SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
สื่อดิจิตอล หมายถึงสื่อที่มีการนาเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว
เสียง และ วิดีโอ เป็นต้น โดยอาศัยเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน
คอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยให้ข้อมูลที่เป็นสื่อต่างๆ เหล่านั้นมาแปลงสภาพ
และเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อประโยชน์ในการใช้งาน
องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็นอย่างเดียวกันกับ
   องค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดียด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5
   ชนิดได้แก่
1. ข้อความ (Text)
2. เสียง (Audio)
3. ภาพนิ่ง (Still Image)
4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
5. ภาพวีดีโอ (Video)
ข้อความ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดง
รายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องที่นาเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบ
พื้นฐานที่สาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือก
มากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกาหนดลักษณะของการ
ปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อีกด้วย ซึ่งปัจจุบัน มีหลาย
รูปแบบ ได้แก่ ข้อความทีไ่ ด้จากการพิมพ์ ,ข้อความจากการสแกน,ข้อความ
ไฮเปอร์เท็กซ์
2. เสียง
      เสียง ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับไป
 กลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง
 หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน การ
 นาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
 นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็น
 อย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น
 เสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้าเสียงผ่าน
 ทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ เป็นต้น
3. ภาพนิ่ง
      ภาพนิ่ง เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพ
 ลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่า
 ข้อความหรือตัวอักษร เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการ
 มองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอดความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่า
 ข้อความหรือตัวอักษรซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความ
 แตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติ
 ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือ
 วารสารวิชาการ เป็นต้น
4. ภาพเคลื่อนไหว
       ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือ
 ปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของ
 เครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผู้ชม
 การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมี
 ปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่า
 ภาพนิ่งหลายเท่า
5. วิดีโอ
         วิดีโอ เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจาก
  วิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือ
  ภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ
  อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลือง
  ทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอ
  ด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30
  ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่าน
  กระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจ
  ต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินขนาดและมี
  ประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลงนั้นเอง
ขอบคุณข้อมูลจาก
http://mit.pbru.ac.th/knowledge ความหมายของสื่อดิจิตอล
http://porschkub.exteen.com องค์ประกอบของสื่อดิจิตอล
http://www.hemmarat.com ข้อมูลรายวิชา 0503274

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องNinna Natsu
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อpeter dontoom
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIWuttipong Tubkrathok
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์Ploykarn Lamdual
 

La actualidad más candente (20)

สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
Printing - การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
 

Destacado

สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอลสื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอลartycallife
 
สื่อดิจิทัล
 สื่อดิจิทัล สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลanyamanee sangkasila
 
สื่อดิจิตอล (Digital media )
สื่อดิจิตอล (Digital media )สื่อดิจิตอล (Digital media )
สื่อดิจิตอล (Digital media )Toomtam Apiwat
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 
Direct Contact 2012
Direct Contact 2012Direct Contact 2012
Direct Contact 2012carsonmckee
 
Karomi Digital Asset Management
Karomi Digital Asset ManagementKaromi Digital Asset Management
Karomi Digital Asset ManagementKaromi Technology
 
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่Mint Larksukthom
 
การตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Engineการตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Enginenattatira
 
การตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Engineการตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Enginenattatira
 
การปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขาย
การปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขายการปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขาย
การปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขายnattatira
 
บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวบริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวnattatira
 
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Mediaการโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Medianattatira
 
สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอลสื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอลnipawan060
 
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้Drsek Sai
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชgasanong
 
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์A'Aungkana AP
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 

Destacado (20)

สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอลสื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอล
 
สื่อดิจิทัล
 สื่อดิจิทัล สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัล
 
สื่อดิจิตอล (Digital media )
สื่อดิจิตอล (Digital media )สื่อดิจิตอล (Digital media )
สื่อดิจิตอล (Digital media )
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
Direct Contact 2012
Direct Contact 2012Direct Contact 2012
Direct Contact 2012
 
Karomi Digital Asset Management
Karomi Digital Asset ManagementKaromi Digital Asset Management
Karomi Digital Asset Management
 
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
 
การตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Engineการตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Engine
 
การตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Engineการตลาดผ่าน Search Engine
การตลาดผ่าน Search Engine
 
การปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขาย
การปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขายการปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขาย
การปรับแต่งเว็บไซต์เพื่อเพิ่มยอดขาย
 
บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยวบริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
 
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Mediaการโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
 
สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอลสื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอล
 
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
 
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
 
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 

Similar a สื่อดิจิตอล ( Digital media )

เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมchavala
 
สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลสื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลPhonkao Mickey
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียBeerza Kub
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศYongyut Nintakan
 
เทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดียเทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดียguphan
 
Introduction of Multidedia Technology
Introduction of Multidedia TechnologyIntroduction of Multidedia Technology
Introduction of Multidedia TechnologyOpas Kaewtai
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมkrunueng1
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 
บทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดีย
บทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดียบทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดีย
บทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดียsomdetpittayakom school
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 

Similar a สื่อดิจิตอล ( Digital media ) (20)

Multimedia
MultimediaMultimedia
Multimedia
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
 
สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลสื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัล
 
Title
TitleTitle
Title
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดียเทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดีย
 
Introduction of Multidedia Technology
Introduction of Multidedia TechnologyIntroduction of Multidedia Technology
Introduction of Multidedia Technology
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
 
Multimedia 1
Multimedia 1Multimedia 1
Multimedia 1
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
 
บทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดีย
บทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดียบทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดีย
บทที่ 1 ความหมายมัลติมีเดีย
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
Multimedia1
Multimedia1Multimedia1
Multimedia1
 

สื่อดิจิตอล ( Digital media )

  • 1.
  • 2. สื่อดิจิตอล หมายถึงสื่อที่มีการนาเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และ วิดีโอ เป็นต้น โดยอาศัยเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าทางด้าน คอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยให้ข้อมูลที่เป็นสื่อต่างๆ เหล่านั้นมาแปลงสภาพ และเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อประโยชน์ในการใช้งาน
  • 3. องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็นอย่างเดียวกันกับ องค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดียด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิดได้แก่ 1. ข้อความ (Text) 2. เสียง (Audio) 3. ภาพนิ่ง (Still Image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 5. ภาพวีดีโอ (Video)
  • 4. ข้อความ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดง รายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องที่นาเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบ พื้นฐานที่สาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือก มากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกาหนดลักษณะของการ ปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อีกด้วย ซึ่งปัจจุบัน มีหลาย รูปแบบ ได้แก่ ข้อความทีไ่ ด้จากการพิมพ์ ,ข้อความจากการสแกน,ข้อความ ไฮเปอร์เท็กซ์
  • 5. 2. เสียง เสียง ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับไป กลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน การ นาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็น อย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้าเสียงผ่าน ทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ เป็นต้น
  • 6. 3. ภาพนิ่ง ภาพนิ่ง เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพ ลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่า ข้อความหรือตัวอักษร เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการ มองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอดความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่า ข้อความหรือตัวอักษรซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความ แตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือ วารสารวิชาการ เป็นต้น
  • 7. 4. ภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือ ปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของ เครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมี ปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่า ภาพนิ่งหลายเท่า
  • 8. 5. วิดีโอ วิดีโอ เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจาก วิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือ ภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลือง ทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอ ด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่าน กระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจ ต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินขนาดและมี ประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลงนั้นเอง