SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 39
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1
ความรู้ เบืองต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
           ้
                                        1
คอมพิวเตอร์ คืออะไร




              มีประสิทธิภาพ ถูกต้ อง รวดเร็ว

ภาษาละตินว่ า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคานวณ
                                                           2
ความหมาย
พจนานุกรม
  ให้ ความหมายของคอมพิวเตอร์ ไว้ ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ แบบ
  อัตโนมัติ ทาหน้ าที่เหมือนสมองกล ใช้ สาหรับแก้ ปัญหาต่ างๆ
  ที่ง่ายและซับซ้ อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ "
ในหนังสือ
  อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์ ใช้ เป็ นเครื่องมือในการจัดการ
  ข้ อมูล ทังตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ อ่ นที่แทนความหมาย
             ้                                   ื
  ในสิ่งต่ าง ๆ

                                                                    3
วงจรในการทางานพืนฐาน
                                    ้
• The Information Processing Cycle (IPOS Cycle)



      รั บข้ อมูล          ประมวลผล               แสดงผล
       (Input)            (Processing)            (Output)


                           เก็บข้ อมูล
                           (Storage)
                                                             4
The Information Processing Cycle (IPOS Cycle)




                                            5
คุณสมบัตของคอมพิวเตอร์
                       ิ

1.   ความเร็วของคอมพิวเตอร์
2.   ความเชื่อถือได้
3.   ความถูกต้ องแม่ นยา
4.   เก็บข้ อมูลจานวนมาก ๆ ได้
5.   ย้ ายข้ อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้
     อย่ างรวดเร็ว

                                                  6
จุดเด่ น 4S ประการ




1.   หน่ วยเก็บ (Storage)
2.   ความเร็ว (Speed)
3.   ความเป็ นอัตโนมัติ (Self Acting)
4.   ความน่ าเชื่อถือ (Sure)
                                           7
แง่ ลบของคอมพิวเตอร์
1. โรงงานผลิตคอมพิวเตอร์ ปล่ อยสารเคมี
2. อาจจะเกิดอาการเจ็บป่ วยได้ ถ้าใช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นเวลานาน
3. การไว้ ใจคอมพิวเตอร์ ให้ ทางานใหญ่ ๆ นันบางครังอาจจะเกิด
                                           ้         ้
   ความเสียหายได้
4. ???
5. ???
6. ???

                                                                8
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
•   Super Computer
•   Mainframe
•   Minicomputer
•   Workstation
•   Micro Computer
•   PDA
•   Network Computer
•   Embedded Computer

                                          9
Super Computer




Nano Secound 1/1000m/s

  Giga Flop 1000m/s
                         10
Mainframe




Nano Secound 1/1000m/s
                         11
Mini Computer




  Digital Equipment Corporation หรื อ DEC เครื่อง
  Unisys ของบริษัท Unisys เครื่ อง NEC ของบริษัท
  NEC                                         12
Workstation




        Super Macro

Chip RISC
                      13
Micro Computer

PC


                      NoteBook




                             14
PDA




      15
Network Computer




                       ลองนึกดูสว่าในชีวตประจาวันเราเห็น
                                ิ       ิ
• Net PC Windows OS         Network Computerที่ ไหน
• NC Java OS
                                                      16
Embedded Computer




                    17
องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์


                     Hardware


   Data/                                 Document/
Information           People             Procedure

ข้ อมูลที่นามา                            กระบวนการ
                     Software
    ประมวล                                ทางาน/ คู่ม่ ือ
                      Software ระบบ
                     Software ประยุกต์                  18
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
•   ลูกคิด (Abacus)
•   แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's rod)
•   ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule)
•   นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)
•   เครื่ องคานวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline Calculator)
•   เครื่ องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel)
•   เครื่ องผลต่ างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine)
•   ABC หรื อ Atanasoff Berry Computer
•   Mark I
•   ENIAC
•   EDVAC
                                                             19
ลูกคิด (Abacus)
ลูกคิด เป็ นเครื่องคานวณเครื่องแรก ที่มนุษย์ ได้
ประดิษฐ์ คิดค้ นขึนมา โดยชาวตะวันออก (ชาวจีน)
                   ้




                                                   20
แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's rod)




แท่ งเนเปี ยร์ อุปกรณ์ คานวณที่ช่วยคูณเลข คิดค้ นโดย จอห์ น
เนเปี ยร์ (John Napier : 1550 - 1617) นักคณิตศาสตร์ ชาวส
ก๊ อต
                                                              21
ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule)




วิลเลี่ยม ออทเตรด (1574 - 1660) ได้ นาหลักการลอการิทม ึ
ของเนเปี ยร์ มาพัฒนาเป็ น ไม้ บรรทัดคานวณ หรือสไลด์ รูล โดย
การนาค่ าลอการิทม มาเขียนเป็ นสเกลบนแท่ งไม้ สองอัน เมื่อ
                  ึ
นามาเลื่อนต่ อกัน ก็จะอ่ านค่ าเป็ นผลคูณหรือผลหารได้       22
นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)




โดยใช้ ตัวเลขของแท่ งเนเปี ยร์ บรรจุบนทรงกระบอกหกชุด แล้ วใช้
ฟั นเฟื องเป็ นตัวหมุนทดเวลาคูณเลข ประดิษฐ์ โดย วิลเฮล์ ม ชิค
การ์ ด (1592 - 1635) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นผู้ท่ ประดิษฐ์ เครื่องกลไกสาหรับ
                                              ี
คานวณได้ เป็ นคนแรก                                                     23
เครื่ องคานวณของปาสกาล
               (Pascal's Pascaline Calculator)




ประดิษฐ์ ในปี 1642 โดย เบลส ปาสกาล (Blaise Pascal :1623 - 1662)
นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ โดยเครื่องคานวณนีมีลักษณะเป็ นกล่ อง
                                              ้
สี่เหลี่ยม มีฟันเฟื องสาหรับตังและหมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือได้ ว่าเป็ น
                              ้
"เครื่องคานวณใช้ เฟื องเครื่องแรก"                                  24
เครื่องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel)




                                           กาเนิดเลขฐาน 2


กอดฟรีด ไลปนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz: 1646 - 1716) นัก
คณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักการฑูต ชาวเยอรมัน สามารถทาการคูณ
และหารได้ โดยตรง ซึ่งอาศัยการหมุนวงล้ อของเครื่องเอง
                                                            25
เครื่ องผลต่ างของแบบเบจ
               (Babbage's Difference Engine)




ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์
ชาวอังกฤษ ได้ ประดิษฐ์ เครื่องผลต่ าง (Difference Engine) ขึนมาในปี
                                                            ้
1832 เป็ นเครื่องคานวณที่ประกอบด้ วยฟั นเฟื องจานวนมาก สามารถ
คานวณค่ าของตารางได้ โดยอัตโนมัติ                                 26
แบบเบจ "บิดาแห่ งคอมพิวเตอร์ "
• เครื่องประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ
  1. ส่ วนเก็บข้ อมูล เป็ นส่ วนที่ใช้ ในการเก็บข้ อมูลนาเข้ าและ
  ผลลัพธ์ ท่ ได้ จากการคานวณ
             ี
  2. ส่ วนประมวลผล เป็ นส่ วนที่ใช้ ในการประมวลผลทาง
  คณิตศาสตร์
  3. ส่ วนควบคุม เป็ นส่ วนที่ใช้ ในการเคลื่อนย้ ายข้ อมูลระหว่ างส่ วน
  เก็บข้ อมูลและส่ วนประมวลผล
  4. ส่ วนรับข้ อมูลเข้ าและแสดงผลลัพธ์ เป็ นส่ วนที่ใช้ รับข้ อมูลจาก
  ภายนอกเครื่องเข้ าสู่ส่วนเก็บข้ อมูล และแสดงผลลัพธ์ ท่ ได้ จาก
                                                               ี
  การคานวณทาให้ เครื่องวิเคราะห์ นี ้
                                                                     27
เครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรู
• ปี 1886 Dr.Herman Hollerith ได้ พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรู
  แบบที่ใช้ พลังงานไฟฟาขึน
                         ้ ้
• ปี 1896 ได้ ก่อตังบริษัทสาหรับเครื่องจักรในการจัดเรียงชื่อ
                    ้
  Tabulating Machine Company
• ปี 1911 ได้ ขายหุ้นไปอีกกับบริษัทโดยจัดตังเป็ น Computing
                                               ้
  Tabulating Recording Company
• ปี 1924 ได้ เปลี่ยนชื่อเป็ น International Business Machine
  Company IBM
                                                                   28
ABC เครื่ องคานวณขนาดเล็กที่ใช้ หลอดสูญญากาศ




1940 จอห์ น วินเซนต์ อาตานาซอฟ (John V. Atanasoff) และ
ลูกศิษฐ์ ช่ ือ คลิฟฟอร์ ด เบอรี (Clifford Berry) ร่ วมกันประดิษฐ์
เครื่องคานวณขนาดเล็กที่ใช้ หลอดสูญญากาศ ซึ่งนับว่ าเป็ นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ระบบดิจตอลเครื่องแรก เรียกเครื่องนีว่า ABC หรือ
                         ิ                              ้
Atanasoff Berry Computer                                          29
Mark I




ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม Thomas J. Watson ได้ พัฒนาเครื่ องคานวณที่มี
ความสามารถเทียบเท่ ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ เครื่ องคิดเลขที่ใช้ เครื่ องกล
ไฟฟาเป็ นตัวทางาน ประกอบด้ วยฟั นเฟื องในการทางาน อันเป็ นการนาเอา
   ้
เทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรั บปรุ งนั่นเอง
                                                                           30
ENIAC
  จอห์ น ดับลิว มอชลีย์ และ เจ เพรส
  เพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert)
  นับว่ าเป็ น "เครื่ องคานวณ
  อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องแรกของโลก หรื อ
  คอมพิวเตอร์ เครื่ องแรกของโลก"
  ENIAC เป็ นคาย่ อของ Electronics
  Numerical Integrator and Computer
  เป็ นเครื่ องคานวณที่มีจุดประสงค์ เพื่อ
  ใช้ งานในกองทัพ โดยใช้ คานวณตาราง
  การยิงปื นใหญ่ วิถีกระสุนปื นใหญ่

                                       31
EDVAC
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องแรก ที่
สามารถเก็บคาสั่งเอาไว้ ทางาน ใน
หน่ วยความจา พัฒนาโดย จอห์ น ฟอน
นอยมานน์ นักคณิตศาสตร์ ชาวฮังการี
ร่ วมกับทีมมอชลีย์ และเอคเกิรต โดย
ฟอน นอยมานน์ แนวคิดที่น่าสนใจ
เกี่ยวกับการทางานของคอมพิวเตอร์
จนได้ รับการขนานนามว่ า
"สถาปั ตยกรรมฟอนนอนมานน์ "
                                   32
ยุคของคอมพิวเตอร์
•   ยุค 1 ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้ หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube)
•   ยุค 2 ค.ศ. 1959 - 1964 ใช้ ทรานซิสเตอร์ (Transistor)
•   ยุค 3 ค.ศ. 1965 - 1670 แผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuit)
•   ยุค 4 ค.ศ. 1971 ถึงปั จจุบัน ในรูปของไมโครโพรเซสเซอร์




                                                                  33
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1
เริ่มจากปี ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้ หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube)


                             ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1
                             •ใช้ หลอดสูญญากาศ ส่ วนประกอบหลัก
                             •ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้ กาลังไฟฟาสูง
                                                               ้
                             เกิดความร้ อนสูง
                             •ทางานด้ วยภาษาเครื่อง


                                                                34
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2
•ปี ค.ศ. 1959 - 1964 ใช้ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็ นวงจรสาคัญ
                           • โดยทรานซิสเตอร์ เป็ นแผงวงจร
                             อิเล็กทรอนิกส์ ท่ ีมีขนาดเล็กกว่ า
                             หลอดสูญญากาศมาก แต่ มี
                             ความจาที่สูงกว่ า
                           • ไม่ ต้องเวลาในการวอร์ มอัพ ใช้
                             พลังงานต่า
                           • ทางานด้ วยความเร็วที่สูงกว่ า
                           • เกิดภาษาแอสเซมบลี และภาษา
                             FORTRAN, COBOL
                                                                  35
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3
        • ปี ค.ศ. 1965 - 1670 เป็ นยุคที่
          คอมพิวเตอร์ เริ่มปรับเปลี่ยนมาก
          เนื่องจากมีการพัฒนาแผงวงจร
          ไฟฟารวมอยู่บนแผ่ นซิริกอนเล็ก
               ้
          ๆ มาแทนวงจรพิมพ์ ลาย
        • ทาให้ เกิดคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก
          ลงมา ระดับมินิคอมพิวเตอร์
        • กาเนิดภาษา RPG APL BASICA

                                        36
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4
          • ปี ค.ศ. 1971 ถึงปั จจุบัน เป็ นยุค
            ของวงจร VLSI (Very Large
            Scale Integration) ในรู ปของไม
            โครโพรเซสเซอร์
            (Microprocessor) เปลี่ยนระบบ
            หน่ วยความจาจากวงแหวน
            แม่ เหล็กเป็ นหน่ วยความจาสารกึ่ง
            ตัวนาที่เรี ยกว่ า RAM (Random
            Access Memory) ส่ งผลให้ เกิด
            คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (PC :
            Personal Computer)
                                             37
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5
• เครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ สามารถคานวณผลได้
  ล้ านไบต์ หรื อเทราไบต์ (TB) ต่ อวินาที




                                            38
องค์ กรที่กาหนดมาตราฐาน
• ISO กาหนดมาตรฐาน OSI Protocol suite
• ANSI มาตรฐานของอเมริกา
• EIA มาตรฐานทางด้ านสัญญาณไฟฟา       ้
• IEEE เป็ นองค์ กรผู้เชี่ยวชาญไฟฟาและอิเลคทรอนิกส์ กาหนด
                                    ้
  มาตรฐานทางเครือข่ ายท้ องถิ่น
• ITU-T เป็ นองค์ กรที่ทาหน้ าที่กาหนดนโยบายและอนุมัตมาตรฐาน
                                                      ิ
  internet เป็ นองค์ กรมาตรฐานทางคมนาคม (modem)
• IAB เป็ นองค์ กรที่ทาหน้ าที่กาหนดนโยบายและอนุมัตมาตรฐาน
                                                    ิ
  internet Protocol
                                                          39

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษการส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษPitchayakarn Nitisahakul
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
จิตตคหบดี
จิตตคหบดีจิตตคหบดี
จิตตคหบดีKrusupharat
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานNoonnu Ka-noon
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structurekrissapat
 

La actualidad más candente (20)

ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูง
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษการส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
จิตตคหบดี
จิตตคหบดีจิตตคหบดี
จิตตคหบดี
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 

Destacado

สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นit4learner
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2Nuttapoom Tossanut
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานNuttapoom Tossanut
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Rathapol Siriphimolwat
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนKwandjit Boonmak
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5Chaiyaporn Puttachot
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Destacado (13)

สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 2
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar a บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมพัน พัน
 
01 computer technology
01 computer technology01 computer technology
01 computer technologyteaw-sirinapa
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Bansit Deelom
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1warawee
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์uthenmada
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์piyarut084
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นJunya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นJunya Punngam
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์phonon701
 
Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1may4404
 

Similar a บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (20)

รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
01 computer technology
01 computer technology01 computer technology
01 computer technology
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
Work3 15
Work3 15Work3 15
Work3 15
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1
 

Más de Pises Tantimala

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonPises Tantimala
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ Pises Tantimala
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalartPises Tantimala
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100Pises Tantimala
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308Pises Tantimala
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomercePises Tantimala
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยPises Tantimala
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Pises Tantimala
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์Pises Tantimala
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอPises Tantimala
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork Pises Tantimala
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internetPises Tantimala
 

Más de Pises Tantimala (20)

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoon
 
Symboldesign
SymboldesignSymboldesign
Symboldesign
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
Port
PortPort
Port
 
Resume Pises Tantimala
Resume Pises TantimalaResume Pises Tantimala
Resume Pises Tantimala
 
Seo_pdf
Seo_pdfSeo_pdf
Seo_pdf
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308 Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomerce
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
Googleplus thailand
Googleplus thailandGoogleplus thailand
Googleplus thailand
 
Social4pr
Social4pr Social4pr
Social4pr
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอ
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internet
 

บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

  • 1. บทที่ 1 ความรู้ เบืองต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ้ 1
  • 2. คอมพิวเตอร์ คืออะไร มีประสิทธิภาพ ถูกต้ อง รวดเร็ว ภาษาละตินว่ า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคานวณ 2
  • 3. ความหมาย พจนานุกรม ให้ ความหมายของคอมพิวเตอร์ ไว้ ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ แบบ อัตโนมัติ ทาหน้ าที่เหมือนสมองกล ใช้ สาหรับแก้ ปัญหาต่ างๆ ที่ง่ายและซับซ้ อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ " ในหนังสือ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์ ใช้ เป็ นเครื่องมือในการจัดการ ข้ อมูล ทังตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ อ่ นที่แทนความหมาย ้ ื ในสิ่งต่ าง ๆ 3
  • 4. วงจรในการทางานพืนฐาน ้ • The Information Processing Cycle (IPOS Cycle) รั บข้ อมูล ประมวลผล แสดงผล (Input) (Processing) (Output) เก็บข้ อมูล (Storage) 4
  • 5. The Information Processing Cycle (IPOS Cycle) 5
  • 6. คุณสมบัตของคอมพิวเตอร์ ิ 1. ความเร็วของคอมพิวเตอร์ 2. ความเชื่อถือได้ 3. ความถูกต้ องแม่ นยา 4. เก็บข้ อมูลจานวนมาก ๆ ได้ 5. ย้ ายข้ อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ อย่ างรวดเร็ว 6
  • 7. จุดเด่ น 4S ประการ 1. หน่ วยเก็บ (Storage) 2. ความเร็ว (Speed) 3. ความเป็ นอัตโนมัติ (Self Acting) 4. ความน่ าเชื่อถือ (Sure) 7
  • 8. แง่ ลบของคอมพิวเตอร์ 1. โรงงานผลิตคอมพิวเตอร์ ปล่ อยสารเคมี 2. อาจจะเกิดอาการเจ็บป่ วยได้ ถ้าใช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นเวลานาน 3. การไว้ ใจคอมพิวเตอร์ ให้ ทางานใหญ่ ๆ นันบางครังอาจจะเกิด ้ ้ ความเสียหายได้ 4. ??? 5. ??? 6. ??? 8
  • 9. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ • Super Computer • Mainframe • Minicomputer • Workstation • Micro Computer • PDA • Network Computer • Embedded Computer 9
  • 10. Super Computer Nano Secound 1/1000m/s Giga Flop 1000m/s 10
  • 12. Mini Computer Digital Equipment Corporation หรื อ DEC เครื่อง Unisys ของบริษัท Unisys เครื่ อง NEC ของบริษัท NEC 12
  • 13. Workstation Super Macro Chip RISC 13
  • 14. Micro Computer PC NoteBook 14
  • 15. PDA 15
  • 16. Network Computer ลองนึกดูสว่าในชีวตประจาวันเราเห็น ิ ิ • Net PC Windows OS Network Computerที่ ไหน • NC Java OS 16
  • 18. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ Hardware Data/ Document/ Information People Procedure ข้ อมูลที่นามา กระบวนการ Software ประมวล ทางาน/ คู่ม่ ือ Software ระบบ Software ประยุกต์ 18
  • 19. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ • ลูกคิด (Abacus) • แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's rod) • ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule) • นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock) • เครื่ องคานวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline Calculator) • เครื่ องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel) • เครื่ องผลต่ างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) • ABC หรื อ Atanasoff Berry Computer • Mark I • ENIAC • EDVAC 19
  • 20. ลูกคิด (Abacus) ลูกคิด เป็ นเครื่องคานวณเครื่องแรก ที่มนุษย์ ได้ ประดิษฐ์ คิดค้ นขึนมา โดยชาวตะวันออก (ชาวจีน) ้ 20
  • 21. แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's rod) แท่ งเนเปี ยร์ อุปกรณ์ คานวณที่ช่วยคูณเลข คิดค้ นโดย จอห์ น เนเปี ยร์ (John Napier : 1550 - 1617) นักคณิตศาสตร์ ชาวส ก๊ อต 21
  • 22. ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule) วิลเลี่ยม ออทเตรด (1574 - 1660) ได้ นาหลักการลอการิทม ึ ของเนเปี ยร์ มาพัฒนาเป็ น ไม้ บรรทัดคานวณ หรือสไลด์ รูล โดย การนาค่ าลอการิทม มาเขียนเป็ นสเกลบนแท่ งไม้ สองอัน เมื่อ ึ นามาเลื่อนต่ อกัน ก็จะอ่ านค่ าเป็ นผลคูณหรือผลหารได้ 22
  • 23. นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock) โดยใช้ ตัวเลขของแท่ งเนเปี ยร์ บรรจุบนทรงกระบอกหกชุด แล้ วใช้ ฟั นเฟื องเป็ นตัวหมุนทดเวลาคูณเลข ประดิษฐ์ โดย วิลเฮล์ ม ชิค การ์ ด (1592 - 1635) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นผู้ท่ ประดิษฐ์ เครื่องกลไกสาหรับ ี คานวณได้ เป็ นคนแรก 23
  • 24. เครื่ องคานวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline Calculator) ประดิษฐ์ ในปี 1642 โดย เบลส ปาสกาล (Blaise Pascal :1623 - 1662) นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ โดยเครื่องคานวณนีมีลักษณะเป็ นกล่ อง ้ สี่เหลี่ยม มีฟันเฟื องสาหรับตังและหมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือได้ ว่าเป็ น ้ "เครื่องคานวณใช้ เฟื องเครื่องแรก" 24
  • 25. เครื่องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel) กาเนิดเลขฐาน 2 กอดฟรีด ไลปนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz: 1646 - 1716) นัก คณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักการฑูต ชาวเยอรมัน สามารถทาการคูณ และหารได้ โดยตรง ซึ่งอาศัยการหมุนวงล้ อของเครื่องเอง 25
  • 26. เครื่ องผลต่ างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้ ประดิษฐ์ เครื่องผลต่ าง (Difference Engine) ขึนมาในปี ้ 1832 เป็ นเครื่องคานวณที่ประกอบด้ วยฟั นเฟื องจานวนมาก สามารถ คานวณค่ าของตารางได้ โดยอัตโนมัติ 26
  • 27. แบบเบจ "บิดาแห่ งคอมพิวเตอร์ " • เครื่องประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ 1. ส่ วนเก็บข้ อมูล เป็ นส่ วนที่ใช้ ในการเก็บข้ อมูลนาเข้ าและ ผลลัพธ์ ท่ ได้ จากการคานวณ ี 2. ส่ วนประมวลผล เป็ นส่ วนที่ใช้ ในการประมวลผลทาง คณิตศาสตร์ 3. ส่ วนควบคุม เป็ นส่ วนที่ใช้ ในการเคลื่อนย้ ายข้ อมูลระหว่ างส่ วน เก็บข้ อมูลและส่ วนประมวลผล 4. ส่ วนรับข้ อมูลเข้ าและแสดงผลลัพธ์ เป็ นส่ วนที่ใช้ รับข้ อมูลจาก ภายนอกเครื่องเข้ าสู่ส่วนเก็บข้ อมูล และแสดงผลลัพธ์ ท่ ได้ จาก ี การคานวณทาให้ เครื่องวิเคราะห์ นี ้ 27
  • 28. เครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรู • ปี 1886 Dr.Herman Hollerith ได้ พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรู แบบที่ใช้ พลังงานไฟฟาขึน ้ ้ • ปี 1896 ได้ ก่อตังบริษัทสาหรับเครื่องจักรในการจัดเรียงชื่อ ้ Tabulating Machine Company • ปี 1911 ได้ ขายหุ้นไปอีกกับบริษัทโดยจัดตังเป็ น Computing ้ Tabulating Recording Company • ปี 1924 ได้ เปลี่ยนชื่อเป็ น International Business Machine Company IBM 28
  • 29. ABC เครื่ องคานวณขนาดเล็กที่ใช้ หลอดสูญญากาศ 1940 จอห์ น วินเซนต์ อาตานาซอฟ (John V. Atanasoff) และ ลูกศิษฐ์ ช่ ือ คลิฟฟอร์ ด เบอรี (Clifford Berry) ร่ วมกันประดิษฐ์ เครื่องคานวณขนาดเล็กที่ใช้ หลอดสูญญากาศ ซึ่งนับว่ าเป็ นเครื่อง คอมพิวเตอร์ ระบบดิจตอลเครื่องแรก เรียกเครื่องนีว่า ABC หรือ ิ ้ Atanasoff Berry Computer 29
  • 30. Mark I ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม Thomas J. Watson ได้ พัฒนาเครื่ องคานวณที่มี ความสามารถเทียบเท่ ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ เครื่ องคิดเลขที่ใช้ เครื่ องกล ไฟฟาเป็ นตัวทางาน ประกอบด้ วยฟั นเฟื องในการทางาน อันเป็ นการนาเอา ้ เทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรั บปรุ งนั่นเอง 30
  • 31. ENIAC จอห์ น ดับลิว มอชลีย์ และ เจ เพรส เพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) นับว่ าเป็ น "เครื่ องคานวณ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องแรกของโลก หรื อ คอมพิวเตอร์ เครื่ องแรกของโลก" ENIAC เป็ นคาย่ อของ Electronics Numerical Integrator and Computer เป็ นเครื่ องคานวณที่มีจุดประสงค์ เพื่อ ใช้ งานในกองทัพ โดยใช้ คานวณตาราง การยิงปื นใหญ่ วิถีกระสุนปื นใหญ่ 31
  • 32. EDVAC เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องแรก ที่ สามารถเก็บคาสั่งเอาไว้ ทางาน ใน หน่ วยความจา พัฒนาโดย จอห์ น ฟอน นอยมานน์ นักคณิตศาสตร์ ชาวฮังการี ร่ วมกับทีมมอชลีย์ และเอคเกิรต โดย ฟอน นอยมานน์ แนวคิดที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการทางานของคอมพิวเตอร์ จนได้ รับการขนานนามว่ า "สถาปั ตยกรรมฟอนนอนมานน์ " 32
  • 33. ยุคของคอมพิวเตอร์ • ยุค 1 ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้ หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube) • ยุค 2 ค.ศ. 1959 - 1964 ใช้ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) • ยุค 3 ค.ศ. 1965 - 1670 แผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuit) • ยุค 4 ค.ศ. 1971 ถึงปั จจุบัน ในรูปของไมโครโพรเซสเซอร์ 33
  • 34. คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 เริ่มจากปี ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้ หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube) ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 •ใช้ หลอดสูญญากาศ ส่ วนประกอบหลัก •ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้ กาลังไฟฟาสูง ้ เกิดความร้ อนสูง •ทางานด้ วยภาษาเครื่อง 34
  • 35. คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2 •ปี ค.ศ. 1959 - 1964 ใช้ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็ นวงจรสาคัญ • โดยทรานซิสเตอร์ เป็ นแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ท่ ีมีขนาดเล็กกว่ า หลอดสูญญากาศมาก แต่ มี ความจาที่สูงกว่ า • ไม่ ต้องเวลาในการวอร์ มอัพ ใช้ พลังงานต่า • ทางานด้ วยความเร็วที่สูงกว่ า • เกิดภาษาแอสเซมบลี และภาษา FORTRAN, COBOL 35
  • 36. คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 • ปี ค.ศ. 1965 - 1670 เป็ นยุคที่ คอมพิวเตอร์ เริ่มปรับเปลี่ยนมาก เนื่องจากมีการพัฒนาแผงวงจร ไฟฟารวมอยู่บนแผ่ นซิริกอนเล็ก ้ ๆ มาแทนวงจรพิมพ์ ลาย • ทาให้ เกิดคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ลงมา ระดับมินิคอมพิวเตอร์ • กาเนิดภาษา RPG APL BASICA 36
  • 37. คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4 • ปี ค.ศ. 1971 ถึงปั จจุบัน เป็ นยุค ของวงจร VLSI (Very Large Scale Integration) ในรู ปของไม โครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) เปลี่ยนระบบ หน่ วยความจาจากวงแหวน แม่ เหล็กเป็ นหน่ วยความจาสารกึ่ง ตัวนาที่เรี ยกว่ า RAM (Random Access Memory) ส่ งผลให้ เกิด คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (PC : Personal Computer) 37
  • 38. คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5 • เครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ สามารถคานวณผลได้ ล้ านไบต์ หรื อเทราไบต์ (TB) ต่ อวินาที 38
  • 39. องค์ กรที่กาหนดมาตราฐาน • ISO กาหนดมาตรฐาน OSI Protocol suite • ANSI มาตรฐานของอเมริกา • EIA มาตรฐานทางด้ านสัญญาณไฟฟา ้ • IEEE เป็ นองค์ กรผู้เชี่ยวชาญไฟฟาและอิเลคทรอนิกส์ กาหนด ้ มาตรฐานทางเครือข่ ายท้ องถิ่น • ITU-T เป็ นองค์ กรที่ทาหน้ าที่กาหนดนโยบายและอนุมัตมาตรฐาน ิ internet เป็ นองค์ กรมาตรฐานทางคมนาคม (modem) • IAB เป็ นองค์ กรที่ทาหน้ าที่กาหนดนโยบายและอนุมัตมาตรฐาน ิ internet Protocol 39