SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
    สื่อดิจิทัล
โดย นางสาว ฐาปนีย์ สีหาวงษ์
54010520026
   เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนสิงที่มีอยู่เดิม เพื่อ
                                         ่
    ให้ราคาถูกลงและรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ เอื้อต่อ
    ประโยชน์การใช้สอย ที่มากกว่าเดิมและสื่อดิจิตอล (
    ตรงกันข้ามกับสืออนาล็อก) มักหมายถึงสื่อ
                      ่
    อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ใน
    ปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลข
    ฐานสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมายถึงการแยกแยะ
    ระหว่าง "0" กับ "1" ในการแสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์
    เป็นเครื่องจักรที่มักจะแปลข้อมูลดิจิตอลฐานสองแล้ว
    จึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้นของข้อมูล
    ดิจิตอลที่เหนือกว่า สือดิจิตอลเช่นเดียวกับสื่อเสียง
                          ่
    วิดีโอ หรือเนื้อหาดิจิตอลอื่น ๆ สามารถถูกสร้างขึ้น
    อ้างอิงถึงและได้รับการแจกจ่ายผ่านทางเครื่อง
องค์ ป ระกอบของสื ่ อ ดิ จ ิ ต อล
   องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็น
    อย่างเดียวกันกับองค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดีย
    ด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิดได้แก่ 1.
    ข้อความ (Text) 2. เสียง (Audio) 3. ภาพนิ่ง (Still
    Image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 5. ภาพวีดีโอ
    (Video)
ข้ อ ความ
    เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนือหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด
                           ้
    หรือเนือหาของเรื่องที่นาเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่
           ้
    สำาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของ
    เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้
    เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกำาหนดลักษณะ
    ของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อกด้วย ี
    ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่
   1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทวไป ั่
    ได้จากการพิมพ์ดวย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word
                        ้
    Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดย
    ตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII
   1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ
    Image ได้จากการนาเอกสารทีพิมพ์ไว้แล้ว(เอกสารต้นฉบับ) มา
                                   ่
    ทาการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออก
    มาเป็นภาพ(Image) 1ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ
    เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความ
    อิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความทีพัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่ใช้
                                 ่
เสี ย ง
   ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถ
    เล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ
    มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงาน
    มัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับ
    เนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้น
    เกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย
    สร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ
    ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผูใช้
                                                      ้
    มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์
    ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้า
    เสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ
ภาพนิ ่ ง
   เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด
    และภาพลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อ
    ระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร
    เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วย
    การมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอด
    ความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร
    ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความ
    แตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความ
    หมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสือ  ่
    ชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสาร
    วิชาการ เป็นต้น
ภาพเคลื ่ อ นไหว
    ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพือแสดงขั้นตอน
                                     ่
    หรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น
    การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้
    เพือสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผูชม
        ่                                           ้
    การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มี
    คุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้าง
    เกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ
    มากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า

วี ด ี โ อ
    เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็น
    อย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ
    นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพ
    เคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์
    ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการ
    ใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลือง
    ทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก
    เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง
    (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ตำ่า
    กว่า 30 ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการ
    ประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผานกระบวนการบีบ
                                   ่
    อัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง
    1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10
biphern
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
taenmai
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
Naruk Naendu
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
GRimoho Siri
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
Puangkaew Kingkaew
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
watnawong
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
Tharathep Chumchuen
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
Tharathep Chumchuen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sirinat Sansom
 

La actualidad más candente (18)

Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
E book
E bookE book
E book
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar a สื่อดิจิทัล

เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
chavala
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
Yongyut Nintakan
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
Yongyut Nintakan
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
Sujit Chuajine
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOaสแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
Ghost-king Gosleeping
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Warakon Phommanee
 

Similar a สื่อดิจิทัล (20)

Title
TitleTitle
Title
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
คอม2
คอม2คอม2
คอม2
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
 
Multimedia 1
Multimedia 1Multimedia 1
Multimedia 1
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOaสแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 

สื่อดิจิทัล

  • 1.   สื่อดิจิทัล โดย นางสาว ฐาปนีย์ สีหาวงษ์ 54010520026
  • 2. เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนสิงที่มีอยู่เดิม เพื่อ ่ ให้ราคาถูกลงและรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ เอื้อต่อ ประโยชน์การใช้สอย ที่มากกว่าเดิมและสื่อดิจิตอล ( ตรงกันข้ามกับสืออนาล็อก) มักหมายถึงสื่อ ่ อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ใน ปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลข ฐานสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมายถึงการแยกแยะ ระหว่าง "0" กับ "1" ในการแสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องจักรที่มักจะแปลข้อมูลดิจิตอลฐานสองแล้ว จึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้นของข้อมูล ดิจิตอลที่เหนือกว่า สือดิจิตอลเช่นเดียวกับสื่อเสียง ่ วิดีโอ หรือเนื้อหาดิจิตอลอื่น ๆ สามารถถูกสร้างขึ้น อ้างอิงถึงและได้รับการแจกจ่ายผ่านทางเครื่อง
  • 3. องค์ ป ระกอบของสื ่ อ ดิ จ ิ ต อล  องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็น อย่างเดียวกันกับองค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดีย ด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิดได้แก่ 1. ข้อความ (Text) 2. เสียง (Audio) 3. ภาพนิ่ง (Still Image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 5. ภาพวีดีโอ (Video)
  • 4. ข้ อ ความ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนือหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด ้ หรือเนือหาของเรื่องที่นาเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ ้ สำาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้ เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกำาหนดลักษณะ ของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อกด้วย ี ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่  1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทวไป ั่ ได้จากการพิมพ์ดวย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word ้ Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดย ตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII  1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้จากการนาเอกสารทีพิมพ์ไว้แล้ว(เอกสารต้นฉบับ) มา ่ ทาการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออก มาเป็นภาพ(Image) 1ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความทีพัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่ใช้ ่
  • 5. เสี ย ง  ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถ เล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงาน มัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับ เนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้น เกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย สร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผูใช้ ้ มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้า เสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ
  • 6. ภาพนิ ่ ง  เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อ ระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วย การมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอด ความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความ แตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความ หมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสือ ่ ชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสาร วิชาการ เป็นต้น
  • 7. ภาพเคลื ่ อ นไหว  ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพือแสดงขั้นตอน ่ หรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้ เพือสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผูชม ่ ้ การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มี คุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้าง เกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ มากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า 
  • 8. วี ด ี โ อ  เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็น อย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพ เคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการ ใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลือง ทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ตำ่า กว่า 30 ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการ ประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผานกระบวนการบีบ ่ อัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB