SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
โครงงานคอมพิวเตอร์

                 สื่อคลิปวิดโอ เรื่อง การอนุรักษ์ พนธุ์ปูม้า
                            ี                      ั

                                 จัดทาโดย

                     ๑. นายกฤษณะ            ภักดีวิเศษ
                     ๒. นายสิ ทธิศกดิ์ เถื่อนพนม
                                  ั
                     ๓. นายศิริเทพ          ทศรัตน์
                     ๔. นายสุทธิวฒน์ คงทรัพย์
                                 ั
                     ๕. นางสาวชญานี เครื อวัลย์
                     ๖. นางสาวปาริ ชาต ตั้งทรงเกียรติ
                     ๗. นายวัชรพงศ์         บัวแก้ว
                     ๘. นายสหรัฐ            ยิมภักดี
                                              ้
                     ๙. นางสาวมัทนา อานามนารถ
                                   เสนอ

                      อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ

โครงงานงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ( ง ๓๑๑๐๒)

                    ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๕

      โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

            สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗
                         ้
บทที่ ๑

                                            บทนา

ทีมาและความสาคัญของโครงงาน
  ่

    เนื่ องจากในอดีตชาวประมงจับสัตว์น้ าเป็ นจานวนเยอะมาก และไม่มีการปล่อยกลับลงสู่
ทะเลทาให้จานวนสัตว์น้ ามีจานวนลดน้อยลงเรื่ อยๆ จึงทาให้มีการก่อตั้งธนาคารเพาะพันธุ์ปูมา
                                                                                      ้
ร่ วมกับกลุ่มอนุรักษ์ ที่บานแหลมกลัด ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมือง จังหวัดตราด เพื่อขยายพันธุ์
                          ้
สัตว์น้ าโดยเฉพาะปูมา เราจึงต้องการนาเสนอเกี่ยวกับการอนุรักษ์พนธุ์ปูมาเพื่อเป็ นการปลูกฝัง
                    ้                                         ั      ้
ให้มีการเห็นความสาคัญของการอนุรักษ์ปูมา โดยนาเสนอออกมาในรู ปแบบของสารคดี
                                      ้

วัตถุประสงค์

       ๑. เพื่อสร้างสื่ อการศึกษาในรู ปแบบคลิปวีดิโอเป็ นสารคดีเรื่ องการอนุรักษ์พนธุ์ปูมา
                                                                                  ั      ้

       ๒. เพื่อเป็ นการเผยแพร่ การอนุรักษ์พนธุ์ปูมา
                                           ั      ้

ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ
          ี่

       ๑. มีสื่อรู ปแบบคลิปวีดิโอเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปูมา
                                                        ้

       ๒. ให้ผที่สนใจได้ศึกษาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปูมา
              ู้                                    ้

       ๓. ส่ งเสริ มเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปูให้มีทรัพยากรธรรมชาติที่ยงยืน
                                                                   ั่

       ๔. ฝึ กการทางานเป็ นทีม

ขอบเขตของการศึกษา

   - ถ่ายทาสารคดีที่บานแหลมกลัด ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมือง จังหวัดตราด
                     ้
บทที่ ๒

                                       เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                                                    ่

       ปู ม้ า มี ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า Portunus pelagicus มี ชื่ อ ส า มั ญ ว่ า Blue
                                              ่                         ่
swimming crab หรื อ Swimming crab มีถิ่นที่อยูอาศัย และการแพร่ กระจายอยูในเขตร้อนบริ เวณ
ใกล้ช ายฝั่ ง ในประเทศไทยสามารถพบปูม าได้ทั่วไปตามชายฝั่ งของประเทศในทุ ก จัง หวัด
                                     ้
บริ เวณพื้นท้องทะเลที่เป็ นโคลน ทราย และโคลนปนทราย

         ปูมา และปูทะเลนอกจากจะนิยมบริ โภคกันภายในประเทศแล้ว ยังเป็ นที่ตองการของ
            ้                                                                       ้
                                                       ั
ตลาดต่างประเทศอีกด้วย ซึ่งผลิตภัณฑ์จากปูทารายได้ให้กบประเทศคิดเป็ นมูลค่าหลายพันล้าน
บาทต่อปี จึงทาให้เกิดความพยายามทาการประมงปูมา และปูทะเลในหลากหลายรู ปแบบ ไม่วา
                                                   ้                                             ่
จะด้วยรู ปแบบของเครื่ องมือประมงที่ใช้ เช่น การใช้ลอบพับดักปู การใช้อวนจมปู หรื อรู ปแบบ
ของวิธีการทาประมงเอง เช่น การจับปูขนาดเล็กมาขุนเป็ นปูเนื้อ ปูไข่ หรื อเลี้ยงเป็ นปูนิ่ม เพื่อให้
ได้มาซึ่งปูมา และปูทะเลในรู ปลักษณ์ที่นิยมบริ โภค และในปริ มาณที่มากพอสาหรับป้ อนสู่
              ้
ตลาดทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ซึ่งการประมงในรู ปแบบดังกล่าวต้องเกี่ยวข้องกับการ
จับปูขนาดเล็กจากธรรมชาติข้ ึนมาในปริ มาณมาก จึงย่อมส่ งผลกระทบโดยตรงต่อประชากรปู
                                                                   ่
ในธรรมชาติ ยิงไปกว่านั้นยังปรากฏอีกว่าพื้นที่หากิน หรื อแหล่งที่อยูอาศัย หรื อแหล่งเลี้ยงตัว
                 ่
อ่อนตามธรรมชาติของทั้งปูมา และปูทะเล เช่น ป่ าชายเลน มีสภาพเสื่ อมโทรม และลดน้อยลง
                            ้
                                                       ่็
อย่างมาก อีกทั้งระบบนิเวศวิทยาตามป่ าชายเลนที่เหลืออยูกถูกทาลาย จึงเป็ นเหตุให้เกิดการทา
การประมงปูในปริ มาณที่เกินกาลังผลิตของธรรมชาติข้ ึนอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลานาน ส่ งผลให้
ปัจจุบนปริ มาณของประชากรปูในธรรมชาติลดลง และมีแนวโน้มลดลงอีกเรื่ อยๆ
       ั
         จากข้อมูลสถิติการประมงแห่งประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ปริ มาณปูที่จบได้          ั
มีปริ มาณสู งถึง ๕๕,๔๐๐ ตัน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ปริ มาณปูที่จบได้ลดลงเหลือ ๔๒,๒๐๐ ตัน
                                                            ั
และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ปริ มาณปูที่จบได้ลดลงไปอีกเหลือ ๓๑,๖๐๐ ตัน โดยผลผลิตของปูที่จบ
                                  ั                                                            ั
ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ลดลงไปจากปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง ๕๗.๐๓% หรื อลดลงเฉลี่ยปี ละ ๕.๗๐%
ด้วยเหตุน้ ี การศึกษาวิจยด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรปูในธรรมชาติจึงจาเป็ นต้องเข้ามามี
                                ั
บทบาทมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อการบริ หารจัดการทรัพยากรปูอย่างเป็ นรู ปธรรม และเพื่อให้ผลผลิต
ของปูที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเข้ามาทดแทนผลผลิตปูจากธรรมชาติ ซึ่งจะนาไปสู่ การสร้างอาชีพที่
ยังยืนให้แก่ชาวประมงได้
  ่

การอนุรักษ์ ทรัพยากรปูในธรรมชาติ
            ปัจจุบนทรัพยากรปูมาและปูทะเลในธรรมชาติมีปริ มาณลดลง และมีแนวโน้มลดลง
                   ั             ้
อีกเรื่ อยๆ ดังนั้น การศึกษาวิจยด้านการเพาะเลี้ยงปูมาและปูทะเลเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรปูใน
                               ั                    ้
ธรรมชาติจึงจาเป็ นต้องเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทั้งนี้เพื่อการบริ หารจัดการทรัพยากรปูอย่างเป็ น
รู ปธรรม และเพื่อให้ผลผลิตของปูที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเข้ามาทดแทนผลผลิตปูจากธรรมชาติ
ซึ่งสามารถแบ่งรู ปแบบหรื อแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรปูในธรรมชาติได้ ๒ รู ปแบบ คือ การ
ทาธนาคารปู และการเพาะอนุบาลลูกปูในโรงเรื อนเพื่อปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ

การทาธนาคารปู
           ธนาคารปู หมายถึง การนาแม่ปูที่มีไข่แก่ติดหน้าท้อง หรื อที่เรี ยกว่า ไข่นอกกระดอง
                         ่
มาฝากขังไว้ในกระชังที่อยูในทะเล หรื อถังน้ าในโรงเรื อน ซึ่งแม่ปูที่มีไข่ติดหน้าท้องจะมีสี
                                                                                ่
ต่างกันออกไป เนื่องจากไข่แก่ไม่เท่ากัน คือ ไข่ที่มีสีเหลือง-ส้มใช้ระยะเวลาอยูในธนาคารปู ๔-
๗ วัน สี น้ าตาล ๒-๔ วัน สี เทาดา ๑-๒ วัน เมื่อแม่ปูเขี่ยไข่ออกจากหน้าท้องแล้วจึงนาแม่ปูไป
ขาย ไข่ที่ถูกเขี่ยออกจากตัวแม่กจะฟักเป็ นตัวอ่อนระยะซูเอี้ย หลังจากนั้นจะถูกปล่อยลงสู่
                                 ็
ธรรมชาติ
                                                      ่ ั
           การจัดการธนาคารปูมีหลายวิธี ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ถ้าเป็ น
บริ เวณที่หลบคลื่นลมอาจใช้กระชังขนาดใหญ่ได้               หรื อถ้ามีคลื่นลมเฉพาะบางเดือนอาจใช้
กระชังขนาดเล็ก ซึ่งสามารถเก็บขึ้นได้สะดวกในช่วงลมมรสุ มแรง หรื อถ้าบริ เวณใดมีคลื่นลม
แรง และมีสถานที่และงบประมาณก็สามารถสร้างโรงเรื อนเล็กๆ ใกล้ชายฝั่งได้ โดยเพาะฟักแม่
ปูไข่นอกกระดองในถังเพาะฟัก
รู ปแบบของการทาธนาคารปูมดังต่ อไปนี้
                        ี

        ๑. แบบกระชังที่ยดไว้ในทะเล
                        ึ
        ๒. แบบโรงเรื อนในหมู่บานชาวประมง
                              ้

การเพาะอนุบาลลูกปูในโรงเรือนเพือปล่ อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ
                                 ่
         งานวิจยเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปูมา และปูทะเลในประเทศไทยระยะแรกนั้น จะเป็ น
               ั                           ้
รู ปแบบการผลิตปูเพื่อปล่อยลงสู่ แหล่งน้ าธรรมชาติ ต่อมามีการพัฒนารู ปแบบวิธีการเพาะพันธุ์
และอนุ บาลลูกปู เพื่อให้มีผลผลิต และอัตรารอดตายที่สูงขึ้น เพื่อให้ได้ลูกปูที่มีปริ มาณเพียง
พอที่จะขยายผลไปสู่ การอนุ รักษ์ทรัพยากรปูในธรรมชาติ และการเลี้ยงปูเพื่อประกอบอาชี พ
ต่อไป

๑. การเพาะพันธุ์ปู
             การเพาะพันธุ์ปูในปั จจุบนจะใช้แม่ปูไข่นอกกระดองที่จบได้จากธรรมชาติ แม่พนธุ์ปู
                                        ั                                 ั                         ั
ไข่นอกกระดองที่ได้จากการเลี้ยง และเพาะพันธุ์จากไข่ท่ี ติดอยู่กบจับปิ้ งแม่ ปูท่ี เหลือทิ้งจาก
                                                                             ั
สถานที่ที่มีโรงต้มและมีการแกะเนื้อปู
             การเพาะพันธุ์ปูโดยใช้แม่ปูจากธรรมชาติ หรื อแม่ปูที่ได้จากการเลี้ยงนิยมนาแม่ปูที่มี
                                                               ่ ั
ไข่นอกกระดองมาเพาะฟั ก ซึ่ งไข่นอกกระดองนี้จะติดอยูที่จบปิ้ ง สี ของไข่นอกกระดองจะมีท้ ง               ั
สี เ หลื อ ง สี เ หลื อ งอมส้ ม สี น าตาล และสี เ ทาอมด า เมื่ อ ได้แ ม่ ปู ที่ มี ไ ข่ น อกกระดองมาแล้ว
โดยเฉพาะไข่นอกกระดองที่มีสีเทาดา ให้ปล่อยแม่ปูลงถังเพาะฟั ก ขนาด ๑๐๐ - ๒๐๐ ลิตร ใน
อัตราแม่ปู ๑ ตัว/ถัง พร้อมกับการให้อากาศ โดยใช้น้ าความเค็ม ๒๘-๓๓ ppt ความเป็ นกรดเป็ น
         ่
ด่างอยูที่ ๘.๐-๘.๓ ระหว่างการเพาะฟั กไม่มีการให้อาหารเนื่องจากแม่ปูที่มีไข่สีเทาดาไข่จะฟั ก
ออกเป็ นตัวภายใน ๑ - ๒ วัน ส่ วนในกรณี ที่ได้แม่ปูท่ีมีไข่สีเหลืองถึงสี น้ าตาลควรนามาเลี้ยงขุน
                                                                                     ่
ก่อน โดยอาหารที่ใช้ในการเลี้ยงขุน ได้แก่ ปลาเป็ ดสด ซึ่ งแม่ปูที่มีไข่อยูในระยะนี้จะใช้เวลาใน
การพัฒนาระยะเป็ นไข่สีเทาดาประมาณ ๒-๕ วัน เมื่อลูกปูฟักออกเป็ นตัวแล้ว ก็ปล่อยกลับคืนสู่
ธรรมชาติ
ส่ วนการเพาะพันธุ์โดยใช้ไข่ที่ติดอยู่กบจับปิ้ งแม่ปูที่เหลือทิ้ง เมื่อได้จบปิ้ งมาแล้วนา
                                                   ั                                   ั
จับปิ้ งใส่ ในกะละมังที่มีน้ าทะเลสะอาด แยกไข่ออกจากจับปิ้ งโดยใช้มือถูเบาๆ ในน้ า จากนั้น
กรองเอาสิ่ งสกปรกและไข่ที่จบเป็ นก้อนออก ล้างด้วยน้ าสะอาด ๓-๔ ครั้ง แล้วนาไข่ไปบ่มฟั ก
                                ั
ในถังเพาะฟัก พร้อมให้อากาศ เมื่อลูกปูฟักออกเป็ นตัวแล้ว ก็ปล่อยคืนสู่ ธรรมชาติ
                                     ่ ั
             ปริ มาณไข่ของปูจะขึ้นอยูกบขนาด อายุ และความสมบูรณ์ของแม่ปู โดยทัวไปแม่ปูมา    ่        ้
ที่มีขนาดความกว้างกระดอง ๔.๕- ๑๖.๔ ซม. จะมีไข่นอกกระดองประมาณ ๓๐๐,๐๐๐-
๑,๓๖๐,๐๐๐ ฟอง ส่ วนปูทะเลที่มีขนาดความกว้างกระดอง ๙.๓- ๑๔.๔ ซม. จะมีปริ มาณไข่นอก
กระดองประมาณ ๑,๗๐๐,๐๐๐-๓,๑๙๐,๐๐๐ ฟอง

๒. การอนุบาลลูกปู
            การอนุ บาลลูกปูเพื่อปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติเป็ นอีกแนวทางหนึ่ ง ที่จะช่ วยอนุ รักษ์
ทรัพยากรปูในธรรมชาติได้ โดยมีข้ นตอนการดาเนินการดังนี้
                                           ั
            ๒.๑ การเตรี ยมบ่ออนุบาลลูกปู
                      บ่อที่ใช้ในการอนุบาลส่ วนมากมีขนาด ๑- ๓ ลบ.ม. ซึ่ งมีท้ งบ่อซี เมนต์ และ
                                                                              ั
                                     ่ ั
บ่อที่เป็ นถังไฟเบอร์ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบความเหมาะสมของสถานที่ และงบประมาณของผูเ้ ลี้ยง น้ าที่
ใช้ในการอนุ บาลลูกปูควรเป็ นน้ าที่มีความเค็ม ๒๘ - ๓๓ ppt ความเป็ นกรดเป็ นด่าง ๘.๐-๘.๕
ความเป็ นด่าง ๑๒๐-๑๕๐ มก./ลิตร ซึ่ งหลักการเตรี ยมน้ า และเตรี ยมบ่อที่ใช้ในการอนุบาลลูกปู
ก็เป็ นไปตามหลักการการเพาะอนุบาลลูกสัตว์น้ าทัวไป    ่
            ๒.๒ การเตรี ยมอาหารลูกปูวยอ่อน     ั
                      ปูมา และปูทะเลตลอดทั้งวงจรชี วิตจัดเป็ นพวกสัตว์กินเนื้อ โดยในระยะวัย
                            ้
อ่อนจะกินแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก เมื่อโตขึ้นก็จะกินพวกอาหารที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน อาหารที่
ใช้ในการอนุบาลลูกปูวยอ่อนได้แก่ โรติเฟอร์ อาร์ทีเมียแรกฟัก ไรแดง และอาร์ทีเมียตัวเต็มวัย
                          ั
            ๒.๓ การอนุบาลลูกปูวยอ่อน     ั
                      การพัฒนาการของลูกปูมา และปูทะเลวัยอ่อนจะเริ่ มจากระยะซูเอี้ย ซึ่ งเป็ น
                                                 ้
ตัว อ่ อ นระยะแรกของลูก ปูห ลัง ฟั กออกจากไข่ โดยปูม ้าจะใช้ระยะเวลาในการพัฒ นาระยะ
ประมาณ ๑๐-๑๔ วัน ปูทะเลใช้เวลาในการพัฒนาระยะประมาณ ๑๕-๒๐ วัน จึงเข้าสู่ ปูวยอ่อน          ั
                                             ่
ระยะที่ ๒ คือ ระยะเมกาโลปา และอยูในระยะนี้ประมาณ ๔-๕ วัน และ ๕-๗ วัน ของปูมา และ        ้
ปูทะเล ตามลาดับ จึงเข้าสู่ ระยะลูกปูที่มีรูปร่ างเหมือนพ่อแม่
ปล่อยลูกปูระยะซูเอี้ยที่อตราความหนาแน่น ๕๐,๐๐๐ – ๑๐๐,๐๐๐ ตัว/ลบ.ม. อนุบาล
                                     ั
ลูกปูระยะซูเอี้ยด้วยโรติเฟอร์ พอลูกปูเข้าสู่ ระยะเมกาโลปา อนุ บาลลูกปูดวยอาร์ ทีเมียแรกฟั ก
                                                                            ้
หรื อไรแดง จนกว่าลูกปูเข้าสู่ ระยะที่มีรูปร่ างเหมือนพ่อแม่ ซึ่ งระยะเวลาการอนุบาลลูกปูแรกฟั ก
จนถึงระยะที่ลูกปูมีรูปร่ างเหมือนพ่อแม่ของปูมาใช้เวลาประมาณ ๑๗-๒๐ วัน ของปูทะเลใช้
                                                    ้
เวลาประมาณ ๒๕-๓๐ วัน ซึ่งเป็ นระยะที่พร้อมปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ
บทที่ ๓

                                   ขั้นตอนการดาเนินงาน

ขั้นเตรียมการ

๑. ประชุมวางแผนโครงงาน

๒. ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปู

๓. สารวจสอบถามผูรู้
                ้

๔. เขียนรายงาน

๕. ดาเนินการถ่ายทาวีดีโอ

๖. ตัดต่อวีดีโอด้วยโปรแกรม Ulead 10

๗. นาเสนอและปรับปรุ งผลงาน

๘. เผยแพร่ ผลงาน
บทที่ ๔

                                       ผลการศึกษาค้ นคว้ า

         จากการทางานเพื่อสร้างสื่ อเกี่ยวกับการอนุรักษ์พนธ์ปูมาพบว่ามีการดาเนินการ ดังนี้
                                                        ั     ้

วัสดุอปกรณ์ ทใช้ ในการทางานเกียวกับการอนุรักษ์ พนธ์ ปูม้า
      ุ      ี่               ่                 ั

๑. เครื่ องผลิตออกซิ เจน
๒. ถังใส่ ปู
๓. สายออกซิเจน
๔. สวิงช้อนปู
วิธีทา
๑. นาปูไข่ที่จบมาได้จากทะเลคัดแยกใส่ ถง ถังละตัว
              ั                       ั
๒. ใส่ น้ า รอจนกว่าปูจะสลัดไข่ออกจากกระดองจนหมด
๓. ทิงไว้ซกระยะ เพื่อได้ระยะที่เหมาะสมพร้อมปล่อยลงสู่ ทะเล
     ้ ั


         ผลงานสารคดีคลิปวีดิโอเกี่ยวกับการอนุรักษ์พนธุ์ปูเป็ นวีดีโอ ดังนี้
                                                   ั
บทที่ ๕

                       สรุปผลการศึกษาค้นคว้าและข้ อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
        จากการที่เราได้ทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างสื่ อคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการอนุ รักษ์
พันธ์ปูมา ทาให้ได้รับความรู ้เกี่ยวกับความเป็ นมาการเพาะพันธ์ปูมา ความสาคัญ เพื่อเผยแพร่ ให้
        ้                                                       ้
ผูที่สนใจได้ศึกษา และเป็ นแนวทางในการดาเนิ นการดังกล่าว เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่ งในการร่ วม
  ้
                                                               ่
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญของจังหวัดตราด และจังหวัดที่อยูติดทะเลต่อไป เพราะหาก
ไม่มีการเพาะพันธ์ปุมาแล้ว อาจจะทาให้ปูมาสู ญพันธุ์ไป ส่ งผลกระทบต่อการดาเนิ นชี วิตของ
                    ้                  ้
ชาวประมง ทาให้ไม่มีแหล่งทามาหากิน ขาดรายได้ในการจับปูมาไปขาย หรื อนาไปประกอบ
                                                      ้
อาหาร

ข้ อเสนอแนะ
๑. อยากให้มีเวลามากกว่านี้ค่ะ

๒. อยากให้เพื่อนๆ ช่วยกันทาอีกหน่อยค่ะ

๓. ควรขยายผลโครงงานสู่ ชุมชนที่ยงไม่มีกิจกรรมการอนุรักษ์พนธุ์ปูในจังหวัดตราดต่อไป
                                ั                        ั
ภาคผนวก
Story Board
บรรณานุกรม
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2
[เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕]

http://www.aquatoyou.com/index.php/๒๐๑๐-๐๑-๐๘-๑๔-๑๕-๒๙/๒๓-scylla?start=๑๐ [เข้าถึง ๒๐
ธันวาคม ๒๕๕๕]

http://www.nicaonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=๖๑๗:๒๐๑๒-๐๒-๒๒-
๐๗-๕๖-๒๘&catid=๓๘:๒๐๑๒-๐๒-๒๐-๐๒-๕๘-๓๙&Itemid=๑๒๐ [เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕]

http://www.fisheries.go.th/fpo-
prachuap/index.php?Itemid=161&id=7&option=com_content&view=article [เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม
๒๕๕๕]

Más contenido relacionado

Similar a บทที่ 1

โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
Ploy Benjawan
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
pangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
mingpimon
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
savokclash
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
fainaja
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
aunun
 
งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21
joy1221
 

Similar a บทที่ 1 (20)

โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 

Más de KruPor Sirirat Namthai

Más de KruPor Sirirat Namthai (20)

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
 
หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 

บทที่ 1

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อคลิปวิดโอ เรื่อง การอนุรักษ์ พนธุ์ปูม้า ี ั จัดทาโดย ๑. นายกฤษณะ ภักดีวิเศษ ๒. นายสิ ทธิศกดิ์ เถื่อนพนม ั ๓. นายศิริเทพ ทศรัตน์ ๔. นายสุทธิวฒน์ คงทรัพย์ ั ๕. นางสาวชญานี เครื อวัลย์ ๖. นางสาวปาริ ชาต ตั้งทรงเกียรติ ๗. นายวัชรพงศ์ บัวแก้ว ๘. นายสหรัฐ ยิมภักดี ้ ๙. นางสาวมัทนา อานามนารถ เสนอ อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ โครงงานงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ( ง ๓๑๑๐๒) ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗ ้
  • 2. บทที่ ๑ บทนา ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ เนื่ องจากในอดีตชาวประมงจับสัตว์น้ าเป็ นจานวนเยอะมาก และไม่มีการปล่อยกลับลงสู่ ทะเลทาให้จานวนสัตว์น้ ามีจานวนลดน้อยลงเรื่ อยๆ จึงทาให้มีการก่อตั้งธนาคารเพาะพันธุ์ปูมา ้ ร่ วมกับกลุ่มอนุรักษ์ ที่บานแหลมกลัด ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมือง จังหวัดตราด เพื่อขยายพันธุ์ ้ สัตว์น้ าโดยเฉพาะปูมา เราจึงต้องการนาเสนอเกี่ยวกับการอนุรักษ์พนธุ์ปูมาเพื่อเป็ นการปลูกฝัง ้ ั ้ ให้มีการเห็นความสาคัญของการอนุรักษ์ปูมา โดยนาเสนอออกมาในรู ปแบบของสารคดี ้ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างสื่ อการศึกษาในรู ปแบบคลิปวีดิโอเป็ นสารคดีเรื่ องการอนุรักษ์พนธุ์ปูมา ั ้ ๒. เพื่อเป็ นการเผยแพร่ การอนุรักษ์พนธุ์ปูมา ั ้ ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ ี่ ๑. มีสื่อรู ปแบบคลิปวีดิโอเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปูมา ้ ๒. ให้ผที่สนใจได้ศึกษาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปูมา ู้ ้ ๓. ส่ งเสริ มเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปูให้มีทรัพยากรธรรมชาติที่ยงยืน ั่ ๔. ฝึ กการทางานเป็ นทีม ขอบเขตของการศึกษา - ถ่ายทาสารคดีที่บานแหลมกลัด ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมือง จังหวัดตราด ้
  • 3. บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ ปู ม้ า มี ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า Portunus pelagicus มี ชื่ อ ส า มั ญ ว่ า Blue ่ ่ swimming crab หรื อ Swimming crab มีถิ่นที่อยูอาศัย และการแพร่ กระจายอยูในเขตร้อนบริ เวณ ใกล้ช ายฝั่ ง ในประเทศไทยสามารถพบปูม าได้ทั่วไปตามชายฝั่ งของประเทศในทุ ก จัง หวัด ้ บริ เวณพื้นท้องทะเลที่เป็ นโคลน ทราย และโคลนปนทราย ปูมา และปูทะเลนอกจากจะนิยมบริ โภคกันภายในประเทศแล้ว ยังเป็ นที่ตองการของ ้ ้ ั ตลาดต่างประเทศอีกด้วย ซึ่งผลิตภัณฑ์จากปูทารายได้ให้กบประเทศคิดเป็ นมูลค่าหลายพันล้าน บาทต่อปี จึงทาให้เกิดความพยายามทาการประมงปูมา และปูทะเลในหลากหลายรู ปแบบ ไม่วา ้ ่ จะด้วยรู ปแบบของเครื่ องมือประมงที่ใช้ เช่น การใช้ลอบพับดักปู การใช้อวนจมปู หรื อรู ปแบบ ของวิธีการทาประมงเอง เช่น การจับปูขนาดเล็กมาขุนเป็ นปูเนื้อ ปูไข่ หรื อเลี้ยงเป็ นปูนิ่ม เพื่อให้ ได้มาซึ่งปูมา และปูทะเลในรู ปลักษณ์ที่นิยมบริ โภค และในปริ มาณที่มากพอสาหรับป้ อนสู่ ้ ตลาดทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ซึ่งการประมงในรู ปแบบดังกล่าวต้องเกี่ยวข้องกับการ จับปูขนาดเล็กจากธรรมชาติข้ ึนมาในปริ มาณมาก จึงย่อมส่ งผลกระทบโดยตรงต่อประชากรปู ่ ในธรรมชาติ ยิงไปกว่านั้นยังปรากฏอีกว่าพื้นที่หากิน หรื อแหล่งที่อยูอาศัย หรื อแหล่งเลี้ยงตัว ่ อ่อนตามธรรมชาติของทั้งปูมา และปูทะเล เช่น ป่ าชายเลน มีสภาพเสื่ อมโทรม และลดน้อยลง ้ ่็ อย่างมาก อีกทั้งระบบนิเวศวิทยาตามป่ าชายเลนที่เหลืออยูกถูกทาลาย จึงเป็ นเหตุให้เกิดการทา การประมงปูในปริ มาณที่เกินกาลังผลิตของธรรมชาติข้ ึนอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลานาน ส่ งผลให้ ปัจจุบนปริ มาณของประชากรปูในธรรมชาติลดลง และมีแนวโน้มลดลงอีกเรื่ อยๆ ั จากข้อมูลสถิติการประมงแห่งประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ปริ มาณปูที่จบได้ ั มีปริ มาณสู งถึง ๕๕,๔๐๐ ตัน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ปริ มาณปูที่จบได้ลดลงเหลือ ๔๒,๒๐๐ ตัน ั และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ปริ มาณปูที่จบได้ลดลงไปอีกเหลือ ๓๑,๖๐๐ ตัน โดยผลผลิตของปูที่จบ ั ั ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ลดลงไปจากปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง ๕๗.๐๓% หรื อลดลงเฉลี่ยปี ละ ๕.๗๐%
  • 4. ด้วยเหตุน้ ี การศึกษาวิจยด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรปูในธรรมชาติจึงจาเป็ นต้องเข้ามามี ั บทบาทมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อการบริ หารจัดการทรัพยากรปูอย่างเป็ นรู ปธรรม และเพื่อให้ผลผลิต ของปูที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเข้ามาทดแทนผลผลิตปูจากธรรมชาติ ซึ่งจะนาไปสู่ การสร้างอาชีพที่ ยังยืนให้แก่ชาวประมงได้ ่ การอนุรักษ์ ทรัพยากรปูในธรรมชาติ ปัจจุบนทรัพยากรปูมาและปูทะเลในธรรมชาติมีปริ มาณลดลง และมีแนวโน้มลดลง ั ้ อีกเรื่ อยๆ ดังนั้น การศึกษาวิจยด้านการเพาะเลี้ยงปูมาและปูทะเลเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรปูใน ั ้ ธรรมชาติจึงจาเป็ นต้องเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทั้งนี้เพื่อการบริ หารจัดการทรัพยากรปูอย่างเป็ น รู ปธรรม และเพื่อให้ผลผลิตของปูที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเข้ามาทดแทนผลผลิตปูจากธรรมชาติ ซึ่งสามารถแบ่งรู ปแบบหรื อแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรปูในธรรมชาติได้ ๒ รู ปแบบ คือ การ ทาธนาคารปู และการเพาะอนุบาลลูกปูในโรงเรื อนเพื่อปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ การทาธนาคารปู ธนาคารปู หมายถึง การนาแม่ปูที่มีไข่แก่ติดหน้าท้อง หรื อที่เรี ยกว่า ไข่นอกกระดอง ่ มาฝากขังไว้ในกระชังที่อยูในทะเล หรื อถังน้ าในโรงเรื อน ซึ่งแม่ปูที่มีไข่ติดหน้าท้องจะมีสี ่ ต่างกันออกไป เนื่องจากไข่แก่ไม่เท่ากัน คือ ไข่ที่มีสีเหลือง-ส้มใช้ระยะเวลาอยูในธนาคารปู ๔- ๗ วัน สี น้ าตาล ๒-๔ วัน สี เทาดา ๑-๒ วัน เมื่อแม่ปูเขี่ยไข่ออกจากหน้าท้องแล้วจึงนาแม่ปูไป ขาย ไข่ที่ถูกเขี่ยออกจากตัวแม่กจะฟักเป็ นตัวอ่อนระยะซูเอี้ย หลังจากนั้นจะถูกปล่อยลงสู่ ็ ธรรมชาติ ่ ั การจัดการธนาคารปูมีหลายวิธี ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ถ้าเป็ น บริ เวณที่หลบคลื่นลมอาจใช้กระชังขนาดใหญ่ได้ หรื อถ้ามีคลื่นลมเฉพาะบางเดือนอาจใช้ กระชังขนาดเล็ก ซึ่งสามารถเก็บขึ้นได้สะดวกในช่วงลมมรสุ มแรง หรื อถ้าบริ เวณใดมีคลื่นลม แรง และมีสถานที่และงบประมาณก็สามารถสร้างโรงเรื อนเล็กๆ ใกล้ชายฝั่งได้ โดยเพาะฟักแม่ ปูไข่นอกกระดองในถังเพาะฟัก
  • 5. รู ปแบบของการทาธนาคารปูมดังต่ อไปนี้ ี ๑. แบบกระชังที่ยดไว้ในทะเล ึ ๒. แบบโรงเรื อนในหมู่บานชาวประมง ้ การเพาะอนุบาลลูกปูในโรงเรือนเพือปล่ อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ ่ งานวิจยเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปูมา และปูทะเลในประเทศไทยระยะแรกนั้น จะเป็ น ั ้ รู ปแบบการผลิตปูเพื่อปล่อยลงสู่ แหล่งน้ าธรรมชาติ ต่อมามีการพัฒนารู ปแบบวิธีการเพาะพันธุ์ และอนุ บาลลูกปู เพื่อให้มีผลผลิต และอัตรารอดตายที่สูงขึ้น เพื่อให้ได้ลูกปูที่มีปริ มาณเพียง พอที่จะขยายผลไปสู่ การอนุ รักษ์ทรัพยากรปูในธรรมชาติ และการเลี้ยงปูเพื่อประกอบอาชี พ ต่อไป ๑. การเพาะพันธุ์ปู การเพาะพันธุ์ปูในปั จจุบนจะใช้แม่ปูไข่นอกกระดองที่จบได้จากธรรมชาติ แม่พนธุ์ปู ั ั ั ไข่นอกกระดองที่ได้จากการเลี้ยง และเพาะพันธุ์จากไข่ท่ี ติดอยู่กบจับปิ้ งแม่ ปูท่ี เหลือทิ้งจาก ั สถานที่ที่มีโรงต้มและมีการแกะเนื้อปู การเพาะพันธุ์ปูโดยใช้แม่ปูจากธรรมชาติ หรื อแม่ปูที่ได้จากการเลี้ยงนิยมนาแม่ปูที่มี ่ ั ไข่นอกกระดองมาเพาะฟั ก ซึ่ งไข่นอกกระดองนี้จะติดอยูที่จบปิ้ ง สี ของไข่นอกกระดองจะมีท้ ง ั สี เ หลื อ ง สี เ หลื อ งอมส้ ม สี น าตาล และสี เ ทาอมด า เมื่ อ ได้แ ม่ ปู ที่ มี ไ ข่ น อกกระดองมาแล้ว โดยเฉพาะไข่นอกกระดองที่มีสีเทาดา ให้ปล่อยแม่ปูลงถังเพาะฟั ก ขนาด ๑๐๐ - ๒๐๐ ลิตร ใน อัตราแม่ปู ๑ ตัว/ถัง พร้อมกับการให้อากาศ โดยใช้น้ าความเค็ม ๒๘-๓๓ ppt ความเป็ นกรดเป็ น ่ ด่างอยูที่ ๘.๐-๘.๓ ระหว่างการเพาะฟั กไม่มีการให้อาหารเนื่องจากแม่ปูที่มีไข่สีเทาดาไข่จะฟั ก ออกเป็ นตัวภายใน ๑ - ๒ วัน ส่ วนในกรณี ที่ได้แม่ปูท่ีมีไข่สีเหลืองถึงสี น้ าตาลควรนามาเลี้ยงขุน ่ ก่อน โดยอาหารที่ใช้ในการเลี้ยงขุน ได้แก่ ปลาเป็ ดสด ซึ่ งแม่ปูที่มีไข่อยูในระยะนี้จะใช้เวลาใน การพัฒนาระยะเป็ นไข่สีเทาดาประมาณ ๒-๕ วัน เมื่อลูกปูฟักออกเป็ นตัวแล้ว ก็ปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ
  • 6. ส่ วนการเพาะพันธุ์โดยใช้ไข่ที่ติดอยู่กบจับปิ้ งแม่ปูที่เหลือทิ้ง เมื่อได้จบปิ้ งมาแล้วนา ั ั จับปิ้ งใส่ ในกะละมังที่มีน้ าทะเลสะอาด แยกไข่ออกจากจับปิ้ งโดยใช้มือถูเบาๆ ในน้ า จากนั้น กรองเอาสิ่ งสกปรกและไข่ที่จบเป็ นก้อนออก ล้างด้วยน้ าสะอาด ๓-๔ ครั้ง แล้วนาไข่ไปบ่มฟั ก ั ในถังเพาะฟัก พร้อมให้อากาศ เมื่อลูกปูฟักออกเป็ นตัวแล้ว ก็ปล่อยคืนสู่ ธรรมชาติ ่ ั ปริ มาณไข่ของปูจะขึ้นอยูกบขนาด อายุ และความสมบูรณ์ของแม่ปู โดยทัวไปแม่ปูมา ่ ้ ที่มีขนาดความกว้างกระดอง ๔.๕- ๑๖.๔ ซม. จะมีไข่นอกกระดองประมาณ ๓๐๐,๐๐๐- ๑,๓๖๐,๐๐๐ ฟอง ส่ วนปูทะเลที่มีขนาดความกว้างกระดอง ๙.๓- ๑๔.๔ ซม. จะมีปริ มาณไข่นอก กระดองประมาณ ๑,๗๐๐,๐๐๐-๓,๑๙๐,๐๐๐ ฟอง ๒. การอนุบาลลูกปู การอนุ บาลลูกปูเพื่อปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติเป็ นอีกแนวทางหนึ่ ง ที่จะช่ วยอนุ รักษ์ ทรัพยากรปูในธรรมชาติได้ โดยมีข้ นตอนการดาเนินการดังนี้ ั ๒.๑ การเตรี ยมบ่ออนุบาลลูกปู บ่อที่ใช้ในการอนุบาลส่ วนมากมีขนาด ๑- ๓ ลบ.ม. ซึ่ งมีท้ งบ่อซี เมนต์ และ ั ่ ั บ่อที่เป็ นถังไฟเบอร์ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบความเหมาะสมของสถานที่ และงบประมาณของผูเ้ ลี้ยง น้ าที่ ใช้ในการอนุ บาลลูกปูควรเป็ นน้ าที่มีความเค็ม ๒๘ - ๓๓ ppt ความเป็ นกรดเป็ นด่าง ๘.๐-๘.๕ ความเป็ นด่าง ๑๒๐-๑๕๐ มก./ลิตร ซึ่ งหลักการเตรี ยมน้ า และเตรี ยมบ่อที่ใช้ในการอนุบาลลูกปู ก็เป็ นไปตามหลักการการเพาะอนุบาลลูกสัตว์น้ าทัวไป ่ ๒.๒ การเตรี ยมอาหารลูกปูวยอ่อน ั ปูมา และปูทะเลตลอดทั้งวงจรชี วิตจัดเป็ นพวกสัตว์กินเนื้อ โดยในระยะวัย ้ อ่อนจะกินแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก เมื่อโตขึ้นก็จะกินพวกอาหารที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน อาหารที่ ใช้ในการอนุบาลลูกปูวยอ่อนได้แก่ โรติเฟอร์ อาร์ทีเมียแรกฟัก ไรแดง และอาร์ทีเมียตัวเต็มวัย ั ๒.๓ การอนุบาลลูกปูวยอ่อน ั การพัฒนาการของลูกปูมา และปูทะเลวัยอ่อนจะเริ่ มจากระยะซูเอี้ย ซึ่ งเป็ น ้ ตัว อ่ อ นระยะแรกของลูก ปูห ลัง ฟั กออกจากไข่ โดยปูม ้าจะใช้ระยะเวลาในการพัฒ นาระยะ ประมาณ ๑๐-๑๔ วัน ปูทะเลใช้เวลาในการพัฒนาระยะประมาณ ๑๕-๒๐ วัน จึงเข้าสู่ ปูวยอ่อน ั ่ ระยะที่ ๒ คือ ระยะเมกาโลปา และอยูในระยะนี้ประมาณ ๔-๕ วัน และ ๕-๗ วัน ของปูมา และ ้ ปูทะเล ตามลาดับ จึงเข้าสู่ ระยะลูกปูที่มีรูปร่ างเหมือนพ่อแม่
  • 7. ปล่อยลูกปูระยะซูเอี้ยที่อตราความหนาแน่น ๕๐,๐๐๐ – ๑๐๐,๐๐๐ ตัว/ลบ.ม. อนุบาล ั ลูกปูระยะซูเอี้ยด้วยโรติเฟอร์ พอลูกปูเข้าสู่ ระยะเมกาโลปา อนุ บาลลูกปูดวยอาร์ ทีเมียแรกฟั ก ้ หรื อไรแดง จนกว่าลูกปูเข้าสู่ ระยะที่มีรูปร่ างเหมือนพ่อแม่ ซึ่ งระยะเวลาการอนุบาลลูกปูแรกฟั ก จนถึงระยะที่ลูกปูมีรูปร่ างเหมือนพ่อแม่ของปูมาใช้เวลาประมาณ ๑๗-๒๐ วัน ของปูทะเลใช้ ้ เวลาประมาณ ๒๕-๓๐ วัน ซึ่งเป็ นระยะที่พร้อมปล่อยกลับคืนสู่ ธรรมชาติ
  • 8. บทที่ ๓ ขั้นตอนการดาเนินงาน ขั้นเตรียมการ ๑. ประชุมวางแผนโครงงาน ๒. ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์ปู ๓. สารวจสอบถามผูรู้ ้ ๔. เขียนรายงาน ๕. ดาเนินการถ่ายทาวีดีโอ ๖. ตัดต่อวีดีโอด้วยโปรแกรม Ulead 10 ๗. นาเสนอและปรับปรุ งผลงาน ๘. เผยแพร่ ผลงาน
  • 9. บทที่ ๔ ผลการศึกษาค้ นคว้ า จากการทางานเพื่อสร้างสื่ อเกี่ยวกับการอนุรักษ์พนธ์ปูมาพบว่ามีการดาเนินการ ดังนี้ ั ้ วัสดุอปกรณ์ ทใช้ ในการทางานเกียวกับการอนุรักษ์ พนธ์ ปูม้า ุ ี่ ่ ั ๑. เครื่ องผลิตออกซิ เจน ๒. ถังใส่ ปู ๓. สายออกซิเจน ๔. สวิงช้อนปู วิธีทา ๑. นาปูไข่ที่จบมาได้จากทะเลคัดแยกใส่ ถง ถังละตัว ั ั ๒. ใส่ น้ า รอจนกว่าปูจะสลัดไข่ออกจากกระดองจนหมด ๓. ทิงไว้ซกระยะ เพื่อได้ระยะที่เหมาะสมพร้อมปล่อยลงสู่ ทะเล ้ ั ผลงานสารคดีคลิปวีดิโอเกี่ยวกับการอนุรักษ์พนธุ์ปูเป็ นวีดีโอ ดังนี้ ั
  • 10.
  • 11.
  • 12. บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาค้นคว้าและข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า จากการที่เราได้ทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างสื่ อคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการอนุ รักษ์ พันธ์ปูมา ทาให้ได้รับความรู ้เกี่ยวกับความเป็ นมาการเพาะพันธ์ปูมา ความสาคัญ เพื่อเผยแพร่ ให้ ้ ้ ผูที่สนใจได้ศึกษา และเป็ นแนวทางในการดาเนิ นการดังกล่าว เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่ งในการร่ วม ้ ่ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญของจังหวัดตราด และจังหวัดที่อยูติดทะเลต่อไป เพราะหาก ไม่มีการเพาะพันธ์ปุมาแล้ว อาจจะทาให้ปูมาสู ญพันธุ์ไป ส่ งผลกระทบต่อการดาเนิ นชี วิตของ ้ ้ ชาวประมง ทาให้ไม่มีแหล่งทามาหากิน ขาดรายได้ในการจับปูมาไปขาย หรื อนาไปประกอบ ้ อาหาร ข้ อเสนอแนะ ๑. อยากให้มีเวลามากกว่านี้ค่ะ ๒. อยากให้เพื่อนๆ ช่วยกันทาอีกหน่อยค่ะ ๓. ควรขยายผลโครงงานสู่ ชุมชนที่ยงไม่มีกิจกรรมการอนุรักษ์พนธุ์ปูในจังหวัดตราดต่อไป ั ั
  • 15. บรรณานุกรม http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2 [เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕] http://www.aquatoyou.com/index.php/๒๐๑๐-๐๑-๐๘-๑๔-๑๕-๒๙/๒๓-scylla?start=๑๐ [เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕] http://www.nicaonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=๖๑๗:๒๐๑๒-๐๒-๒๒- ๐๗-๕๖-๒๘&catid=๓๘:๒๐๑๒-๐๒-๒๐-๐๒-๕๘-๓๙&Itemid=๑๒๐ [เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕] http://www.fisheries.go.th/fpo- prachuap/index.php?Itemid=161&id=7&option=com_content&view=article [เข้าถึง ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕]