนเองประสบ
ความสําเร็จมีรอยละ 25 แตประสบความสําเร็จถึงรอยละ 75 เมื่อมีการเรียนรวมกับการ
ทํากิจกรรม มีการสื่อสารกับผูสอนผานอีเมลล โทรศัพทและกระดานขาว

ที่ NYUOnline ก็ใหความสนใจอยางมากตอปญหาการเลิกเรียนกลางครันของผูเรียน
NYUOnline เปนมหาวิทยาลัยที่ใหความสําคัญกับการจัดการสอนอีเลิรนนิงเพื่อเปน
ธุรกิจ NYUOnline ไดทําโครงการนํารองกับผูเรียนที่เปนพนักงานองคกร ในโครงการ
นํารอง ผูเรียนจะไดเรียนอีเลิรนนิงโดยไมมีการใหผลประโยชนตอบแทนใดๆ ผูเรียน
บางคนในกลุม เรียนในระบบไมประสานเวลา (Asynchronous) ดวยตนเอง (หลักสูตร 9
ชั่วโมง) ขณะที่ผูเรียนบางคนไดเรียนในแบบประสานเวลา (Synchronous) คือใชการ
เรียนแบบสื่อสารในเวลาเดียวกัน (เชน Chat) เพิ่มเติมจากการเรียนแบบไมประสานเวลา
ดวยตนเองพลังอํานาจของการสื่อสารแบบประสานเวลา (สื่อสารในเวลาเดียวกัน) จาก
การศึกษาของ NYUOnline พบวา ผูเรียนอีเลิรนนิงที่เรียนแบบไมประสานเวลาอยาง
เดียวจะมีอัตราการจบที่นอยกวาผูเรียนอีเลิรนนิงที่ไดมีปฏิสัมพันธแบบประสานเวลา
รวมดวย (เชน Chat) พบวา สองในสามของผูเรียนที่นําประเด็น เนื้อหาความรูในชั้นเรียน
(High Integration) มาพูดคุยในการสื่อสารประสานเวลา จะเรียนจนจบวิชาในอัตราที่สูง
กวาผูเรียนที่พูดคุยเรื่องทั่วไป (Low Integration)

NYUOnline พบวากวาครึ่งของผูเรียนอีเลิรนนิงที่เขารวมในการพูดคุยความรู เนื้อหาใน
ชั้นเรียน (High Integration) มีแรงจูงใจดวยตนเองที่จะเขารวมทําขอสอบเพื่อใหไดเกรด
ในการเรียน (เปนทางเลือก ไมบังคับ) ขณะที่ผูเรียนที่พูดคุยดวยเรื่องทั่วไปเลือกเขาสอบ
เพียงรอยละ 10 หรือมากกวาเล็กนอย

David Hawthorne รองอธิการดานการจัดสภาพแวดลอมการเรียนการสอนของ
NYUOnline ตั้งสมมติฐานวา การไดมีโอกาสสื่อสารแบบประสานเวลาไมเพียงแตจะ

    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 6 / 8
ชวยใหผูเรียนเรียนจนจบ แตยังชวยใหผูเรียนเกิดความมั่นใจในความรูของตัวเอง และ
ตั้งใจ เต็มใจในการใชความรูในการแกปญหาสถานการณตางๆ "หากตองการใหผูเรียน
เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการเรียนรู (นําความรูไปใช) ผูสอนจะตองทํามากกวา
การถายทอดความรูให แตตองบมเพาะความมั่นใจใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียน เพื่อใหเขา
เหลานั้นมั่นใจที่จะนําความรูไปใช"

NYUOnline ไดทําโครงการนํารอง เพื่อสอบถามความคิดเห็นจากผูเรียน วาสิ่งที่จะชวย
ใหผูเรียนเรียนจนจบวิชาคืออะไร คําตอบสวนใหญคือ "การใหคําแนะนํา และขอมูล
ปอนกลับจากผูสอนเปนรายบุคคล” Hawthrone เสริมวา ความสัมพันธระหวางบุคคล
เปนปจจัยสําคัญที่จะเพิ่มอัตราการเรียนจนจบ เมื่อผูสอนชมผูเรียนวาไดเรียนรู หรือ ทํา
กิจกรรมการเรียนไดถูกตอง

ผลการวิจัยชวยให NYUOnline พัฒนารูปแบบ และระบบการเรียนการสอนที่ชวยให
ผูเรียนในองคกรเรียนอีเลิรนนิงตอเนื่องจนจบได ไดแก รายวิชาที่ไดรับการออกแบบ
อยางดี ผูสอนที่มีประสบการณและผูกพัน เขารวมการเรียนการสอนอยางจริงจัง ความ
พรอมในการสนับสนุนดานเทคนิค มีการเตรียมความพรอมของผูเรียนโดยการจัดการ
ปฐมนิเทศทางการเรียน ในบรรดาปจจัยเหลานี้สองปจจัยที่สําคัญที่สุด คือ ระดับ
ปฏิสัมพันธทางการเรียนที่สูงและการมีสวนรวมจากผูบริหารองคกร

ระดับและรูปแบบของปฏิสัมพันธที่ดีไมเพียงแตจะชวยเพิ่มการรับรูถึงการมีอยูของ
สังคมผูเรียนแลว ยังกระตุนใหผูเรียนผานกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
ฝกฝนทักษะ การผสมผสานการสอนแบบประสานเวลา และไมประสานเวลาแบบบูรณา
การ เปนมาตรฐานที่ดีเพื่อใหผูเรียนมีสวนรวมและมีแรงจูงใจ จากงานวิจัยของ
NYUOnline พบวาการจัดใหมีการสอนแบบประสานเวลา หนึ่งชม.ตอทุก 4 ชม.ของการ
เรียนดวยตนเองแบบเปนอัตราสวนการผสมผสานที่เหมาะสม




    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 7 / 8
ปจจัยทางสังคม
การเรียนการสอนออนไลน ผูเรียนอาจจะรูสึกเหงาและโดดเดี่ยว การเชื่อมโยงผูเรียนเขา
ดวยกันในขณะที่เรียนประสานเวลา นอกจากจะชวยใหผูเรียนเรียนรูเนื้อหาความรูใน
ระหวางการเรียนแบบประสานเวลา แตจะชวยใหผูเรียนผูกพันกับการเรียนในชวงของ
การเรียนดวยตนเอง ผูเรียนใหขอคิดเห็นวาถึงแมการนัดเรียนแบบประสานเวลา ตองนัด
หมายเวลาและไมสะดวกนักแตก็เปนกิจกรรมทีดีและคุมคาที่จะเขารวม
                                              ่

ผูเรียนสวนใหญของ NYUOnline ที่เรียนจบรายวิชาไดใหขอมูลเพิ่มเติมวา การเรียนใน
สวนประสานเวลาจะชวยใหเกิดความรูสึกที่ดีขึ้น Hawthrone ไดกลาวถึงมิตรภาพ
ระหวางผูเรียนกับผูสอนมีความสําคัญกับการเรียนอีเลิรนนิงมากกวาการเรียนในชั้นเรียน
Hawthrone ไดกลาวถึงวาการที่ผูสอนรูจักและจําชื่อผูเรียนไดสรางความพอใจแกผูเรียน
และมีความสําคัญสําหรับการเรียนอีเลิรนนิงมากกวาการเรียนในชั้นเรียนปกติ

ในกรณีที่ไมสามารถจัดการเรียนการสอนแบบประสานเวลารวมดวย อาจจะใชเครื่องมือ
ในการสอนแบบไมประสานเวลาสรางปฏิสัมพันธที่เทียบเคียงกับการสอนแบบประสาน
เวลา เชน ใชกระดานสนทนา อีเมลล ติวเตอร (Tutor) และผูสนับสนุนการเรียน
(Facilitators) จะชวยสรางปฏิสัมพันธซึ่งเทียบเคียงกับการพบกันแบบประสานเวลาได
และจะลดตนทุนในการดําเนินการไดดีกวาที่ใหผูสอนซึ่งตองใหคาตอบแทนสูงกวาเปน
ผูทํา ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันเองก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ชวยสงเสริมการเรียนการ
สอน ในหลักสูตรการเรียนบริหารธุรกิจแบบอีเลิรนนิง ทีมจะชวยสรางปฏิสัมพันธกับ
ผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคากวาใหผูสอนดําเนินการ

การสรางปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนอยางมีประสิทธิภาพ ผูสอนควรจะตองหา
วิธีการที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารกับผูเรียน (ที่ดีกวาการใชอีเมลล) เชน การสรางชุด
คําถาม คําตอบที่พบบอย หรือการใชระบบอีเมลลอัตโนมัติที่จะคอยเตือนผูเรียนวามี
คําตอบหรือกิจกรมการเรียนสําหรับผูเรียนรออยู มีตัวอยางวาผูสอนอีเลิรนนิงทานหนึ่ง
ใหขอมูลวาอัตราการเรียนจบของผูเรียนเพิ่มจากรอยละ 62 เปนรอยละ 90 เมื่อเขาเปลี่ยน



    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง”                                 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                                     หนา 8 / 8
โปรแกรมทีใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงที่มีเครื่องมือในการ Chat และ
           ่
จัดการอีเมลลที่มีประสิทธิภาพ

โปรแกรมจัดการเรียนรูที่ดีจะสามารถชวยใหผูสอนติดตามความกาวหนาของผูเรียน
                    
ตัวอยางเชนโปรแกรมชือ Archipelago มีเครื่องมือบันทึกสถิติของการเขาเรียนและ
                      ่
บันทึกระยะเวลาในการเขาเรียนของผูเรียน และระยะเวลาในการทํากิจกรรมการเรียน
ผูสอนและติวเตอรจะสามารถสังเกตเห็นผูเรียนที่เริ่มมีปญหา ซึ่งอาจจะนําไปสูการเลิก
เรียนกลางครันได และสามารถแกปญหาลวงหนาได

เทคนิคที่ทําไดงาย เชน การตอบคําถามทุกคําถามในกระดานสนทนา หรือ การขอให
ผูเรียนในชั้นเรียนรวมแสดงความคิดเห็นในคําถามเพื่อเพิ่มปฏิสัมพันธในชันเรียน
                                                                         ้
ผูสอนอาจจะจัดกิจกรรมเพื่อใหผูเรียนรูจักกันมากขึ้น เชน การแนะนําตัว การหาสิ่งที่
เหมือนระหวางผูเรียน เปนตน

แตในที่สุดแลวถึงแมในชั้นเรียนที่มปฏิสัมพันธสูง มีอาจารยที่เกง อาจจะไมประสบ
                                    ี
ความสําเร็จหากองคกรไมไดใหแรงจูงใจที่เหมาะสมและการดูแลจัดการที่ดี องคกรสวน
ใหญมักจะจัดเนื้อหาไวใหแลวก็เพียงแตเฝาดูและสงสัยวาทําไมผูเรียนมีปญหา เรียนไม
จบสักที หรือบางทีองคกรคิดวาการวางจางผูเชี่ยวชาญภายนอกเขามาชวยก็จะสําเร็จ
(โดยที่ผูบริหาร บุคลากรในองคกรไมตองทําอะไร) แตในที่สุดก็พบวาไมสําเร็จ
ผูบริหารตองใหความสําคัญ ดูแล และผลักดันเหมือนโครงการอื่นๆ จึงจะประสบ
ความสําเร็จ




    จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial RestructuringFinance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuringtltutortutor
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1guest48146f
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรักPradya Wongworakun
 
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยวิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยTouch Thanaboramat
 
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติบทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติTouch Thanaboramat
 
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1Touch Thanaboramat
 
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudyDisclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudySarinee Achavanuntakul
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติguestdf2abc6
 
Pptงานคอม
PptงานคอมPptงานคอม
Pptงานคอมguest5201e5
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
Finance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk ManagementFinance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk Managementtltutortutor
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 

La actualidad más candente (17)

Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial RestructuringFinance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
 
MBA- Entrepreneurship
MBA- EntrepreneurshipMBA- Entrepreneurship
MBA- Entrepreneurship
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรัก
 
NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยวิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
 
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติบทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
 
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
 
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudyDisclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
11 การทำงานแบบคนไทยในมุมมองชาวต่างชาติ
 
Pptงานคอม
PptงานคอมPptงานคอม
Pptงานคอม
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
Finance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk ManagementFinance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk Management
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 

Destacado

Ecologicalframework
EcologicalframeworkEcologicalframework
EcologicalframeworkKai Pata
 
Android
AndroidAndroid
Androidscottw
 
SL™ y el desarollo de destrezas médicas
SL™ y el desarollo de destrezas médicasSL™ y el desarollo de destrezas médicas
SL™ y el desarollo de destrezas médicasR B
 
New Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural Iceberg
New Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural IcebergNew Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural Iceberg
New Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural Iceberglodaya
 
DCID_brief
DCID_briefDCID_brief
DCID_brieflodaya
 
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sWhat are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sOllie Bray
 
OverDrive Media Console for Macs (June 2011)
OverDrive Media Console for Macs (June 2011)OverDrive Media Console for Macs (June 2011)
OverDrive Media Console for Macs (June 2011)bibliotecaria
 
NHAG presentation september 2012
NHAG presentation september 2012NHAG presentation september 2012
NHAG presentation september 2012bibliotecaria
 
MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007
MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007
MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007filmanetti
 
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sWhat are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sOllie Bray
 
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sWhat are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sOllie Bray
 
Okoloogilineveeb
OkoloogilineveebOkoloogilineveeb
OkoloogilineveebKai Pata
 
7 Future trends in Mobile Development - Webstock 2011
7 Future trends in Mobile Development - Webstock 20117 Future trends in Mobile Development - Webstock 2011
7 Future trends in Mobile Development - Webstock 2011alexbrie
 
2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'
2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'
2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'ValVannet
 
Life of a Wookie
Life of a WookieLife of a Wookie
Life of a Wookiescottw
 
Webambgooglesites
WebambgooglesitesWebambgooglesites
WebambgooglesitesCarme Barba
 

Destacado (20)

INSPIRE
INSPIREINSPIRE
INSPIRE
 
Ecologicalframework
EcologicalframeworkEcologicalframework
Ecologicalframework
 
Android
AndroidAndroid
Android
 
SL™ y el desarollo de destrezas médicas
SL™ y el desarollo de destrezas médicasSL™ y el desarollo de destrezas médicas
SL™ y el desarollo de destrezas médicas
 
New Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural Iceberg
New Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural IcebergNew Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural Iceberg
New Brief for Design—Manoeuvering the Behavioural Iceberg
 
DCID_brief
DCID_briefDCID_brief
DCID_brief
 
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sWhat are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
 
OverDrive Media Console for Macs (June 2011)
OverDrive Media Console for Macs (June 2011)OverDrive Media Console for Macs (June 2011)
OverDrive Media Console for Macs (June 2011)
 
NHAG presentation september 2012
NHAG presentation september 2012NHAG presentation september 2012
NHAG presentation september 2012
 
MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007
MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007
MyOwnShow.it - Progetto Crossmediale IED a IAB FORUM 2007
 
Oer16 tmc
Oer16 tmcOer16 tmc
Oer16 tmc
 
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sWhat are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
 
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010sWhat are we educating for? - digital education tools for 2010s
What are we educating for? - digital education tools for 2010s
 
Okoloogilineveeb
OkoloogilineveebOkoloogilineveeb
Okoloogilineveeb
 
7 Future trends in Mobile Development - Webstock 2011
7 Future trends in Mobile Development - Webstock 20117 Future trends in Mobile Development - Webstock 2011
7 Future trends in Mobile Development - Webstock 2011
 
2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'
2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'
2010 Biosphere or 'What's this got to do with the price of fish?'
 
The fablabs
The fablabsThe fablabs
The fablabs
 
Life of a Wookie
Life of a WookieLife of a Wookie
Life of a Wookie
 
Webambgooglesites
WebambgooglesitesWebambgooglesites
Webambgooglesites
 
IIpäev
IIpäevIIpäev
IIpäev
 

Más de phaisack

elearning3
elearning3elearning3
elearning3phaisack
 
elearning3
elearning3elearning3
elearning3phaisack
 
elearning4
elearning4elearning4
elearning4phaisack
 
elearning3
elearning3elearning3
elearning3phaisack
 
elearning2
elearning2elearning2
elearning2phaisack
 
elearning1
elearning1elearning1
elearning1phaisack
 
elearning_for_all
elearning_for_allelearning_for_all
elearning_for_allphaisack
 
Practical Technique for The Better Shots
Practical Technique for The Better ShotsPractical Technique for The Better Shots
Practical Technique for The Better Shotsphaisack
 
50 way to be a better photographer
50 way to be a better photographer50 way to be a better photographer
50 way to be a better photographerphaisack
 
Photographer basic
Photographer basicPhotographer basic
Photographer basicphaisack
 
Windows Sever 2003
Windows Sever 2003Windows Sever 2003
Windows Sever 2003phaisack
 
Network Computer
Network ComputerNetwork Computer
Network Computerphaisack
 
Windows XP
Windows XPWindows XP
Windows XPphaisack
 
ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5
ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5
ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5phaisack
 
Instructional system
Instructional systemInstructional system
Instructional systemphaisack
 
FirstWorld
FirstWorldFirstWorld
FirstWorldphaisack
 
Macromedia Dreamweaver
Macromedia DreamweaverMacromedia Dreamweaver
Macromedia Dreamweaverphaisack
 
Macromedia Dreamweaver
Macromedia Dreamweaver Macromedia Dreamweaver
Macromedia Dreamweaver phaisack
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learning
แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learningแนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learning
แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learningphaisack
 

Más de phaisack (20)

e4
e4e4
e4
 
elearning3
elearning3elearning3
elearning3
 
elearning3
elearning3elearning3
elearning3
 
elearning4
elearning4elearning4
elearning4
 
elearning3
elearning3elearning3
elearning3
 
elearning2
elearning2elearning2
elearning2
 
elearning1
elearning1elearning1
elearning1
 
elearning_for_all
elearning_for_allelearning_for_all
elearning_for_all
 
Practical Technique for The Better Shots
Practical Technique for The Better ShotsPractical Technique for The Better Shots
Practical Technique for The Better Shots
 
50 way to be a better photographer
50 way to be a better photographer50 way to be a better photographer
50 way to be a better photographer
 
Photographer basic
Photographer basicPhotographer basic
Photographer basic
 
Windows Sever 2003
Windows Sever 2003Windows Sever 2003
Windows Sever 2003
 
Network Computer
Network ComputerNetwork Computer
Network Computer
 
Windows XP
Windows XPWindows XP
Windows XP
 
ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5
ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5
ระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งแบบ T5
 
Instructional system
Instructional systemInstructional system
Instructional system
 
FirstWorld
FirstWorldFirstWorld
FirstWorld
 
Macromedia Dreamweaver
Macromedia DreamweaverMacromedia Dreamweaver
Macromedia Dreamweaver
 
Macromedia Dreamweaver
Macromedia Dreamweaver Macromedia Dreamweaver
Macromedia Dreamweaver
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learning
แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learningแนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learning
แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ e_learning
 

WHYONLINELEARNERDROPOUT

  • 1. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 1 / 8 เพราะสาเหตุใดผูเรียนออนไลนถึงหยุดเรียนกลางครัน ? บทความโดย Karen Frankola ถอดความโดย อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี กรณีศึกษาจากบริษัท GE Capital ที่ใชการปฐมนิเทศพนักงานดวยบทเรียนอีเลิรนนิงนั้น ถึงแมวาจะเปนวิธีการที่ชวยฝกอบรมพนักงานไดรวดเร็ว ประหยัดงบประมาณ แตปญหา สําคัญคือมีผูเรียนเพียงครึ่งเดียวที่เรียนจนจบ กรณีขางตนไมใชเรื่องแปลกใหม เปนที่ทราบกันดีวาการจัดการเรียนการสอน หรือการ ฝกอบรมดวยอีเลิรนนิงมีผูเรียนเลิกเรียนกลางครันสูง ถึงแมวาไมมีการสํารวจเปน ทางการแตจากรายงานของ Chronicle for Higher Education พบวา อัตราที่ผูเรียนใน ระบบการศึกษาทางไกลเลิกเรียนกลางครัน (Drop out rate) สูงกวาผูเรียนในระบบชั้น เรียนประมาณรอยละ 10 ถึง 20 ในป 1999, IHEP (Institute for Higher Education Policy) ไดทําการประมวลงานวิจัย ดานการจัดการเรียนการสอนทางไกลและไดขอมูลเชนเดียวกัน แตในรายงานฉบับ ดังกลาวไมไดมีขอสรุปถึงสาเหตุของการเลิกเรียนกลางครันของผูเรียน ผูเชี่ยวชาญดานอีเลิรนนิง ไดพยายามหาสาเหตุของปญหา บริษัทวิจัย Corporate University Xchange ไดทําการสํารวจผูเรียนอีเลิรนนิง ทั้งที่เรียนแบบไมประสานเวลา (Asynchronous คือ ผูเรียน ผูสอนสื่อสารผานเว็บบอรดโดยไมตองนัดเวลาใหตรงกัน) และผูเรียนที่เรียนแบบประสานเวลา (Synchronous) เชน การ Chat การเรียนผานระบบ วิดีโอคอนเฟอรเรนซ ถึงสิ่งที่ผูเรียนคาดหวังจะไดจากการเรียนคือ วุฒิทางการศึกษา (ปริญญา หรือ ประกาศนียบัตร) สิ่งที่คาดหวังระหวางการเรียน คือ การไดสื่อสารกับ ผูสนับสนุนการเรียนผานเว็บอยางสะดวก มีผูตอบคําถาม ชวยแกปญหาทางเทคนิค ตลอดเวลา (24 ชม. x7 วัน) และความคลองตัวในการเรียนในเวลาที่สะดวก จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 2. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 2 / 8 เหตุผลของการเลิกเรียนกลางครัน 1. ผูเรียนไมมีเวลา 2. ผูเรียนไมสามารถบริหารจัดการตัวเองได 3. ผูเรียนขาดแรงจูงใจในการเรียน 4. ผูเรียนไมสามารถใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีได 5. ขาดการสนับสนุนผูเรียน 6. ความแตกตางของผูเรียนรายบุคคล 7. คอรสแวรที่ใชในการเรียนไดรับการออกแบบมาไมดี 8. ผูสอนไมมีความรู หรือขาดประสบการณ ผูเรียนที่ทํางานในองคกร ไดระบุถึงสาเหตุหลักที่ทําใหเลิกเรียนกลางครัน คือ ไมมีเวลา ถูกรบกวนจากเพื่อนรวมงานโดยเฉพาะในกรณีที่ไมสามารถเรียนจากที่บานได (ตอง เรียนจากระบบเครือขายของที่ทํางานเทานั้น) การใหสิทธิเสมอภาคอาจจะไมเกิดผลดี Elliot Masie ผูเชี่ยวชาญดานอีเลิรนนิง เชื่อวาสาเหตุใหญที่ผูเรียนอีเลิรนนิงในองคกรเลิก เรียนกลางครัน คือ ปญหาในการบริหารจัดการ (ใหทุกคนไดเรียนโดยไมตองมีการขอ  อนุมัติกอน) โดยปกติการสงพนักงานไปเรียนในชันเรียนจะตองขออนุมัติผูจัดการกอน ้ แตการเรียนในระบบอีเลิรนนิงตางๆ ทุกคนไดรับสิทธิในการเรียนโดยไมตองขออนุมัติ  ผูจัดการ ซึ่งนั่นอาจจะเปนปญหาทําใหผูเรียนไมไดมีความตั้งใจในการเรียนที่จริงจัง บริษัท GE Capital ไดทําการวิจัย Six Sigma Study (การวิเคราะหทางสถิติที่เกี่ยวของกับ การควบคุมคุณภาพ) เพื่อหาความแตกตางของปจจัยในผูเรียนที่เรียนจนจบกับผูเรียนที่ เลิกเรียนกลางครัน Mike Markovits ผูจัดการศูนยฝกอบรมและศูนยเพื่อความเปนเลิศขององคกร ไดสรุปวา "ปญหาไมไดอยูที่เทคโนโลยีหรือคุณภาพในการออกแบบการเรียนการสอน แตอยูที่ จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 3. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 3 / 8 ผูเรียนไดแรงจูงใจมากนอยเพียงใดจากผูบริหาร" ผลการวิจัยยังไดขอสรุปวา หาก ผูบริหารใหกําลังใจเมื่อผูเรียนเขาเรียนสม่ําเสมอ และติดตามผลการเรียนใกลชิด ผลการวิจัยชวยให GE Capital ปรับรูปแบบอีเลิรนนิงในองคกร โดยเนนการสรางความ เขาใจแกผูบริหารถึงความสําคัญแลประโยชนของการเรียนอีเลิรนนิง ใหความรูในการ ติดตาม ดูแลการฝกอบรมพนักงานดวยอีเลิรนนิง แรงจูงใจในการเรียน (แรงจูงใจภายในของผูเรียน) ผูเรียนอีเลิรนนิงในองคกรที่มีเปาหมายใหไดปริญญา หรือ ประกาศนียบัตร เพื่อโอกาส ในการทํางานที่ดีกวาจะมีความแตกตางจากผูเรียนที่เรียนเพียงเพราะวามีอีเลิรนนิงให เรียน (เรียนเพราะมี) สถานการณอีเลิรนนิงในองคกรก็ไมตางจากอีเลิรนนิงในภาค การศึกษา คือ ผูเรียนเลิกเรียนกลางครันจํานวนมาก สาเหตุหลักๆอยูในหัวขอเหตุผลของ การเลิกเรียนกลางครัน (ดูในกรอบหนา 2) ผูจัดการศึกษาอีเลิรนนิงไดศึกษาและหาทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้นได ตัวอยางเชน ที่ Penn State World Campus พบวาอัตราการเรียนจนประสบความสําเร็จในฤดูใบไมรวงป 2000 คือ รอยละ 95 สูงกวา ฤดูใบไมผลิป 1998 (รอยละ 80) โดย McGrath ใหเหตุผลของ อัตราการเรียนจบที่สูงวาเพราะผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนที่สูง ผูเรียนสวนใหญเรียน เพื่อใหไดปริญญา/ประกาศนียบัตร เพื่อโอกาสในการทํางานที่ดีขึ้น สวนนอยเทานั้นที่ เรียนเพื่อพัฒนาความรูตัวเอง สวนทุนในการเรียนสวนใหญผูเรียน เรียนดวยเงินสวนตัว ถึงแมวาหลายบริษัทยินดีใหทุนในกาเรียนความคาดหวังที่เปนจริง McGrath ใหขอมูลเพิ่มวา การเพิ่มขึ้นของผูเรียนที่เรียนจบ ตองใชหลายวิธีการรวมกัน เชน การทําความเขาใจกับผูเรียนใหชัดเจนเพื่อใหผูเรียนมีความคาดหวังตามจริง การ ออกแบบคอรสที่ดี มีการฝกอบรมผูสอนที่ดี ผูสอนมีประสบการณ เปนตน ที่ผานมา Pen State เคยประชาสัมพันธวาการเรียนอีเลิรนนิงเพื่อใหไดปริญญาแค "คลิกผานเทานั้น" ซึ่งเปนการใหความคาดหวังผูเรียนที่เกินจริง ผูเรียนไมไดเตรียมที่จะตองเรียนหนักกวา จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 4. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 4 / 8 การเรียนในชั้นเรียนปกติ ซึ่งตองใชเวลา 10 ถึง 12 ชั่วโมงตอสัปดาห และจะตองเตรียม ตัวกอนการเรียน McGrath ไดเสริมวา ปฏิสัมพันธที่สูงระหวางผูเรียนกับผูสอน และระหวางผูเรียนดวย กันเองเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลตอผูเรียน การที่ผูสอนดูแลผูเรียนและคอยสงอีเมลลเตือน ผูเรียนที่ไมไดเขารวมการเรียน กิจกรรมการเรียน การสื่อสารผานชองทางตางๆเชน อีเมล หรือ กระดานขาวอยางสม่ําเสมอจะชวยสงเสริมใหผูเรียนเรียนจนสําเร็จ "ผูสอน คือปจจัยสําคัญสูความสําเร็จของ World Campus" มหาวิทยาลัย UCLA ก็เชนเดียวกันมีความภาคภูมิใจในปจจัยสูความสําเร็จของการเรียน การสอนอีเลิรนนิง ดวยอัตราความสําเร็จ รอยละ 89 เมื่อเทียบกับรอยละ 50 ถึง 60 ในป 1996 UCLA ใชการเรียนการสอนอีเลิรนนิงแบบไมประสานเวลา (Asynchronous) และ ผูเรียนตองมีเวลาเรียนสัปดาหละ 10 ถึง 12 ชั่วโมง เหมือน Penn State ผูเรียนเรียนดวย เงินสวนตัวและดวยทุนของหนวยงานตนสังกัด UCLA เนนปฏิสัมพันธที่สูงระหวางผูเรียนกับผูสอน Kathy Mcguire กลาววาสิ่งสําคัญที่ จะเพิ่มอัตราการเรียนจนสําเร็จ คือ บริการดูแลเฝาติดตามอยางใกลชิด ผูจัดการรายวิชาที่ ทําหนาที่เปนผูตอบคําถามผูเรียน ตองดูแลเฝาระวังการเขาเรียนของผูเรียน และคอย เตือนหากผูเรียนไมไดเขาเรียนผูจัดการรายวิชาจะตอบคําถามทางเทคนิคดวยตนเอง และ จะสงตอคําถามวิชาการแกอาจารยผูสอน ถาเปนคําถามเกี่ยวกับผูสอนจะสงตอใหกับ ผูบริหารหลักสูตร Mcguide กลาววาหากทําใหการสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอนเกิด ขึ้นโดยเสมือนไมไดมีเทคโนโลยีเปนตัวกลางจะชวยใหการเรียนการสอน อีเลิรนนิงเปนสภาพแวดลอมที่ดี UCLA มีการฝกอบรมอาจารยอยางเขมขน หลักสูตรการเปนผูสอนอีเลิรนนิงระยะเวลา อบรม 5 ถึง 6 สัปดาห โดยใหผูสอนเขาเรียนแบบอีเลิรนนิง ภายใตแนวคิดที่วา "ผูสอน จะสอนไดดีหากไดเปนผูเรียนมากอน" ในการเรียนการสอนจริงมีผูจัดการรายวิชา จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 5. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 5 / 8 McGuide ระบุวาผูสอนจะเขาสูระบบ 5 ถึง 7 ครั้งตอสัปดาห หลายครั้งตอวัน เพื่อตอบ คําถามการเรียนการสอน "ผูเรียนไมสามารถหลับอยูหลังหองเรียนอีเลิรนนิงได" Sun Microsystem ศึกษาพบวา พนักงานบริษัทที่เรียนอีเลิรนนิงดวยตนเองประสบ ความสําเร็จมีรอยละ 25 แตประสบความสําเร็จถึงรอยละ 75 เมื่อมีการเรียนรวมกับการ ทํากิจกรรม มีการสื่อสารกับผูสอนผานอีเมลล โทรศัพทและกระดานขาว ที่ NYUOnline ก็ใหความสนใจอยางมากตอปญหาการเลิกเรียนกลางครันของผูเรียน NYUOnline เปนมหาวิทยาลัยที่ใหความสําคัญกับการจัดการสอนอีเลิรนนิงเพื่อเปน ธุรกิจ NYUOnline ไดทําโครงการนํารองกับผูเรียนที่เปนพนักงานองคกร ในโครงการ นํารอง ผูเรียนจะไดเรียนอีเลิรนนิงโดยไมมีการใหผลประโยชนตอบแทนใดๆ ผูเรียน บางคนในกลุม เรียนในระบบไมประสานเวลา (Asynchronous) ดวยตนเอง (หลักสูตร 9 ชั่วโมง) ขณะที่ผูเรียนบางคนไดเรียนในแบบประสานเวลา (Synchronous) คือใชการ เรียนแบบสื่อสารในเวลาเดียวกัน (เชน Chat) เพิ่มเติมจากการเรียนแบบไมประสานเวลา ดวยตนเองพลังอํานาจของการสื่อสารแบบประสานเวลา (สื่อสารในเวลาเดียวกัน) จาก การศึกษาของ NYUOnline พบวา ผูเรียนอีเลิรนนิงที่เรียนแบบไมประสานเวลาอยาง เดียวจะมีอัตราการจบที่นอยกวาผูเรียนอีเลิรนนิงที่ไดมีปฏิสัมพันธแบบประสานเวลา รวมดวย (เชน Chat) พบวา สองในสามของผูเรียนที่นําประเด็น เนื้อหาความรูในชั้นเรียน (High Integration) มาพูดคุยในการสื่อสารประสานเวลา จะเรียนจนจบวิชาในอัตราที่สูง กวาผูเรียนที่พูดคุยเรื่องทั่วไป (Low Integration) NYUOnline พบวากวาครึ่งของผูเรียนอีเลิรนนิงที่เขารวมในการพูดคุยความรู เนื้อหาใน ชั้นเรียน (High Integration) มีแรงจูงใจดวยตนเองที่จะเขารวมทําขอสอบเพื่อใหไดเกรด ในการเรียน (เปนทางเลือก ไมบังคับ) ขณะที่ผูเรียนที่พูดคุยดวยเรื่องทั่วไปเลือกเขาสอบ เพียงรอยละ 10 หรือมากกวาเล็กนอย David Hawthorne รองอธิการดานการจัดสภาพแวดลอมการเรียนการสอนของ NYUOnline ตั้งสมมติฐานวา การไดมีโอกาสสื่อสารแบบประสานเวลาไมเพียงแตจะ จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 6. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 6 / 8 ชวยใหผูเรียนเรียนจนจบ แตยังชวยใหผูเรียนเกิดความมั่นใจในความรูของตัวเอง และ ตั้งใจ เต็มใจในการใชความรูในการแกปญหาสถานการณตางๆ "หากตองการใหผูเรียน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการเรียนรู (นําความรูไปใช) ผูสอนจะตองทํามากกวา การถายทอดความรูให แตตองบมเพาะความมั่นใจใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียน เพื่อใหเขา เหลานั้นมั่นใจที่จะนําความรูไปใช" NYUOnline ไดทําโครงการนํารอง เพื่อสอบถามความคิดเห็นจากผูเรียน วาสิ่งที่จะชวย ใหผูเรียนเรียนจนจบวิชาคืออะไร คําตอบสวนใหญคือ "การใหคําแนะนํา และขอมูล ปอนกลับจากผูสอนเปนรายบุคคล” Hawthrone เสริมวา ความสัมพันธระหวางบุคคล เปนปจจัยสําคัญที่จะเพิ่มอัตราการเรียนจนจบ เมื่อผูสอนชมผูเรียนวาไดเรียนรู หรือ ทํา กิจกรรมการเรียนไดถูกตอง ผลการวิจัยชวยให NYUOnline พัฒนารูปแบบ และระบบการเรียนการสอนที่ชวยให ผูเรียนในองคกรเรียนอีเลิรนนิงตอเนื่องจนจบได ไดแก รายวิชาที่ไดรับการออกแบบ อยางดี ผูสอนที่มีประสบการณและผูกพัน เขารวมการเรียนการสอนอยางจริงจัง ความ พรอมในการสนับสนุนดานเทคนิค มีการเตรียมความพรอมของผูเรียนโดยการจัดการ ปฐมนิเทศทางการเรียน ในบรรดาปจจัยเหลานี้สองปจจัยที่สําคัญที่สุด คือ ระดับ ปฏิสัมพันธทางการเรียนที่สูงและการมีสวนรวมจากผูบริหารองคกร ระดับและรูปแบบของปฏิสัมพันธที่ดีไมเพียงแตจะชวยเพิ่มการรับรูถึงการมีอยูของ สังคมผูเรียนแลว ยังกระตุนใหผูเรียนผานกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ ฝกฝนทักษะ การผสมผสานการสอนแบบประสานเวลา และไมประสานเวลาแบบบูรณา การ เปนมาตรฐานที่ดีเพื่อใหผูเรียนมีสวนรวมและมีแรงจูงใจ จากงานวิจัยของ NYUOnline พบวาการจัดใหมีการสอนแบบประสานเวลา หนึ่งชม.ตอทุก 4 ชม.ของการ เรียนดวยตนเองแบบเปนอัตราสวนการผสมผสานที่เหมาะสม จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 7. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 7 / 8 ปจจัยทางสังคม การเรียนการสอนออนไลน ผูเรียนอาจจะรูสึกเหงาและโดดเดี่ยว การเชื่อมโยงผูเรียนเขา ดวยกันในขณะที่เรียนประสานเวลา นอกจากจะชวยใหผูเรียนเรียนรูเนื้อหาความรูใน ระหวางการเรียนแบบประสานเวลา แตจะชวยใหผูเรียนผูกพันกับการเรียนในชวงของ การเรียนดวยตนเอง ผูเรียนใหขอคิดเห็นวาถึงแมการนัดเรียนแบบประสานเวลา ตองนัด หมายเวลาและไมสะดวกนักแตก็เปนกิจกรรมทีดีและคุมคาที่จะเขารวม ่ ผูเรียนสวนใหญของ NYUOnline ที่เรียนจบรายวิชาไดใหขอมูลเพิ่มเติมวา การเรียนใน สวนประสานเวลาจะชวยใหเกิดความรูสึกที่ดีขึ้น Hawthrone ไดกลาวถึงมิตรภาพ ระหวางผูเรียนกับผูสอนมีความสําคัญกับการเรียนอีเลิรนนิงมากกวาการเรียนในชั้นเรียน Hawthrone ไดกลาวถึงวาการที่ผูสอนรูจักและจําชื่อผูเรียนไดสรางความพอใจแกผูเรียน และมีความสําคัญสําหรับการเรียนอีเลิรนนิงมากกวาการเรียนในชั้นเรียนปกติ ในกรณีที่ไมสามารถจัดการเรียนการสอนแบบประสานเวลารวมดวย อาจจะใชเครื่องมือ ในการสอนแบบไมประสานเวลาสรางปฏิสัมพันธที่เทียบเคียงกับการสอนแบบประสาน เวลา เชน ใชกระดานสนทนา อีเมลล ติวเตอร (Tutor) และผูสนับสนุนการเรียน (Facilitators) จะชวยสรางปฏิสัมพันธซึ่งเทียบเคียงกับการพบกันแบบประสานเวลาได และจะลดตนทุนในการดําเนินการไดดีกวาที่ใหผูสอนซึ่งตองใหคาตอบแทนสูงกวาเปน ผูทํา ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันเองก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ชวยสงเสริมการเรียนการ สอน ในหลักสูตรการเรียนบริหารธุรกิจแบบอีเลิรนนิง ทีมจะชวยสรางปฏิสัมพันธกับ ผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคากวาใหผูสอนดําเนินการ การสรางปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนอยางมีประสิทธิภาพ ผูสอนควรจะตองหา วิธีการที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารกับผูเรียน (ที่ดีกวาการใชอีเมลล) เชน การสรางชุด คําถาม คําตอบที่พบบอย หรือการใชระบบอีเมลลอัตโนมัติที่จะคอยเตือนผูเรียนวามี คําตอบหรือกิจกรมการเรียนสําหรับผูเรียนรออยู มีตัวอยางวาผูสอนอีเลิรนนิงทานหนึ่ง ใหขอมูลวาอัตราการเรียนจบของผูเรียนเพิ่มจากรอยละ 62 เปนรอยละ 90 เมื่อเขาเปลี่ยน จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management
  • 8. วิชา “ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง” โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย หนา 8 / 8 โปรแกรมทีใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงที่มีเครื่องมือในการ Chat และ ่ จัดการอีเมลลที่มีประสิทธิภาพ โปรแกรมจัดการเรียนรูที่ดีจะสามารถชวยใหผูสอนติดตามความกาวหนาของผูเรียน  ตัวอยางเชนโปรแกรมชือ Archipelago มีเครื่องมือบันทึกสถิติของการเขาเรียนและ ่ บันทึกระยะเวลาในการเขาเรียนของผูเรียน และระยะเวลาในการทํากิจกรรมการเรียน ผูสอนและติวเตอรจะสามารถสังเกตเห็นผูเรียนที่เริ่มมีปญหา ซึ่งอาจจะนําไปสูการเลิก เรียนกลางครันได และสามารถแกปญหาลวงหนาได เทคนิคที่ทําไดงาย เชน การตอบคําถามทุกคําถามในกระดานสนทนา หรือ การขอให ผูเรียนในชั้นเรียนรวมแสดงความคิดเห็นในคําถามเพื่อเพิ่มปฏิสัมพันธในชันเรียน ้ ผูสอนอาจจะจัดกิจกรรมเพื่อใหผูเรียนรูจักกันมากขึ้น เชน การแนะนําตัว การหาสิ่งที่ เหมือนระหวางผูเรียน เปนตน แตในที่สุดแลวถึงแมในชั้นเรียนที่มปฏิสัมพันธสูง มีอาจารยที่เกง อาจจะไมประสบ ี ความสําเร็จหากองคกรไมไดใหแรงจูงใจที่เหมาะสมและการดูแลจัดการที่ดี องคกรสวน ใหญมักจะจัดเนื้อหาไวใหแลวก็เพียงแตเฝาดูและสงสัยวาทําไมผูเรียนมีปญหา เรียนไม จบสักที หรือบางทีองคกรคิดวาการวางจางผูเชี่ยวชาญภายนอกเขามาชวยก็จะสําเร็จ (โดยที่ผูบริหาร บุคลากรในองคกรไมตองทําอะไร) แตในที่สุดก็พบวาไมสําเร็จ ผูบริหารตองใหความสําคัญ ดูแล และผลักดันเหมือนโครงการอื่นๆ จึงจะประสบ ความสําเร็จ จากบทความ "Why Online Learners Drop Out" โดย Karen Frankola ในเว็บ Workforce Management