SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
Smart Farm Flagship                                         มกราคม 2556




        2         สถานการณ์ด ้า นเกษตรและ
                  นัย ต่อ
                  การพัฒ นาเทคโนโลยี
                  สารสนเทศของไทย
2.1 สถานการณ์ด ้า นเกษตรและอาหารของโลก 1
          ประเด็นท้าทายสำาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 อาจต้องเผชิญกับภัย
คุกคามหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการผันแปรของสภาพอากาศ
(climate change/climate variability) ที่กระทบต่อห่วงโซ่การผลิต
อาหาร จนอาจก่อให้เกิดวิกฤติด้านอาหาร (food crisis) ทำาให้มีประชากร
อดอยากมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนโครงสร้างประชากรที่กำาลังเดิน
หน้าเข้าสู่สังคมสูงอายุ (aging society) อัตราการเกิดที่มีสดส่วนลดลง
                                                          ั
สัดส่วนวัยแรงงานที่ลดน้อยถอยลง การเกิดโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซำ้า และ
โรคเรื้อรัง อาจก่อให้เกิดวิกฤติการขาดแคลนแรงงานในอนาคต ทั้งนี้
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture
Organization of the United Nations: FAO) ระบุว่าการเกษตรใน
ศตวรรษที่ 21 ต้องเผชิญกับแรงกดดันหลายประการ เช่น
        • การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรสำาหรับใช้เป็นอาหารให้เพียงพอ
          กับประชากรที่เพิ่มขึ้นด้วยจำานวนแรงงานที่ลดลง
        • การผลิตพืชพลังงานเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงาน
          ชีวภาพที่มีความต้องการสูงขึ้น
        • การพัฒนาประเทศกำาลังพัฒนาที่พึ่งพาเกษตรกรรม เพื่อเพิ่มผลิต
          ภาพการผลิตให้เพียงพอ
          กับความต้องการอาหารในอนาคต
        • พัฒนาวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน สอดคล้องกับ
          ทรัพยากรการผลิตและภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  1 How to feed the world in 2050, 03 Issue Briefs for High-level
  Expert forum on 12-13 October 2009, Food and Agriculture
  Organization of the United Nations.

                                 -1-
Smart Farm Flagship                                           มกราคม 2556

         2.1.1 ความมั่นคงด้านอาหาร
           ปริมาณความต้องการด้านอาหารและเกษตรในศตวรรษที่ 21 ได้รับ
ผลกระทบโดยตรงจากการเพิ่มขึ้นของจำานวนประชากร โดยองค์การ
สหประชาชาติ (The United Nations: UN) ได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากร
โลกจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 34 จากจำานวน 7,066,964,964 ล้านคนในปี
2556 (ค.ศ.2013) เป็น 9.1 พันล้านคน ในปี 2593 (ค.ศ.2050) (ภาพที่
2.1) โดยคาดว่าจำานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจะอยู่ในประเทศที่กำาลังพัฒนา
โดยเฉพาะแอฟริกาจะเป็นภูมิภาคที่จำานวนประชากรเพิ่มขึ้นเร็วที่สุด (คาดว่า
เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 114) ส่วนภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้จำานวนประชากรจะเพิ่มขึ้นช้าที่สุด (ร้อยละ 13) ทั้งนี้ จำานวน
ประชากรร้อยละ 70 ของทั้งหมด จะอาศัยอยู่ในเขตเมืองเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน
ที่มีเพียงร้อยละ 49 จึงคาดว่าความต้องการอาหารจะเพิ่มขึ้นตามรายได้ที่
เพิ่มมากขึ้น (ภาพที่ 2.2) โดยคาดว่าในปี 2593 (ค.ศ.2050) รายได้ตอหัว      ่
ของประชากรเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณจากปัจจุบัน ทั้งนี้คาดว่าเศรษฐกิจของ
ประเทศกำาลังพัฒนาจะมีอัตราการเติบโตที่รวดเร็วกว่าประเทศพัฒนาแล้ว
แนวโน้มที่เกิดขึ้นดังกล่าวบ่งชี้ว่าความต้องการผลิตผลทางการเกษตรยังคง
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งพืช ธัญพืช และเนื้อสัตว์ ซึ่งคาดว่าในปี 2593
(ค.ศ.2050) ความต้องการจะเพิ่มขึ้นเป็น
3 พันล้านตัน จากผลผลิตปัจจุบันอยู่ที่ 2.1 พันล้านตัน (ภาพที่ 2.3)

         ภาพที่ 2.1 แนวโน้ม การเพิ่ม ขึ้น ของประชากรโลก




                                  -2-
Smart Farm Flagship                                          มกราคม 2556

ที่มา: Wikipedia-World Population: Estimates of population evolution in
different continents between 1950 and 2050, according to the United
 Nations. The vertical axis is logarithmic and is in millions of people.




                                  -3-
Smart Farm Flagship                                       มกราคม 2556

             ภาพที่ 2.2 แนวโน้ม การเพิ่ม ขึ้น ของรายได้




     ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
                         Nations, 2009.

     ภาพที่ 2.3 แนวโน้ม ความต้อ งการผลิต ผลทางการเกษตร




                                -4-
Smart Farm Flagship                                         มกราคม 2556




     ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
                         Nations, 2009.




         2.1.2 พื้นที่เพาะปลูก
         การขยายของพื้นที่เมือง หรือการพัฒนาพื้นที่ชนบทเป็นพื้นที่เมือง
ย่อมส่งผลกระทบต่อพื้นที่เพาะปลูก โดยพื้นที่เพาะปลูกในประเทศพัฒนาแล้ว
มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (ภาพที่ 2.4) โดย FAO คาดการณ์ว่า ในปี
2593 (ค.ศ.2050) พื้นที่เพาะปลูกโดยรวมขยายตัวเพิ่มขึ้น 70 ล้านเฮก
เตอร์ หรือประมาณ ร้อยละ 5 จากปัจจุบัน พื้นที่เพาะปลูกของประเทศกำาลัง
พัฒนา (ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ และเอเชียใต้) ขยายตัวเพิ่ม
ขึ้น 120 ล้านเฮกเตอร์ ในขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วพื้นที่เพาะปลูกลดลง 50
ล้านเฮกเตอร์
(ภาพที่ 2.5) ซึ่งหมายความว่าในอนาคตประเทศกำาลังพัฒนาจะเป็นฐานการ
ผลิตอาหารที่สำาคัญของโลก
      ภาพที่ 2.4 แนวโน้ม การเปลี่ย นแปลงของพื้น ที่เ พาะปลูก




                                 -5-
Smart Farm Flagship                                      มกราคม 2556




     ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
                         Nations, 2009.
    ภาพที่ 2.5 การขยายตัว ของพื้น ที่เ พาะปลูก ในภูม ิภ าคต่า งๆ




     ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
                         Nations, 2009.
         2.1.3 วิกฤตินำ้า (Water crisis)
        สถานการณ์นำ้าของโลก เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากอิทธิพล
ของการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศของโลก (climate change) นำ้าที่เคยพอเพียงสำาหรับการอุปโภค
บริโภค และกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการเกษตร
อุตสาหกรรม สันทนาการ กำาลังเกิดการขาดแคลน นอกจากนี้ จำานวน
ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณความต้องการใช้นำ้าเพิ่มขึ้นด้วย
ขณะเดียวกัน มลพิษที่ถูกสร้างขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ย้อนกลับไปทำาลาย

                                  -6-
Smart Farm Flagship                                           มกราคม 2556

แหล่งนำ้าธรรมชาติทั้งนำ้าผิวดินและใต้ดิน ในขณะที่วงจรชีวิตของนำ้า
(water cycle) กำาลังถูกรุกรานจากการกระทำาของมนุษย์ กล่าวคือ
ธรรมชาติสามารถสร้างนำ้าต้นทุนได้ในปริมาณที่ไม่แตกต่างไปจากอดีต แต่
นำ้าต้นทุนเหล่านี้กลับปนเบื้อนไปด้วยมลพิษทางอากาศที่ทำาให้คุณภาพนำ้า
เปลี่ยนไปและเป็นสิ่งที่อันตรายสำาหรับกิจกรรมของมนุษย์มากขึ้น วิกฤตินำ้าที่
อาจเกิดขึ้นในอนาคตเป็นวิกฤติ
2 ทาง คือ การมีนำ้ามากหรือน้อยเกินปกติ จากข้อสงสัยที่ว่า โลกเรากำาลัง
เข้าสู่สภาวะวิกฤตินำ้าหรือไม่ ข้อมูลจาก World Water Council สะท้อน
ภาพปัญหาดังกล่าวได้อย่างดี
         • ประชากรโลกประมาณ 1.1 พันล้านคน อาศัยอยู่โดยไม่มีนำ้า
            สะอาดบริโภค
         • ประชากรโลกประมาณ 1.8 ล้านคนเสียชีวิตเนื่องจากติดเชื้ออหิ
            วาต์ จากนำ้าดื่มที่ไม่สะอาด
         • เด็กประมาณ 3,900 คน เสียชีวิตทุกวันจากโรคที่ปนเปื้อนมากับ
            นำ้า
         • พื้นที่รับนำ้ามากกว่า 260 แห่ง เป็นการใช้ประโยชน์ร่วมกัน
            มากกว่า 2 ประเทศ กฏหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการแบ่งปัน
            และการจัดการนำ้ายังไม่มีความชัดเจน เกิดการแย่งชิงนำ้า
         • การบริโภคนำ้าของประชากรเขตเมืองในสหรัฐและญี่ปุ่น สูงถึง
            350 ลิตร/คน/วัน ขณะที่ประชากรในเขต Sub-Sahara ขอ
            งอัพริกาใช้นำ้าเพียง 10-20 ลิตร/คน/วัน
         • การผลิตข้าวสาร 1 กก. ใช้นำ้าประมาณ 1,400 ลิตร ขณะที่การ
            ผลิตเนื้อ 1 กก. ใช้นำ้าในปริมาณสูงถึง 13,000 ลิตร

         ข้อมูลจาก United Nations Environment Programme
(UNAP) ชี้ให้เห็นว่า (ภาพที่ 2.6) ภาคเกษตรเป็นภาคการผลิตที่มีการใช้นำ้า
มากกว่าภาคการผลิตอื่นๆ นอกจากนี้ปริมาณความต้องการนำ้าเพื่อการเกษตร
เพิ่มมากขึ้นตามการเติบโตของประชากรควบคู่กับความต้องการผลิตสินค้า
อาหารเพื่อเลี้ยงประชากรโลก โดยเฉพาะในพื้นที่ของประเทศกำาลังพัฒนาที่
เป็นแหล่งผลิตอาหารและผลิตผลทางการเกษตรของโลกมีเปอร์เซ็นต์ของ
การใช้นำ้าอยู่ในระดับสูง รวมทั้งประเทศไทยและประเทศในภูมิภาคอาเซียน
ยกเว้นประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ (ภาพที่ 2.7)




                                   -7-
Smart Farm Flagship                                   มกราคม 2556

        ภาพที่ 2.6 ปริม าณการใช้น ำ้า ของแต่ล ะภาคการผลิต




      ที่มา: United Nations Environment Programme, 1999


ภาพที่ 2.7 การบริโ ภคนำ้า ในภาคเกษตรของแต่ล ะประเทศทั่ว โลก




                              -8-
Smart Farm Flagship         มกราคม 2556




                      -9-
Smart Farm Flagship                               มกราคม 2556




      ที่มา: United Nations Environment Programme, 2000




                            - 10 -
Smart Farm Flagship                                             มกราคม 2556

           ในอนาคต UNAP คาดการณ์วาหลายประเทศในทวีปยุโรปกำาลังจะ
                                          ่
เผชิญกับภาวะการขาดแคลนนำ้า ส่วนในภูมิภาคอาเซียนมีเพียงประเทศไทย
เท่านั้นที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่มีอัตราการใช้นำ้ามากกว่าปริมาณนำ้าต้นทุน และ
จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่อาจจะเผชิญกับวิกฤติการขาดแคลนนำ้า (Severe
stress) (ภาพที่ 2.8)
                                ภาพที่ 2.8




          ที่มา: United Nations Environment Programme

        ปัจจัยที่ก่อให้เกิดวิกฤตินำ้า (key drivers)
        1) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate
           change) ส่งผลให้อุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงขึ้น อัตราการระเหยของ
           นำ้าเร็วขึ้น นำ้าแข็งขั้วโลกการละลายเร็วขึ้น ส่งผลกระทบต่อสมดุล
           ของนำ้าที่หมุนเวียนอยู่ในธรรมชาติ ในบางพื้นที่ระดับนำ้าทะเลสูง
           ขึ้นจนไม่สามารถทำาการเกษตรได้อีกต่อไป บางพื้นที่อาจมีฝน
           ตกหนักจนเกิดอุทุกภัย หรือบางพื้นที่เกิดภาวะแห้งแล้งอย่างที่ไม่
           เคยเกิดขึ้นมาก่อน
        2) สภาพเศรษฐกิจ สังคมของแต่ละพื้นที่ (Socio-economic)
               • การเติบโตของประชากร (Population growth) จำานวน
                   ประชากรที่เพิ่มขึ้น แปรผันโดยตรงกับความต้องการบริโภา
                   คนำ้าต่อหัวมากขึ้น ในขณะที่แหล่งสำารองนำ้าไม่ได้เพิ่มขึ้น
                   และยังอาศัยนำ้าต้นทุนจากธรรมชาติ นอกจากนี้ธรรมชาติ
                   ของประชากรมีการย้ายถิ่นอยู่ตลอดเวลาตามสภาพ
                   เศรษฐกิจสังคมของแต่ละพื้นที่ จากปี 2007 เป็นต้นมา
                   ประชากรที่อาศัยในเขตเมือง (urban area) มีมากกว่า

                                   - 11 -
Smart Farm Flagship                                              มกราคม 2556

                ประชากรที่อาศัยในชนบท ในจำานวนนี้กว่า 900 ล้านคน
                อาศัยอยู่ในสลัมของเมืองใหญ่ทั่วโลก ความต้องการพื้นที่
                สำาหรับชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น พื้นที่เกษตรลดลง มลพิษในเขต
                เมืองเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งไหลลงสู่ระบบนำ้าและการใช้นำ้าใต้ดิน
                เกินขนาด อีกส่วนหนึ่งก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก กระทบ
                ต่อฤดูกาลและปริมาณนำ้าฝน ส่งผลให้สถานการณ์นำ้าใน
                การเกษตรอยู่ในวิกฤติ
              • การเติบโตทางเศรษฐกิจ (Overall economic
                development) การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นแรงขับดันทั้งด้าน
                บวกและลบ ( positive and negative key driver) ผลก
                ระทบโดยตรงของการเติบโตทางเศรษฐกิจคือ ความ
                ต้องการพื้นที่และนำ้าสำาหรับใช้เป็นปัจจัยการผลิตมากขึ้น
                ในขณะเดียวกันผลตอบแทนจากเศรษฐกิจที่เติบโตก็กลับนำา
                มาใช้ในภาคเกษตรบรรเทาผลกระทบ (Mitigation)2 และ
                การปรับตัว (Adaptation)3 ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                อากาศนี้ นำาไปสู่การชะลอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก
              • การใช้ทรัพยากรอย่างไร้ขีดจำากัด การเติบโตทางเศรษฐกิจ
                ทำาให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่จำากัดอย่างขาดสมดุล เป็น
                วงจรที่ทำาให้การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศมีความรุนแรง
                มากขึ้น ความต้องการพลังงานทางเลือกสูงขึ้นโดยเฉพาะ
                Bio-energy ส่งผลกระทบถึงความมั่นคงทางอาหาร ทั้งทาง
                ด้านการใช้ทรัพยากรนำ้าเพื่อการผลิต การแย่งวัตถุดิบเพื่อ
                ใช้ผลิตอาหารหรือพลังงาน


  2 การปรับตัว (Adaptation) ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ การเตรียม
  การพัฒนาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างสาธารณูปโภค การบริหารจัดการ
  ทรัพยากรธรรมชาติ การให้ความรู้เพื่อลดความอ่อนไหว (vulnerability) ที่คนจะได้
  รับจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
  3 การบรรเทาผลกระทบ (Mitigation) คือ การดำาเนินการเพื่อพยายามลดการ
  เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น
  การควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การ
  คิดค้นเทคโนโลยีเพื่อประหยัดพลังงาน
  อาจกล่าวได้ว่าการดำาเนินการตามพิธีสารเกียวโตส่วนใหญ่เป็นการบรรเทาผลกระทบ
  ทั้งนี้ การปรับตัวและการบรรเทาผล
  กระทบมีความสัมพันธ์ในเชิงผกผัน กล่าวคือ หากการบรรเทาผลกระทบเป็นไปอย่าง
  มีประสิทธิภาพมาก การปรับตัวก็จะมีความจำาเป็นและใช้ทรัพยากรน้อยลง

                                   - 12 -
Smart Farm Flagship                                                มกราคม 2556

         2.1.4 สมดุลพืชอาหารและพืชพลังงาน
                 การเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้พืชอาหารเพื่อพลิตพลังงาน จาก
วิกฤติราคานำ้ามันและพลังงาน ที่ทำาให้หลายประเทศดิ้นรนหาพลังงาน
ทดแทนชนิดอื่น เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพ4 ส่งผลต่อภาคการผลิตอาหารและ
เกษตรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งประเด็นของการใช้พลังงาน/เชื้อเพลิงในการ
ผลิตอาหาร หรือการนำาพืชอาหารไปใช้เป็นในฐานะพืชพลังงาน (ภาพที่
2.9) เพื่อผลิตเป็นพลังงานทางเลือกใหม่ทดแทนนำ้ามันในห้วงวิกฤติราคา
นำ้ามันที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ความต้องการพลังงานทางเลือกยังคง
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำาหรับความต้องการเชื้อเพลิงชีวภาพที่ใช้ผลิตผล
ทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบ FAO คาดว่ายังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อ
เนื่อง (ตารางที่ 2.1) และความต้องการใช้พื้นที่เพาะปลูกพืชพลังงานเพื่อ
เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานชีวภาพก็เพิ่มขึ้น เช่นกัน (ตาราง 2.2)

       ภาพที่ 2.9 การเปลี่ย นพืช อาหารเป็น เชื้อ เพลิง ชีว ภาพ




  4 biofuel คือ เชื้อเพลิงที่ได้จากชีวมวล (biomass) หรือสสารที่ได้จากพืชและสัตว์

                                     - 13 -
Smart Farm Flagship                                   มกราคม 2556




        ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
                          Nations, 2008.

ตารางที่ 2.1 แนวโน้ม ความต้อ งการพลัง งานจำา แนกตามวัต ถุด ิบ




ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
Nations, 2008.



                              - 14 -
Smart Farm Flagship                                       มกราคม 2556

ตารางที่ 2.2 ความต้อ งการพื้น ที่เ พาะปลูก พืช สำา หรับ การผลิต




พลัง งานชีว ภาพ

ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United
Nations, 2008.

      อย่างไรก็ตามการเพิ่มจำานวนของประชากร ตลอดจนการเจริญเติบโต
ของพื้นที่เมือง ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ
ประชากรโลก โดยผู้บริโภคหันมานิยมบริโภคเนื้อ ปลา นมและอาหารที่มี
โปรตีนสูงมากขึ้น รับประทานอาหารแปรรูป และประเภทพร้อมปรุงมากขึ้น
บริโภคธัญพืชโดยตรงน้อยลง โดยนายคอสตาส สตามูลิส แห่งองค์การ
อาหารและเกษตร กล่าวว่า
      ….......“กลุ่มประเทศผู้ผลิตอาหาร จำาเป็นจะต้องลงทุนด้านการเกษตร
ไม่น้อยกว่า 80,000 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐทุกปี เพื่อสนองอุปสงค์ใหม่ด้าน
อาหาร หมายความว่าจะต้องมีการลงทุนด้านการเกษตรมากกว่าปัจจุบัน
ประมาณร้อยละ 50 โดยเงินลงทุนควรมาจากภาคเอกชน อย่างไรก็ตามภาค
รัฐก็มีบทบาทที่สำาคัญมาก ต่อการจัดหาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนนหนทาง
ข่าวสาร และสถาบัน ให้กับชาวนาและผู้ผลิตอาหาร เนื่องจากกลุ่มผู้ผลิต
พวกนี้ไม่มีความสามารถในการลงทุน อย่างไรก็ตาม ในอนาคตมีเรื่องที่
ท้าทายอยู่ 2 ประการ ประการแรก คือการทำาให้มั่นใจได้ว่าสามารถเพิ่ม
ผลิตภาพภาคเกษตร เพื่อสนองความต้องการเกี่ยวกับสินค้าเกษตร เชื้อเพลิง


                                - 15 -
Smart Farm Flagship                                          มกราคม 2556

ชีวภาพ อาหาร อาหารสัตว์ และอื่นๆ ได้ครบถ้วน ประการที่สอง คือการ
ทำาให้มั่นใจได้ว่าประชากรโลกทุกคน สามารถเข้าถึงอาหารที่ผลิตออกมา
สำาหรับนำามารับประทานได้ ภายในปี 2050
(พ.ศ. 2593) หรือเร็วกว่านั้น”

      โดยสรุปแล้วปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ5 ที่เป็นตัวกำาหนดการ
เปลี่ยนแปลงระบบอาหารและเกษตรของโลก ได้แก่
  • กระบวนการความเป็นเมือง ทำาให้พื้นที่การเกษตรลดลง ความสามารถ
      ในการพึ่งพิงตนเองด้านอาหารของผู้คนลดลง
  • การบริหารจัดการนำ้า การเกษตรกรรม การปลูกพืชหลายชนิดที่พึ่งพิง
      การใช้นำ้ามาก และมีการใช้นำ้ามากเกินขนาด
  • นำ้ามันและพลังงาน กระบวนการผลิตอาหารส่วนใหญ่ล้วนพึ่งพิงนำ้ามัน
      และพลังงานในการผลิต และแน่นอนว่านำ้ามันกำาลังจะหมดไป ซึ่งจะส่ง
      ผลกระทบต่อการผลิตทั่วโลก
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ ขณะนี้ไม่มีมาตรการใดที่จะปกป้องความ
      หลากหลายทางชีวภาพ จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างการปกป้อง
      ขึ้นมาใหม่

      ในอนาคตการกำาหนดนโยบายด้านอาหารและเกษตร จำาเป็นต้องให้
ความสำาคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้
ปัจจัยการผลิต (ใช้พื้นที่และนำ้าเพื่อการผลิตน้อยลง) การลดการพึ่งพาปัจจัย
การผลิตที่ได้จากการผลิตพลังงานและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เช่น ปุ๋ยเคมี และ
เคมีภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งราคาแปรผันตามราคาพลังงานเชื้อเพลิง การวิจัยและ
พัฒนาเพื่อการผลิตอาหารอย่างยั่งยืน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

2.2 สถานการณ์ด ้า นเกษตรและอาหารภายในประเทศ
          ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากความผันผวนของสภาวะการ
เปลี่ยนแปลงของโลกอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยปัจจัยสำาคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรและอาหารของ
ไทย ได้แก่
         • การเปลียนแปลงของสภาพภูมอากาศ (climate change) ก่อให้
                   ่                    ิ
            เกิดความผันผวนของฤดูกาล
  5 ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.

                                       - 16 -
Smart Farm Flagship                                         มกราคม 2556

            การระบาดของแมลงศัตรูพชอย่างรุนแรง ภัยธรรมชาติ การ
                                       ื
            ขาดแคลนนำ้า และอุทกภัย ทำาให้ผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต
            ลดลง
        •   ความผันผวนของราคาพลังงาน ราคานำ้ามันที่เพิ่มสูงขึ้น ทำาให้
            ปัจจัยการผลิตจากฐานพลังงาน (ปุ๋ย เคมีภัณฑ์) เพิ่มสูงขึ้น
            หลายประเทศรวมทั้งไทย หันไปพี่งพิงพลังงานชีวภาพที่ใช้พืช
            อาหารบางชนิดและชีวมวลเป็นวัตถุดิบในการผลิต ด้วยราคา
            พลังงานที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
            ก่อให้เกิดกระแสการปลูกพืชพลังงานเพิ่มขึ้น โดยลดพื้นที่เพาะ
            ปลูกพืชอาหาร ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงด้าน
            อาหารของประเทศไทย
        •   ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย กระทบต่อการส่งออกผลิตภัณฑ์
            สินค้าเกษตรและอาหารอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจาก
            ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารรายใหญ่ของโลก
            จากข้อมูลของ FAO ในปี พ.ศ.2548 ไทยถูกจัดเป็นผู้ผลิต
            สินค้าเกษตร 1 ใน 20 อันดับแรกสำาหรับสินค้าส่งออก 47 ชนิด
        •   ความผันผวนของราคาผลผลิต ราคาสินค้าเกษตรของไทยมีแนว
            โน้มเปลี่ยนแปลงตามราคาตลาดโลก หากราคาสินค้าเกษตร
            ตกตำ่านอกจากจะเพิ่มความเสี่ยงให้กับรายได้ของเกษตรกรแล้ว
            ยังก่อให้เกิดการลดปริมาณการผลิตพืชอาหาร โดยหันไปผลิต
            พืชพลังงานมากขึ้น เนื่องจากราคาพลังงานยังคงมีแนวโน้มสูงขึ้น
        •   วิถีการผลิต – บริโภคใหม่ เพื่อตอบสนอง หรือเอื้อต่อการกอบ
            โกยผลประโยชน์ทางการค้าเป็นหลัก ด้วยการเปลี่ยนระบบการ
            เพาะปลูกพืชที่หลากหลายของเกษตรกรรายย่อย เป็นการเพาะ
            ปลูกพืชเชิงเดี่ยวของเกษตรกรรายใหญ่ เพื่อป้อนอุตสาหกรรม
            เป็นสำาคัญ
        •   เงื่อนไขความตกลงทางการค้ากับต่างประเทศ ทั้งกรอบความร่วม
            มือ FTA ASEAN และ WTO ล่าสุดมาตรการสร้างความมั่นคง
            ด้านอาหาร ที่ประเทศไทยต้องปรับตัวหากปฏิบัติตามข้อตกลง
            เหล่านั้น




                                 - 17 -
Smart Farm Flagship                                       มกราคม 2556




         2.2.1 ความมั่นคงด้านอาหาร




            ปัจจุบันหลายๆ ประเทศให้ความสำาคัญกับการแก้ไขปัญหาวิกฤต
อาหาร และวิกฤตความอดอยากโลก จากข้อมูลของ FAO ระบุว่า ในปี
2010 มีประชากรทั่วโลกที่ยังยากจนและหิวโหยกว่า 925 ล้านคน
578 ล้านคนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกอยู่ในภาวะหิวโหย สำาหรับประเทศไทย
ที่เป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและอาหาร 20 ลำาดับแรก สำาหรับ
สินค้า 50 รายการ (ตารางที่ 2.3) แต่กลับมีผู้หิวโหยอยู่ถึง 10.7 ล้านคน
(ตารางที่ 2.4)

ตารางที่ 2.3 สิน ค้า ที่ป ระเทศไทยมีป ริม าณส่ง ออกมากที่ส ุด ใน
ประเทศผู้ส ่ง ออก 20 ลำา ดับ แรก

                                - 18 -
Smart Farm Flagship                                        มกราคม 2556

    Ra                    Ra                       Ra
       Commodity                 Commodity               Commodity
    nk                    nk                       nk
                            Silk-worm
      Natural         1                          3
1   1                     6 cocoons,               13 Asparagus
      rubber          8                          5
                            reelable
                      1        Fruit, tropical   3
2   1 Pineapples          7                        13 Papayas
                      9        fresh nes         6
                      2                          3    Chillies and
3   2 Canary seed         7 Rice, paddy            13
                      0                          7    peppers, dry
                      2                          3
4   2 Kapok Fibre         7 Castor oil seed        14 Fibre Crops Nes
                      1                          8
                      2                          3
5   2 Cassava             8 Ginger                 15 Spices, nes
                      2                          9
        Kapokseed in 2         Pepper (Piper     4    Indigenous
6   2                     8                        15
        Shell        3         spp.)             0    Geese Meat
                      2        Indigenous        4
7   4 Palm oil            8                        16 Garlic
                      4        Buffalo Meat      1
                      2                          4
8   4 Palm kernels        9 Maize, green           17 Fruit Fresh Nes
                      5                          2
        Other         2                          4    Roots and
9   4                     9 Pulses, nes            17
        Bastfibres    6                          3    Tubers, nes
1                     2        Tangerines,      4    Indigenous
    4 Jute                9                       17
0                     7        mandarins, clem. 4    Chicken Meat
1                     2                          4    Vegetables fresh
    4 Sugar cane          9 Nuts, nes              18
1                     8                          5    nes
1                     2                          4    Indigenous
    4 Cereals, nes        9 Bananas                18
2                     9                          6    Pigmeat
      Mangoes,
1                  3                             4    Lemons and
    5 mangosteens,   10 Sesame seed                20
3                  0                             7    limes
      guavas
                                                      Pumpkins,
1                     3                          4
    6 Coconuts          12 Taro (cocoyam)          20 squash and
4                     1                          8
                                                      gourds
1       Indigenous    3                          4
    6                   12 Beans, green            20 Watermelons
5       Duck Meat     2                          9

                                  - 19 -

Más contenido relacionado

Más de Pisuth paiboonrat (20)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 

20100905 wp ch2-trend-implication 2

  • 1. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 2 สถานการณ์ด ้า นเกษตรและ นัย ต่อ การพัฒ นาเทคโนโลยี สารสนเทศของไทย 2.1 สถานการณ์ด ้า นเกษตรและอาหารของโลก 1 ประเด็นท้าทายสำาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 อาจต้องเผชิญกับภัย คุกคามหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการผันแปรของสภาพอากาศ (climate change/climate variability) ที่กระทบต่อห่วงโซ่การผลิต อาหาร จนอาจก่อให้เกิดวิกฤติด้านอาหาร (food crisis) ทำาให้มีประชากร อดอยากมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนโครงสร้างประชากรที่กำาลังเดิน หน้าเข้าสู่สังคมสูงอายุ (aging society) อัตราการเกิดที่มีสดส่วนลดลง ั สัดส่วนวัยแรงงานที่ลดน้อยถอยลง การเกิดโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซำ้า และ โรคเรื้อรัง อาจก่อให้เกิดวิกฤติการขาดแคลนแรงงานในอนาคต ทั้งนี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ระบุว่าการเกษตรใน ศตวรรษที่ 21 ต้องเผชิญกับแรงกดดันหลายประการ เช่น • การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรสำาหรับใช้เป็นอาหารให้เพียงพอ กับประชากรที่เพิ่มขึ้นด้วยจำานวนแรงงานที่ลดลง • การผลิตพืชพลังงานเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงาน ชีวภาพที่มีความต้องการสูงขึ้น • การพัฒนาประเทศกำาลังพัฒนาที่พึ่งพาเกษตรกรรม เพื่อเพิ่มผลิต ภาพการผลิตให้เพียงพอ กับความต้องการอาหารในอนาคต • พัฒนาวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน สอดคล้องกับ ทรัพยากรการผลิตและภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1 How to feed the world in 2050, 03 Issue Briefs for High-level Expert forum on 12-13 October 2009, Food and Agriculture Organization of the United Nations. -1-
  • 2. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 2.1.1 ความมั่นคงด้านอาหาร ปริมาณความต้องการด้านอาหารและเกษตรในศตวรรษที่ 21 ได้รับ ผลกระทบโดยตรงจากการเพิ่มขึ้นของจำานวนประชากร โดยองค์การ สหประชาชาติ (The United Nations: UN) ได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากร โลกจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 34 จากจำานวน 7,066,964,964 ล้านคนในปี 2556 (ค.ศ.2013) เป็น 9.1 พันล้านคน ในปี 2593 (ค.ศ.2050) (ภาพที่ 2.1) โดยคาดว่าจำานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจะอยู่ในประเทศที่กำาลังพัฒนา โดยเฉพาะแอฟริกาจะเป็นภูมิภาคที่จำานวนประชากรเพิ่มขึ้นเร็วที่สุด (คาดว่า เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 114) ส่วนภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออก เฉียงใต้จำานวนประชากรจะเพิ่มขึ้นช้าที่สุด (ร้อยละ 13) ทั้งนี้ จำานวน ประชากรร้อยละ 70 ของทั้งหมด จะอาศัยอยู่ในเขตเมืองเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน ที่มีเพียงร้อยละ 49 จึงคาดว่าความต้องการอาหารจะเพิ่มขึ้นตามรายได้ที่ เพิ่มมากขึ้น (ภาพที่ 2.2) โดยคาดว่าในปี 2593 (ค.ศ.2050) รายได้ตอหัว ่ ของประชากรเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณจากปัจจุบัน ทั้งนี้คาดว่าเศรษฐกิจของ ประเทศกำาลังพัฒนาจะมีอัตราการเติบโตที่รวดเร็วกว่าประเทศพัฒนาแล้ว แนวโน้มที่เกิดขึ้นดังกล่าวบ่งชี้ว่าความต้องการผลิตผลทางการเกษตรยังคง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งพืช ธัญพืช และเนื้อสัตว์ ซึ่งคาดว่าในปี 2593 (ค.ศ.2050) ความต้องการจะเพิ่มขึ้นเป็น 3 พันล้านตัน จากผลผลิตปัจจุบันอยู่ที่ 2.1 พันล้านตัน (ภาพที่ 2.3) ภาพที่ 2.1 แนวโน้ม การเพิ่ม ขึ้น ของประชากรโลก -2-
  • 3. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ที่มา: Wikipedia-World Population: Estimates of population evolution in different continents between 1950 and 2050, according to the United Nations. The vertical axis is logarithmic and is in millions of people. -3-
  • 4. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ภาพที่ 2.2 แนวโน้ม การเพิ่ม ขึ้น ของรายได้ ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2009. ภาพที่ 2.3 แนวโน้ม ความต้อ งการผลิต ผลทางการเกษตร -4-
  • 5. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2009. 2.1.2 พื้นที่เพาะปลูก การขยายของพื้นที่เมือง หรือการพัฒนาพื้นที่ชนบทเป็นพื้นที่เมือง ย่อมส่งผลกระทบต่อพื้นที่เพาะปลูก โดยพื้นที่เพาะปลูกในประเทศพัฒนาแล้ว มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (ภาพที่ 2.4) โดย FAO คาดการณ์ว่า ในปี 2593 (ค.ศ.2050) พื้นที่เพาะปลูกโดยรวมขยายตัวเพิ่มขึ้น 70 ล้านเฮก เตอร์ หรือประมาณ ร้อยละ 5 จากปัจจุบัน พื้นที่เพาะปลูกของประเทศกำาลัง พัฒนา (ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ และเอเชียใต้) ขยายตัวเพิ่ม ขึ้น 120 ล้านเฮกเตอร์ ในขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วพื้นที่เพาะปลูกลดลง 50 ล้านเฮกเตอร์ (ภาพที่ 2.5) ซึ่งหมายความว่าในอนาคตประเทศกำาลังพัฒนาจะเป็นฐานการ ผลิตอาหารที่สำาคัญของโลก ภาพที่ 2.4 แนวโน้ม การเปลี่ย นแปลงของพื้น ที่เ พาะปลูก -5-
  • 6. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2009. ภาพที่ 2.5 การขยายตัว ของพื้น ที่เ พาะปลูก ในภูม ิภ าคต่า งๆ ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2009. 2.1.3 วิกฤตินำ้า (Water crisis) สถานการณ์นำ้าของโลก เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากอิทธิพล ของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของโลก (climate change) นำ้าที่เคยพอเพียงสำาหรับการอุปโภค บริโภค และกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม สันทนาการ กำาลังเกิดการขาดแคลน นอกจากนี้ จำานวน ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณความต้องการใช้นำ้าเพิ่มขึ้นด้วย ขณะเดียวกัน มลพิษที่ถูกสร้างขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ย้อนกลับไปทำาลาย -6-
  • 7. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 แหล่งนำ้าธรรมชาติทั้งนำ้าผิวดินและใต้ดิน ในขณะที่วงจรชีวิตของนำ้า (water cycle) กำาลังถูกรุกรานจากการกระทำาของมนุษย์ กล่าวคือ ธรรมชาติสามารถสร้างนำ้าต้นทุนได้ในปริมาณที่ไม่แตกต่างไปจากอดีต แต่ นำ้าต้นทุนเหล่านี้กลับปนเบื้อนไปด้วยมลพิษทางอากาศที่ทำาให้คุณภาพนำ้า เปลี่ยนไปและเป็นสิ่งที่อันตรายสำาหรับกิจกรรมของมนุษย์มากขึ้น วิกฤตินำ้าที่ อาจเกิดขึ้นในอนาคตเป็นวิกฤติ 2 ทาง คือ การมีนำ้ามากหรือน้อยเกินปกติ จากข้อสงสัยที่ว่า โลกเรากำาลัง เข้าสู่สภาวะวิกฤตินำ้าหรือไม่ ข้อมูลจาก World Water Council สะท้อน ภาพปัญหาดังกล่าวได้อย่างดี • ประชากรโลกประมาณ 1.1 พันล้านคน อาศัยอยู่โดยไม่มีนำ้า สะอาดบริโภค • ประชากรโลกประมาณ 1.8 ล้านคนเสียชีวิตเนื่องจากติดเชื้ออหิ วาต์ จากนำ้าดื่มที่ไม่สะอาด • เด็กประมาณ 3,900 คน เสียชีวิตทุกวันจากโรคที่ปนเปื้อนมากับ นำ้า • พื้นที่รับนำ้ามากกว่า 260 แห่ง เป็นการใช้ประโยชน์ร่วมกัน มากกว่า 2 ประเทศ กฏหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการแบ่งปัน และการจัดการนำ้ายังไม่มีความชัดเจน เกิดการแย่งชิงนำ้า • การบริโภคนำ้าของประชากรเขตเมืองในสหรัฐและญี่ปุ่น สูงถึง 350 ลิตร/คน/วัน ขณะที่ประชากรในเขต Sub-Sahara ขอ งอัพริกาใช้นำ้าเพียง 10-20 ลิตร/คน/วัน • การผลิตข้าวสาร 1 กก. ใช้นำ้าประมาณ 1,400 ลิตร ขณะที่การ ผลิตเนื้อ 1 กก. ใช้นำ้าในปริมาณสูงถึง 13,000 ลิตร ข้อมูลจาก United Nations Environment Programme (UNAP) ชี้ให้เห็นว่า (ภาพที่ 2.6) ภาคเกษตรเป็นภาคการผลิตที่มีการใช้นำ้า มากกว่าภาคการผลิตอื่นๆ นอกจากนี้ปริมาณความต้องการนำ้าเพื่อการเกษตร เพิ่มมากขึ้นตามการเติบโตของประชากรควบคู่กับความต้องการผลิตสินค้า อาหารเพื่อเลี้ยงประชากรโลก โดยเฉพาะในพื้นที่ของประเทศกำาลังพัฒนาที่ เป็นแหล่งผลิตอาหารและผลิตผลทางการเกษตรของโลกมีเปอร์เซ็นต์ของ การใช้นำ้าอยู่ในระดับสูง รวมทั้งประเทศไทยและประเทศในภูมิภาคอาเซียน ยกเว้นประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ (ภาพที่ 2.7) -7-
  • 8. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ภาพที่ 2.6 ปริม าณการใช้น ำ้า ของแต่ล ะภาคการผลิต ที่มา: United Nations Environment Programme, 1999 ภาพที่ 2.7 การบริโ ภคนำ้า ในภาคเกษตรของแต่ล ะประเทศทั่ว โลก -8-
  • 9. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 -9-
  • 10. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ที่มา: United Nations Environment Programme, 2000 - 10 -
  • 11. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ในอนาคต UNAP คาดการณ์วาหลายประเทศในทวีปยุโรปกำาลังจะ ่ เผชิญกับภาวะการขาดแคลนนำ้า ส่วนในภูมิภาคอาเซียนมีเพียงประเทศไทย เท่านั้นที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่มีอัตราการใช้นำ้ามากกว่าปริมาณนำ้าต้นทุน และ จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่อาจจะเผชิญกับวิกฤติการขาดแคลนนำ้า (Severe stress) (ภาพที่ 2.8) ภาพที่ 2.8 ที่มา: United Nations Environment Programme ปัจจัยที่ก่อให้เกิดวิกฤตินำ้า (key drivers) 1) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) ส่งผลให้อุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงขึ้น อัตราการระเหยของ นำ้าเร็วขึ้น นำ้าแข็งขั้วโลกการละลายเร็วขึ้น ส่งผลกระทบต่อสมดุล ของนำ้าที่หมุนเวียนอยู่ในธรรมชาติ ในบางพื้นที่ระดับนำ้าทะเลสูง ขึ้นจนไม่สามารถทำาการเกษตรได้อีกต่อไป บางพื้นที่อาจมีฝน ตกหนักจนเกิดอุทุกภัย หรือบางพื้นที่เกิดภาวะแห้งแล้งอย่างที่ไม่ เคยเกิดขึ้นมาก่อน 2) สภาพเศรษฐกิจ สังคมของแต่ละพื้นที่ (Socio-economic) • การเติบโตของประชากร (Population growth) จำานวน ประชากรที่เพิ่มขึ้น แปรผันโดยตรงกับความต้องการบริโภา คนำ้าต่อหัวมากขึ้น ในขณะที่แหล่งสำารองนำ้าไม่ได้เพิ่มขึ้น และยังอาศัยนำ้าต้นทุนจากธรรมชาติ นอกจากนี้ธรรมชาติ ของประชากรมีการย้ายถิ่นอยู่ตลอดเวลาตามสภาพ เศรษฐกิจสังคมของแต่ละพื้นที่ จากปี 2007 เป็นต้นมา ประชากรที่อาศัยในเขตเมือง (urban area) มีมากกว่า - 11 -
  • 12. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ประชากรที่อาศัยในชนบท ในจำานวนนี้กว่า 900 ล้านคน อาศัยอยู่ในสลัมของเมืองใหญ่ทั่วโลก ความต้องการพื้นที่ สำาหรับชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น พื้นที่เกษตรลดลง มลพิษในเขต เมืองเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งไหลลงสู่ระบบนำ้าและการใช้นำ้าใต้ดิน เกินขนาด อีกส่วนหนึ่งก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก กระทบ ต่อฤดูกาลและปริมาณนำ้าฝน ส่งผลให้สถานการณ์นำ้าใน การเกษตรอยู่ในวิกฤติ • การเติบโตทางเศรษฐกิจ (Overall economic development) การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นแรงขับดันทั้งด้าน บวกและลบ ( positive and negative key driver) ผลก ระทบโดยตรงของการเติบโตทางเศรษฐกิจคือ ความ ต้องการพื้นที่และนำ้าสำาหรับใช้เป็นปัจจัยการผลิตมากขึ้น ในขณะเดียวกันผลตอบแทนจากเศรษฐกิจที่เติบโตก็กลับนำา มาใช้ในภาคเกษตรบรรเทาผลกระทบ (Mitigation)2 และ การปรับตัว (Adaptation)3 ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศนี้ นำาไปสู่การชะลอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก • การใช้ทรัพยากรอย่างไร้ขีดจำากัด การเติบโตทางเศรษฐกิจ ทำาให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่จำากัดอย่างขาดสมดุล เป็น วงจรที่ทำาให้การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศมีความรุนแรง มากขึ้น ความต้องการพลังงานทางเลือกสูงขึ้นโดยเฉพาะ Bio-energy ส่งผลกระทบถึงความมั่นคงทางอาหาร ทั้งทาง ด้านการใช้ทรัพยากรนำ้าเพื่อการผลิต การแย่งวัตถุดิบเพื่อ ใช้ผลิตอาหารหรือพลังงาน 2 การปรับตัว (Adaptation) ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ การเตรียม การพัฒนาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างสาธารณูปโภค การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ การให้ความรู้เพื่อลดความอ่อนไหว (vulnerability) ที่คนจะได้ รับจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3 การบรรเทาผลกระทบ (Mitigation) คือ การดำาเนินการเพื่อพยายามลดการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การ คิดค้นเทคโนโลยีเพื่อประหยัดพลังงาน อาจกล่าวได้ว่าการดำาเนินการตามพิธีสารเกียวโตส่วนใหญ่เป็นการบรรเทาผลกระทบ ทั้งนี้ การปรับตัวและการบรรเทาผล กระทบมีความสัมพันธ์ในเชิงผกผัน กล่าวคือ หากการบรรเทาผลกระทบเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพมาก การปรับตัวก็จะมีความจำาเป็นและใช้ทรัพยากรน้อยลง - 12 -
  • 13. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 2.1.4 สมดุลพืชอาหารและพืชพลังงาน การเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้พืชอาหารเพื่อพลิตพลังงาน จาก วิกฤติราคานำ้ามันและพลังงาน ที่ทำาให้หลายประเทศดิ้นรนหาพลังงาน ทดแทนชนิดอื่น เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพ4 ส่งผลต่อภาคการผลิตอาหารและ เกษตรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งประเด็นของการใช้พลังงาน/เชื้อเพลิงในการ ผลิตอาหาร หรือการนำาพืชอาหารไปใช้เป็นในฐานะพืชพลังงาน (ภาพที่ 2.9) เพื่อผลิตเป็นพลังงานทางเลือกใหม่ทดแทนนำ้ามันในห้วงวิกฤติราคา นำ้ามันที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ความต้องการพลังงานทางเลือกยังคง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำาหรับความต้องการเชื้อเพลิงชีวภาพที่ใช้ผลิตผล ทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบ FAO คาดว่ายังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่อง (ตารางที่ 2.1) และความต้องการใช้พื้นที่เพาะปลูกพืชพลังงานเพื่อ เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานชีวภาพก็เพิ่มขึ้น เช่นกัน (ตาราง 2.2) ภาพที่ 2.9 การเปลี่ย นพืช อาหารเป็น เชื้อ เพลิง ชีว ภาพ 4 biofuel คือ เชื้อเพลิงที่ได้จากชีวมวล (biomass) หรือสสารที่ได้จากพืชและสัตว์ - 13 -
  • 14. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2008. ตารางที่ 2.1 แนวโน้ม ความต้อ งการพลัง งานจำา แนกตามวัต ถุด ิบ ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2008. - 14 -
  • 15. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ตารางที่ 2.2 ความต้อ งการพื้น ที่เ พาะปลูก พืช สำา หรับ การผลิต พลัง งานชีว ภาพ ที่มา: Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2008. อย่างไรก็ตามการเพิ่มจำานวนของประชากร ตลอดจนการเจริญเติบโต ของพื้นที่เมือง ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ ประชากรโลก โดยผู้บริโภคหันมานิยมบริโภคเนื้อ ปลา นมและอาหารที่มี โปรตีนสูงมากขึ้น รับประทานอาหารแปรรูป และประเภทพร้อมปรุงมากขึ้น บริโภคธัญพืชโดยตรงน้อยลง โดยนายคอสตาส สตามูลิส แห่งองค์การ อาหารและเกษตร กล่าวว่า ….......“กลุ่มประเทศผู้ผลิตอาหาร จำาเป็นจะต้องลงทุนด้านการเกษตร ไม่น้อยกว่า 80,000 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐทุกปี เพื่อสนองอุปสงค์ใหม่ด้าน อาหาร หมายความว่าจะต้องมีการลงทุนด้านการเกษตรมากกว่าปัจจุบัน ประมาณร้อยละ 50 โดยเงินลงทุนควรมาจากภาคเอกชน อย่างไรก็ตามภาค รัฐก็มีบทบาทที่สำาคัญมาก ต่อการจัดหาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนนหนทาง ข่าวสาร และสถาบัน ให้กับชาวนาและผู้ผลิตอาหาร เนื่องจากกลุ่มผู้ผลิต พวกนี้ไม่มีความสามารถในการลงทุน อย่างไรก็ตาม ในอนาคตมีเรื่องที่ ท้าทายอยู่ 2 ประการ ประการแรก คือการทำาให้มั่นใจได้ว่าสามารถเพิ่ม ผลิตภาพภาคเกษตร เพื่อสนองความต้องการเกี่ยวกับสินค้าเกษตร เชื้อเพลิง - 15 -
  • 16. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 ชีวภาพ อาหาร อาหารสัตว์ และอื่นๆ ได้ครบถ้วน ประการที่สอง คือการ ทำาให้มั่นใจได้ว่าประชากรโลกทุกคน สามารถเข้าถึงอาหารที่ผลิตออกมา สำาหรับนำามารับประทานได้ ภายในปี 2050 (พ.ศ. 2593) หรือเร็วกว่านั้น” โดยสรุปแล้วปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ5 ที่เป็นตัวกำาหนดการ เปลี่ยนแปลงระบบอาหารและเกษตรของโลก ได้แก่ • กระบวนการความเป็นเมือง ทำาให้พื้นที่การเกษตรลดลง ความสามารถ ในการพึ่งพิงตนเองด้านอาหารของผู้คนลดลง • การบริหารจัดการนำ้า การเกษตรกรรม การปลูกพืชหลายชนิดที่พึ่งพิง การใช้นำ้ามาก และมีการใช้นำ้ามากเกินขนาด • นำ้ามันและพลังงาน กระบวนการผลิตอาหารส่วนใหญ่ล้วนพึ่งพิงนำ้ามัน และพลังงานในการผลิต และแน่นอนว่านำ้ามันกำาลังจะหมดไป ซึ่งจะส่ง ผลกระทบต่อการผลิตทั่วโลก • ความหลากหลายทางชีวภาพ ขณะนี้ไม่มีมาตรการใดที่จะปกป้องความ หลากหลายทางชีวภาพ จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างการปกป้อง ขึ้นมาใหม่ ในอนาคตการกำาหนดนโยบายด้านอาหารและเกษตร จำาเป็นต้องให้ ความสำาคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ ปัจจัยการผลิต (ใช้พื้นที่และนำ้าเพื่อการผลิตน้อยลง) การลดการพึ่งพาปัจจัย การผลิตที่ได้จากการผลิตพลังงานและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เช่น ปุ๋ยเคมี และ เคมีภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งราคาแปรผันตามราคาพลังงานเชื้อเพลิง การวิจัยและ พัฒนาเพื่อการผลิตอาหารอย่างยั่งยืน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย 2.2 สถานการณ์ด ้า นเกษตรและอาหารภายในประเทศ ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากความผันผวนของสภาวะการ เปลี่ยนแปลงของโลกอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยปัจจัยสำาคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรและอาหารของ ไทย ได้แก่ • การเปลียนแปลงของสภาพภูมอากาศ (climate change) ก่อให้ ่ ิ เกิดความผันผวนของฤดูกาล 5 ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. - 16 -
  • 17. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 การระบาดของแมลงศัตรูพชอย่างรุนแรง ภัยธรรมชาติ การ ื ขาดแคลนนำ้า และอุทกภัย ทำาให้ผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต ลดลง • ความผันผวนของราคาพลังงาน ราคานำ้ามันที่เพิ่มสูงขึ้น ทำาให้ ปัจจัยการผลิตจากฐานพลังงาน (ปุ๋ย เคมีภัณฑ์) เพิ่มสูงขึ้น หลายประเทศรวมทั้งไทย หันไปพี่งพิงพลังงานชีวภาพที่ใช้พืช อาหารบางชนิดและชีวมวลเป็นวัตถุดิบในการผลิต ด้วยราคา พลังงานที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดกระแสการปลูกพืชพลังงานเพิ่มขึ้น โดยลดพื้นที่เพาะ ปลูกพืชอาหาร ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงด้าน อาหารของประเทศไทย • ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย กระทบต่อการส่งออกผลิตภัณฑ์ สินค้าเกษตรและอาหารอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจาก ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารรายใหญ่ของโลก จากข้อมูลของ FAO ในปี พ.ศ.2548 ไทยถูกจัดเป็นผู้ผลิต สินค้าเกษตร 1 ใน 20 อันดับแรกสำาหรับสินค้าส่งออก 47 ชนิด • ความผันผวนของราคาผลผลิต ราคาสินค้าเกษตรของไทยมีแนว โน้มเปลี่ยนแปลงตามราคาตลาดโลก หากราคาสินค้าเกษตร ตกตำ่านอกจากจะเพิ่มความเสี่ยงให้กับรายได้ของเกษตรกรแล้ว ยังก่อให้เกิดการลดปริมาณการผลิตพืชอาหาร โดยหันไปผลิต พืชพลังงานมากขึ้น เนื่องจากราคาพลังงานยังคงมีแนวโน้มสูงขึ้น • วิถีการผลิต – บริโภคใหม่ เพื่อตอบสนอง หรือเอื้อต่อการกอบ โกยผลประโยชน์ทางการค้าเป็นหลัก ด้วยการเปลี่ยนระบบการ เพาะปลูกพืชที่หลากหลายของเกษตรกรรายย่อย เป็นการเพาะ ปลูกพืชเชิงเดี่ยวของเกษตรกรรายใหญ่ เพื่อป้อนอุตสาหกรรม เป็นสำาคัญ • เงื่อนไขความตกลงทางการค้ากับต่างประเทศ ทั้งกรอบความร่วม มือ FTA ASEAN และ WTO ล่าสุดมาตรการสร้างความมั่นคง ด้านอาหาร ที่ประเทศไทยต้องปรับตัวหากปฏิบัติตามข้อตกลง เหล่านั้น - 17 -
  • 18. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 2.2.1 ความมั่นคงด้านอาหาร ปัจจุบันหลายๆ ประเทศให้ความสำาคัญกับการแก้ไขปัญหาวิกฤต อาหาร และวิกฤตความอดอยากโลก จากข้อมูลของ FAO ระบุว่า ในปี 2010 มีประชากรทั่วโลกที่ยังยากจนและหิวโหยกว่า 925 ล้านคน 578 ล้านคนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกอยู่ในภาวะหิวโหย สำาหรับประเทศไทย ที่เป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและอาหาร 20 ลำาดับแรก สำาหรับ สินค้า 50 รายการ (ตารางที่ 2.3) แต่กลับมีผู้หิวโหยอยู่ถึง 10.7 ล้านคน (ตารางที่ 2.4) ตารางที่ 2.3 สิน ค้า ที่ป ระเทศไทยมีป ริม าณส่ง ออกมากที่ส ุด ใน ประเทศผู้ส ่ง ออก 20 ลำา ดับ แรก - 18 -
  • 19. Smart Farm Flagship มกราคม 2556 Ra Ra Ra Commodity Commodity Commodity nk nk nk Silk-worm Natural 1 3 1 1 6 cocoons, 13 Asparagus rubber 8 5 reelable 1 Fruit, tropical 3 2 1 Pineapples 7 13 Papayas 9 fresh nes 6 2 3 Chillies and 3 2 Canary seed 7 Rice, paddy 13 0 7 peppers, dry 2 3 4 2 Kapok Fibre 7 Castor oil seed 14 Fibre Crops Nes 1 8 2 3 5 2 Cassava 8 Ginger 15 Spices, nes 2 9 Kapokseed in 2 Pepper (Piper 4 Indigenous 6 2 8 15 Shell 3 spp.) 0 Geese Meat 2 Indigenous 4 7 4 Palm oil 8 16 Garlic 4 Buffalo Meat 1 2 4 8 4 Palm kernels 9 Maize, green 17 Fruit Fresh Nes 5 2 Other 2 4 Roots and 9 4 9 Pulses, nes 17 Bastfibres 6 3 Tubers, nes 1 2 Tangerines, 4 Indigenous 4 Jute 9 17 0 7 mandarins, clem. 4 Chicken Meat 1 2 4 Vegetables fresh 4 Sugar cane 9 Nuts, nes 18 1 8 5 nes 1 2 4 Indigenous 4 Cereals, nes 9 Bananas 18 2 9 6 Pigmeat Mangoes, 1 3 4 Lemons and 5 mangosteens, 10 Sesame seed 20 3 0 7 limes guavas Pumpkins, 1 3 4 6 Coconuts 12 Taro (cocoyam) 20 squash and 4 1 8 gourds 1 Indigenous 3 4 6 12 Beans, green 20 Watermelons 5 Duck Meat 2 9 - 19 -