SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 48
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1
การจาแนกสาร
โดย..ครู ปิ นัช ยา นาคจารู ญ
สาร และ สมบัติของสาร
โดย..ครู ปิ นัช ยา นาคจารู ญ
สสาร ( Matter )
คือ สิ่งที่ มีมวล ต้องการที่ อยู่ และ สัมผัสได้โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5
เช่ น ดิน น้า อากาศ ภายใน สสาร เป็ นเนื้ อของสสาร เรียกว่า สาร
สาร ( Substance )
คือ สสารที่ทราบสมบัติ หรือ สสารที่จะศึกษา
ดังนั้ นจึงเป็ นสสารที่เฉพาะเจาะจง
สมบัติของสาร
โดย..ครู ปิ นัช ยา นาคจารู ญ
สมบัติกายภาพ ( Physical Property )
สมบัติที่สังเกตได้จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการทาง
ฟิ สิกส์
ความหนาแน่ น ,จุดเดือด-หลอมเหลว ,ความแข็ง,ความเหนี ยว
สมบัติทางเคมี ( Chemistry Property )
สมบัติที่เกิดขึ้ นจากการทาปฏิกิริยาเคมี
เช่ น การติดไฟ ,การเป็ นสนิ ม ,ความเป็ น กรด – เบส, ผุกร่อน
สมบัติทางเคมี ( Chemistry Property )
การจัดจาแนกสาร
โดย..ครู ปิ นัช ยา นาคจารู ญ
3.1 การจาแนกโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์
1) ของแข็ง ( Solid )
จะมีรู ปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่งอนุ ภาคภายในจะอยู่ชิ ด ติดกัน
เช่ น ด่างทับทิม ( KMNO4 ) , ทองแดง ( Cu )
2) ของเหลว ( Liquid )
จะมีรู ปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ มีปริมาตรที่คงที่
ซึ่งอนุ ภาคชิ ดกันน้อยกว่าของแข็ง และ มี สมบัติเป็ นของ ไหล
เช่ น น้ามัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท
3.1 การจาแนกโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์
3) ก๊าซ ( Gas )
จะมีรู ปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่
รู ปร่างเปลี่ยนไป ตามภาชนะที่ บรรจุ อนุ ภาคอยู่ ห่างกันมากที่สุด
มีสมบัติเป็ นของไหลได้ เช่ น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ
3) ก๊าซ ( Gas )
3.2 จาแนกโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์
1) สารเนื้ อเดียว ( Homogeneous Substance )
หมายถึง สารที่มีเนื้ อสารเหมือนกันทุกส่วน (ไม่ได้หมายความว่า
ประกอบด้วยสารชนิ ดเดียว )
 เช่ น แอลกอฮอล์ , ทองคา ( AU ), น้า
3.2 ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์
2) สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance )
สารที่มีเนื้ อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน
 เช่ น น้าอบไทย , น้าคลอง
3.3 การจาแนกโดยใช้เกณฑ์อื่นๆ
การละลายน้า แบ่งเป็ น สารที่ละลายน้าได้,ได้บ้าง และไม่ได้
 การนาไฟฟ้ า แบ่งเป็ น นาไฟฟ้ า และไม่นาไฟฟ้ า
***นิยมใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์มากที่สุด***
สาร
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
สารบริสุทธิ์ สารละลาย สารคอลลอยด์ สารแขวนลอย
สารผสมธาตุ สารประกอบ
โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ
รายละเอียดการแบ่งประเภทของสาร
สารบริสุทธิ์ ( Pure Substance )
คือ สารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลว คงที่
ธาตุ ( ELEMENT )
คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น
คาร์บอน ( C ) , กามะถัน ( S8 )
สารประกอบ ( Compound Substance )
เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิ ดขึ้ นไปมารวมกัน โดยมีอัตราส่วนในการ
ร่วมกันคงที่ แน่ นอน
เช่ น กรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) , น้า (H2O)
ของผสม ( Mixture )
สารที่เกิดจากการนาสารตั้งแต่ 2 ชนิ ดขึ้ นไปมาผสมกัน
โดยไม่จากัดส่วนผสม และ ในการผสม กัน ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้ น
4.1 สารละลาย ( Solution Substance )
มีขนาดอนุ ภาคที่เล็กกว่า 10-7 เซนติเมตร
เช่ น อากาศ , น้าอัดลม , นาก,น้าเชื่ อม
ตัวทาละลาย
สารใดที่มีปริมาณมากจะเป็ นตัวทาละลาย และ สารใดมีปริมาณ
น้อยจะเป็ นตัวถูก ละลาย
สารใดที่มีสถานะเช่ นเดียวกับสารละลายเป็ นตัวทาละลาย
ตัวอย่าง
แอลกอฮอล์ล้างแผลมีเอทา นอล 70 % และ น้า 30 %
ตัวทาละลายคือ เอ ทานอล (เพราะมากกว่า )
น้าเชื่ อม ทามากจาก น้า และน้าตาล
ตัวทาละลาย คือ น้า (เพราะสถานะเดียวกันกับน้าเชื่ อม)
4.2 สารแขวนลอย ( Suspension Substance )
อนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่มากกว่า 10- 4 เซนติเมตร
สามารถมองเห็นอนุภาคในของผสมได้อย่าง ชัดเจน
 จะไม่สามารถผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง และ กระดาษเซล โลเฟน
เช่น โคลน , น้าอบไทย, ยาคาลามายด์
4.2 สารแขวนลอย ( Suspension Substance )
4.2 สารแขวนลอย ( Suspension Substance )
4.3 คอลลอยด์ ( Colliod )
อนุ ภาคขนาดระหว่าง 10-7-10-4 เซนติเมตร
ไม่มีการตกตะกอน สามารถกระเจิงแสงได้
 ซึ่งเรียกปรากฏการณ์ นี้ ว่ า " ปรากฏการณ์ ทินดอลล์”
4.3 คอลลอยด์ ( Colliod )
 ผ่านกระดาษกรอง แต่ไม่ผ่านกระดาษเซลโลเฟน เช่ น นมสด,
ฝุ่ นละอองในอากาศ, วุ้น,ควันบุหรี่ , หมอก
 อนุ ภาคสามารถส่องดู ได้จากเครื่อง "อัลตราไมโครสโคป "
ตัวอย่างคอลลอยด์
ประเภทของคอลลอยด์ สถานะของอนุภาค สถานะของตัวกลาง ตัวอย่าง
แอโรซอล ของเหลว ก๊าซ เมฆ , สเปรย์ , หมอก
แอโรซอล ของแข็ง ก๊าซ ควันไฟ , ฝุ่น
อิมัลชัน ของเหลว ของเหลว นมสด , น้ากะทิ , สลัด
เจล ของแข็ง ของเหลว เยลลี่ , วุ้น , กาว , ยาสีฟัน
โฟม ก๊าซ ของเหลว ฟองสบู่ , ครีมโกนหนวด
โฟม ก๊าซ ของแข็ง เม็ดโฟม , สบู่ก้อน
การจาแนกสารผสม
ประเภทของสาร ขนาดอนุภาค การกรอง ตัวอย่าง
สารละลาย เล็กกว่า 10-7 ซม.
ผ่านทั้งกระดาษกรอง
และกระดาษเซลโลเฟน
น้าอัดลม น้าเกลือ
นาก
สารคอลลอยด์ ระหว่าง 10-7 ถึง 10-4ซม.
ผ่านกระดาษกรองแต่
ไม่ผ่านกระดาษเซล
โลเฟน
นมสด ควัน ฝุ่นใน
อากาศ
สารแขวนลอย ใหญ่กว่า 10-4 ซม.
ไม่ผ่านทั้งกระดาษกรอง
และกระดาษเซลโลเฟน
น้าโคลน, น้าอบ,
ยาคาลามายด์
การแยกสาร
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
4.1 การกลั่น
เหมาะสาหรับแยกของเหลวที่ปนเป็นเนื้อเดียวกัน
แบ่ง ออก เป็นการกลั่น ธรรมดา และการกลั่นลาดับส่วน
การกลั่นธรรมดา
เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันประมาณ 80 C ขึ้นไป
โดยทาให้ของเหลวกลายเป็นไอ แล้วควบแน่นเป็นของเหลวอีก
สารที่มีจุดเดือดต่ากว่าจะกลายเป็นไอและควบแน่นออกมาก่อน
การกลั่นลาดับส่วน
เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันเพียงเล็กน้อย
จะนาไอของแต่ละส่วนไปควบแน่น แล้วนาไปกลั่นซ้าและควบแน่น
ไอเรื่อย ๆ
 ซึ่งเทียบได้กับเป็นการการกลั่นแบบธรรมดาหลาย ๆ ครั้ง
การกลั่นลาดับส่วน
เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันเพียงเล็กน้อย
จะนาไอของแต่ละส่วนไปควบแน่น แล้วนาไปกลั่นซ้าและควบแน่น
ไอเรื่อย ๆ
 ซึ่งเทียบได้กับเป็นการการกลั่นแบบธรรมดาหลาย ๆ ครั้ง
4.2 การใช้กรวยแยก
 เหมาะสมกับสารที่เป็นของเหลว และ ไม่ละลายต่อกัน (แยกชั้น)
เช่น น้า และ น้ามัน
4.3 การกรอง
เหมาะสาหรับของแข็งที่ไม่ละลายน้า
เช่น หินปูน เศษไม้ ดิน
4.4 การตกผลึก
เหมาะสาหรับสารที่สามารถละลายได้ และประกอบกันเป็น
รูปทรง เรขาคณิต เช่น สารส้ม น้าตาล เกลือ
โดยสารนั้นถ้าละลายในน้าจนถึงจุดอิ่มตัวจะตกเป็นผลึก
สารที่ละลายได้น้อยกว่าจะตกผลึกออกมาก่อน
4.5 โครมาโทรกราฟี
ยึดหลักสารต่างชนิดกันมีความสามารถใน การ
1)ละลายในตัวทาละลายได้ต่างกัน
2)ถูกดูดซับได้ต่างกัน
ให้แยกออกมาเป็นแถบเส้นสีหรือแถบสี
4.5 โครมาโทรกราฟี
โดยถ้าขึ้นแถบก่อน แสดงว่าละลายได้ดี
โดยถ้าเคลื่อนที่ไปได้ไกล แสดง ว่าดูดซับไม่ดี (วิ่งได้ไกล)
ถ้าสารที่แยกออกมามีหลาย สีเป็นช่วงๆแสดงว่ามีหลายองค์
ประกอบ
ธาตุ และสัญลักษณ์ของธาตุ
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
สัญลักษณ์ของธาตุ
ชื่อและสัญลักษณ์ของธาตุ
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
สัญลักษณ์ของธาตุ
การกาหนดสัญลักษณ์ของธาตุมาจากชื่อภาษาอังกฤษ
และใช้ตัวอักษรตัวแรกของชื่อเป็น ตัวพิมพ์ใหญ่ แทนสัญลักษณ์
เช่น C แทน Carbon O แทน Oxygen
สัญลักษณ์ของธาตุ
หากมีชื่อซ้ากันให้ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ แล้วตามด้วยพิมพ์เล็กตัว อื่น
เช่น Carbonมีตัวแรกซ้ากับ Chlorine และ Calcium
จึงปรับเป็นสัญลักษณ์ C, Cl และ Ca ตามลาดับ
คาบและหมู่ของตารางธาตุ
การนับหมู่จะนับตามแนวตั้ง แบ่งเป็นหมู่ A และ B รวม 18 หมู่
ส่วนการนับคาบจะนับตามแนวนอน
เลขหมู่ บอกอิเล็กตรอนวงสุดท้าย เลขคาบบอกระดับพลังงาน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
netzad
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
Supaluk Juntap
 

La actualidad más candente (20)

แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 

Similar a บทที่ 1 การจำแนกสาร

4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
npapak74
 
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
PanuphongN
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
netzad
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
tery10
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 

Similar a บทที่ 1 การจำแนกสาร (20)

Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

Más de Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 

Más de Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 

บทที่ 1 การจำแนกสาร