SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
        คําว่า แพทยศาสตร์ นี้นับว่าเป็นปัญหาในการใช้ภาษาไทยเป็นอย่างมาก
ในวิถีการนําไปใช้ด้านการพูด (การออกเสียง) ซึ่งนักเรียนในโรงเรียนหรือ
แม้กระทั่งนักข่าวในสถานีวิทยุโทรทัศน์นั้นมักจะอ่านว่า แพด-สาด ซึ่งถือว่าผิด
หากอ่านให้ถูกต้องเราต้องอ่านออกเสียงว่า แพด-ทะ-ยะ-สาด แพทยศาสตร์คานี้     ํ
ถือว่าเป็นคําสมาสโดยต้องออกเสียง “อะ” ครึ่งเสียงระหว่างคําทั้งสอง
       คําว่า “คําสมาส” หลายคนคงเข้าใจกันมาบ้างแล้วใช่ไหมครับ หลายคน
อาจจะยังงง ๆ วันนี้จึงขอนําความรูเ้ รื่อง “คําสมาสมาฝากกันด้วย” ครับ

คําสมาสคืออะไร
        คําสมาส คือ คําที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤตเท่านั้น จํานวนคําตั้งแต่
๒ คําขึ้นไปนํามาสร้างให้ต่อกันซึ่งทําให้เกิดเป็นคําใหม่ (หลักการจํา สมาส --->
ชน, สนธิ--->เชื่อม) โดยที่เราแปลความหมายจากข้างหลังไปข้างหน้าหรือแปล
ความหมายจากข้างหน้าไปข้างหลัง (เป็นบางคํา)
        เวลาเราอ่านออกเสียงคําสมาส เราจะต้องอ่านออกเสียง “อะ” หรือ
อ่านแบบเรียงพยางค์ระหว่างคําทั้งสองนั้น

ตัวอย่างคําสมาส
กรรมการ             อ่านว่า    กํา-มะ-กาน (มาจากคําว่า กรฺม + การ)
คณบดี               อ่านว่า    คะ-นะ-บอ-ดี (มาจากคําว่า คณ + ปติ)
จิตรกร              อ่านว่า    จิต-ตฺระ-กอน (มาจากคําว่า จิตร + กร)
เจตคติ              อ่านว่า    เจ-ตะ-คะ-ติ
ชนบท                อ่านว่า    ชน-นะ-บด (มาจากคําว่า ชน + ปท)
ประถมศึกษา          อ่านว่า      ประ-ถม-มะ-สึก-สา
ประวัติศาสตร์       อ่านว่า      ประ-หวัด-ติ-สาด
มนุษยชน             อ่านว่า      มะ-นุด-สะ-ยะ-ชน
มัธยมศึกษา          อ่านว่า      มัด-ทะ-ยม-มะ-สึก-สา
มาตรฐาน             อ่านว่า      มาด-ตฺระ-ถาน
รัฐมนตรี            อ่านว่า      รัด-ถะ-มน-ตฺรี
วิทยบริการ          อ่านว่า      วิด-ทะ-ยะ-บอ-ริ-กาน
วิกฤตการณ์           อ่านว่า       วิ-กฺริด-ตะ-กาน
สัตวแพทย์            อ่านว่า       สัด-ตะ-วะ-แพด
สาธารณภัย            อ่านว่า       สา-ทา-ระ-นะ-ไพ
อุทกภัย              อ่านว่า       อุ-ทก-กะ-ไพ

คําสมาสบางคําไม่อ่านออกเสียงสระท้ายพยางค์ของคําหน้า
(ไม่อ่านออกเสียงอย่างสมาส)
      คําที่เป็นชื่อจังหวัด ไม่อ่านออกเสียง “อะ” ท้ายพยางค์ของคํา
หน้า ตัวอย่างเช่น ชลบุรี ชัยนาท นครพนม นครสวรรค์
ปทุมธานี ปราจีนบุรี ลพบุรี สกลนคร สมุทรปราการ สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร สุพรรณบุรี อุดรธานี อุทยธานี  ั

      ชื่อจังหวัดที่ต้องออกเสียงอย่างสมาส อ่านออกเสียง “อะ” ท้ายพยางค์
ของคําหน้า ตัวอย่างเช่น
      เพชรบุรี อ่านว่า เพ็ด-ชะ-บุ-รี
      เพชรบูรณ์ อ่านว่า เพ็ด-ชะ-บูน
      ราชบุรี อ่านว่า ราด-ชะ-บุ-รี

คําที่อ่านอย่างสมาสแต่ไม่ใช่คําสมาส
       นอกจากนี้ยังมีคาที่ไม่ใช่คําสมาสแต่อ่านอย่างสมาส (เป็นเพราะว่ามีคํา
                        ํ
หนึ่งมาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต และมีอีกคําหนึ่งที่มาจากภาษาไทยแท้หรือ
ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาดังกล่าว) ทั้งหมดนี้จัดว่าเป็นเป็นคําประสมซึ่งเป็นวิธีสร้าง
คําของไทย ตัวอย่างคํา เช่น
กรมขุน         อ่านว่า กฺรม-มะ-ขุน
กรมท่า         อ่านว่า กฺรม-มะ-ท่า
กรมพระ อ่านว่า กฺรม-มะ-พฺระ
กรมวัง         อ่านว่า กฺรม-มะ-วัง
กลเม็ด        อ่านว่า กน-ละ-เม็ด
คุณค่า          อ่านว่า คุน-นะ-ค่า
พระพุทธเจ้า อ่านว่า พฺระ-พุด-ทะ-เจ้า
ทุนทรัพย์    อ่านว่า   ทุน-นะ-ซับ (ทุน เป็นคําไทยแท้)
ผลไม้        อ่านว่า   ผน-ละ-ไม้
พลขับ        อ่านว่า   พน-ละ-ขับ
พลความ       อ่านว่า   พน-ละ-ความ
พลร่ม        อ่านว่า   พน-ละ-ร่ม
พลเมือง      อ่านว่า   พน-ละ-เมือง
พลเรือน      อ่านว่า   พน-ละ-เรือน
สรรพสินค้า   อ่านว่า   สับ-พะ-สิน-ค้า
สรรพสิ่ง     อ่านว่า   สับ-พะ-สิ่ง

       ดังนั้น จึงควรหันมาใส่ใจหลักการอ่านคําไทย เพือเราจะอ่านคําไทยได้
                                                    ่
อย่างถูกต้องไม่อายใครอันเป็นการรักษ์ภาษาไทยให้เป็นเอกลักษณ์หนึงที่สําคัญ
                                                              ่
ตราตรึงไว้ในใจคนไทยทุกนะครับ

                                                 โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล
                                                    โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร
                                       เผยแพร่วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
หนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลด
หนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลดหนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลด
หนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลดKruKaiNui
 
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)Suraiya Andris
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมWoraprom Hinmani
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้ssuser4f22d3
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำSiriporn Sonangam
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559ประพันธ์ เวารัมย์
 
ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันไดฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันไดY'Yuyee Raksaya
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคstudentkc3 TKC
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
Alcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketoneAlcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketonekruaoijaipcccr
 

La actualidad más candente (20)

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
หนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลด
หนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลดหนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลด
หนังสืออนุสรณ์ ม.3 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านห้วยปลาหลด
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 
ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันไดฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันได
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาค
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
Alcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketoneAlcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketone
 

Destacado

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Destacado (7)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar a 002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง

3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังVisanu Euarchukiati
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562Visanu Euarchukiati
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.จีระภา ตราโชว์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 

Similar a 002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง (20)

3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
 
Languageusage for radio writing
Languageusage for radio writingLanguageusage for radio writing
Languageusage for radio writing
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 

Más de Piyarerk Bunkoson

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1Piyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงPiyarerk Bunkoson
 

Más de Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 

002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง

  • 1. แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง คําว่า แพทยศาสตร์ นี้นับว่าเป็นปัญหาในการใช้ภาษาไทยเป็นอย่างมาก ในวิถีการนําไปใช้ด้านการพูด (การออกเสียง) ซึ่งนักเรียนในโรงเรียนหรือ แม้กระทั่งนักข่าวในสถานีวิทยุโทรทัศน์นั้นมักจะอ่านว่า แพด-สาด ซึ่งถือว่าผิด หากอ่านให้ถูกต้องเราต้องอ่านออกเสียงว่า แพด-ทะ-ยะ-สาด แพทยศาสตร์คานี้ ํ ถือว่าเป็นคําสมาสโดยต้องออกเสียง “อะ” ครึ่งเสียงระหว่างคําทั้งสอง คําว่า “คําสมาส” หลายคนคงเข้าใจกันมาบ้างแล้วใช่ไหมครับ หลายคน อาจจะยังงง ๆ วันนี้จึงขอนําความรูเ้ รื่อง “คําสมาสมาฝากกันด้วย” ครับ คําสมาสคืออะไร คําสมาส คือ คําที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤตเท่านั้น จํานวนคําตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไปนํามาสร้างให้ต่อกันซึ่งทําให้เกิดเป็นคําใหม่ (หลักการจํา สมาส ---> ชน, สนธิ--->เชื่อม) โดยที่เราแปลความหมายจากข้างหลังไปข้างหน้าหรือแปล ความหมายจากข้างหน้าไปข้างหลัง (เป็นบางคํา) เวลาเราอ่านออกเสียงคําสมาส เราจะต้องอ่านออกเสียง “อะ” หรือ อ่านแบบเรียงพยางค์ระหว่างคําทั้งสองนั้น ตัวอย่างคําสมาส กรรมการ อ่านว่า กํา-มะ-กาน (มาจากคําว่า กรฺม + การ) คณบดี อ่านว่า คะ-นะ-บอ-ดี (มาจากคําว่า คณ + ปติ) จิตรกร อ่านว่า จิต-ตฺระ-กอน (มาจากคําว่า จิตร + กร) เจตคติ อ่านว่า เจ-ตะ-คะ-ติ ชนบท อ่านว่า ชน-นะ-บด (มาจากคําว่า ชน + ปท) ประถมศึกษา อ่านว่า ประ-ถม-มะ-สึก-สา ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ-หวัด-ติ-สาด มนุษยชน อ่านว่า มะ-นุด-สะ-ยะ-ชน มัธยมศึกษา อ่านว่า มัด-ทะ-ยม-มะ-สึก-สา มาตรฐาน อ่านว่า มาด-ตฺระ-ถาน รัฐมนตรี อ่านว่า รัด-ถะ-มน-ตฺรี วิทยบริการ อ่านว่า วิด-ทะ-ยะ-บอ-ริ-กาน
  • 2. วิกฤตการณ์ อ่านว่า วิ-กฺริด-ตะ-กาน สัตวแพทย์ อ่านว่า สัด-ตะ-วะ-แพด สาธารณภัย อ่านว่า สา-ทา-ระ-นะ-ไพ อุทกภัย อ่านว่า อุ-ทก-กะ-ไพ คําสมาสบางคําไม่อ่านออกเสียงสระท้ายพยางค์ของคําหน้า (ไม่อ่านออกเสียงอย่างสมาส) คําที่เป็นชื่อจังหวัด ไม่อ่านออกเสียง “อะ” ท้ายพยางค์ของคํา หน้า ตัวอย่างเช่น ชลบุรี ชัยนาท นครพนม นครสวรรค์ ปทุมธานี ปราจีนบุรี ลพบุรี สกลนคร สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี อุดรธานี อุทยธานี ั ชื่อจังหวัดที่ต้องออกเสียงอย่างสมาส อ่านออกเสียง “อะ” ท้ายพยางค์ ของคําหน้า ตัวอย่างเช่น เพชรบุรี อ่านว่า เพ็ด-ชะ-บุ-รี เพชรบูรณ์ อ่านว่า เพ็ด-ชะ-บูน ราชบุรี อ่านว่า ราด-ชะ-บุ-รี คําที่อ่านอย่างสมาสแต่ไม่ใช่คําสมาส นอกจากนี้ยังมีคาที่ไม่ใช่คําสมาสแต่อ่านอย่างสมาส (เป็นเพราะว่ามีคํา ํ หนึ่งมาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต และมีอีกคําหนึ่งที่มาจากภาษาไทยแท้หรือ ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาดังกล่าว) ทั้งหมดนี้จัดว่าเป็นเป็นคําประสมซึ่งเป็นวิธีสร้าง คําของไทย ตัวอย่างคํา เช่น กรมขุน อ่านว่า กฺรม-มะ-ขุน กรมท่า อ่านว่า กฺรม-มะ-ท่า กรมพระ อ่านว่า กฺรม-มะ-พฺระ กรมวัง อ่านว่า กฺรม-มะ-วัง กลเม็ด อ่านว่า กน-ละ-เม็ด คุณค่า อ่านว่า คุน-นะ-ค่า พระพุทธเจ้า อ่านว่า พฺระ-พุด-ทะ-เจ้า
  • 3. ทุนทรัพย์ อ่านว่า ทุน-นะ-ซับ (ทุน เป็นคําไทยแท้) ผลไม้ อ่านว่า ผน-ละ-ไม้ พลขับ อ่านว่า พน-ละ-ขับ พลความ อ่านว่า พน-ละ-ความ พลร่ม อ่านว่า พน-ละ-ร่ม พลเมือง อ่านว่า พน-ละ-เมือง พลเรือน อ่านว่า พน-ละ-เรือน สรรพสินค้า อ่านว่า สับ-พะ-สิน-ค้า สรรพสิ่ง อ่านว่า สับ-พะ-สิ่ง ดังนั้น จึงควรหันมาใส่ใจหลักการอ่านคําไทย เพือเราจะอ่านคําไทยได้ ่ อย่างถูกต้องไม่อายใครอันเป็นการรักษ์ภาษาไทยให้เป็นเอกลักษณ์หนึงที่สําคัญ ่ ตราตรึงไว้ในใจคนไทยทุกนะครับ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร เผยแพร่วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖