SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
Descargar para leer sin conexión
1
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์
1.ความหมายของเว็บไซต์ (Web site)
เว็บไซต์(Web site)หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อและ
นาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆไปยังกลุ่มผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยปัจจัยหนึ่งที่ทาให้
เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็วก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะ
นาเสนอบริการใหม่ ๆ
2.ประเภทของเว็บไซต์
เว็บไซต์ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่าง
กัน โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์แต่ละ
เว็บไซต์จะมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการ
ออกแบบจึงต้องคานึงถึงความสะดวกในการใช้งานการที่จะสามารถ
ใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้นั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง
เข้าใจถึงลักษณะของเว็บไซต์และจาแนกแยกแยะได้ว่าเว็บไซต์
เหล่านั้นมีความแตกต่างหรือเหมือนกันประการใดรวมถึงมีหน้าที่
หลักเฉพาะตัวอย่างไรบ้าง ประเภทของเว็บไซต์แบ่งตามลักษณะ
การใช้งานสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภทดังนี้ (สมาน ลอยฟ้า.
2544: 3; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 184)
2
(1) เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาโดยองค์กร
ต่างๆเว็บไซต์เหล่านี้เทียบได้กับแผ่นพับหรือจดหมายข่าวเพียงแต่
เว็บไซต์อาจมีข้อมูลเพิ่มเติมมากกว่า เว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย
.org
(2) เว็บไซต์เพื่อธุรกิจและการตลาด เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาโดยบริษัท
ธุรกิจต่างๆ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อขายหรือโฆษณาสินค้าและ
บริการต่างๆ ในบางครั้งอาจมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์
เชื่อถือได้ และให้ใช้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจ
ลงท้ายด้วย .com
(3) เว็บไซต์เพื่อข่าวสาร เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอ
ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและเพื่อแลกเปลี่ยนผลการวิจัยข้อมูล
บางอย่างมีลักษณะคล้ายจุลสารที่มักพบได้ตามหน่วยงานต่างๆ ซึ่ง
มีประโยชน์สาหรับเป็นข้อมูลพื้นฐานแต่เนื้อหามักจะขาดความลุ่ม
ลึกปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .Gov
(4) เว็บไซต์ข่าวและเหตุการณ์ เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลักใน
การให้ข่าวสารที่เป็นปัจจุบันที่สุดในฐานะที่เป็นบริการสาธารณะ
อย่างไรก็ตามเว็บไซต์เหล่านี้มักจะมีบริษัทหรือ องค์กรต่างๆเป็น
ผู้ให้การสนับสนุนที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย.com
3
(5) เว็บไซต์ส่วนบุคคล เป็นเว็บไซต์ของบุคคลเพื่อเสนอแนวคิดหรือ
เพื่อประชาสัมพันธ์ตัวเองในด้านต่างๆส่วนใหญ่มักเป็นงานที่ไม่ค่อย
มีสาระปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย.com และ
มักจะมีเครื่องหมายปรากฏในที่อยู่ด้วยการสร้างเว็บไซต์มีความ
จาเป็นอย่างมากในการกาหนดกรอบและทิศทางของเว็บไซต์นั้นๆ
ให้อยู่ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดข้างต้น
3.องค์ประกอบที่สาคัญในการออกแบบเว็บไซต์
ธวัชชัย ศรีสุเทพ (2544 : 16) กล่าวว่าองค์ประกอบที่สาคัญ
ในการออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพมีดังนี้
1.ความเรียบง่าย คือการสื่อสารเนื้อหาถึงผู้ชมโดยจากัด
องค์ประกอบเสริมที่เกี่ยวกับการนาเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จาเป็น
2. ความสม่าเสมอ นักออกแบบสามารถสร้างความสม่าเสมอให้กับ
เว็บไซต์ได้ โดยใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์เนื่องจากผู้ชมจะ
รู้สึกว่าเว็บไซต์เป็นเสมือนสถานที่จริงถ้าลักษณะของแต่ละหน้าใน
เว็บไซต์เดียวกันนั้นแตกต่างกันมากผู้ชมจะเกิดความสับสนและไม่
แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ ดังนั้นรูปแบบของหน้าสไตล์
ของกราฟิกระบบเนวิเกชั่นและโทนสีที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึง
4
3. ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบต้องคานึงถึงลักษณะของ
องค์กร เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์
ขององค์กรนั้นได้ การใช้ชุดสีชนิดตัวอักษร รูปภาพและกราฟิกจะมี
ผลรูปแบบของเว็บไซต์อย่างมากผู้ออกแบบจึงต้องเลือกใช้
องค์ประกอบเหล่านี้
4. เนื้อหาที่มีประโยชน์เนื้อหาถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ควร
จัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ชมต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์
โดยมีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
5. มีระบบเนวิเกชั้นที่ใช้งานง่าย ระบบเนวิเกชั่นเน้นองค์ประกอบที่
สาคัญมากของเว็บไซต์จึงควรออกแบบให้ผู้ชมเข้าใจได้ง่ายและใช้
งานสะดวกโดยใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน
รวมทั้งมีรูปแบบและลาดับของรายการที่สม่าเสมอ
6. มีลักษณะที่น่าสนใจ ความน่าสนใจในแต่ละเว็บไซต์ขึ้นอยู่กับ
ความชอบของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตามหน้าตาของเว็บไซต์จะมี
ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆเช่น คุณภาพของกราฟิกที่
จะต้องสมบูรณ์ไม่มีร่องรอยของความเสียหายเป็นจุดด่างหรือมีขอบ
เป็นขั้นบันไดให้เห็นการใช้ชนิดตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา และ
การใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น
5
7. การใช้งานอย่างไม่จากัด โดยไม่บังคับให้ผู้ชมเข้าชมต้องติดตั้ง
โปรแกรมใหม่หรือบราวเซอร์เพิ่มจะรองรับผู้ใช้บริการจานวนมาก
หรือกลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลายได้ดีขึ้น
8. คุณภาพในการออกแบบ ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบ
เว็บไซต์อย่างมากเช่นเดียวกับการออกแบบสื่อประเภทอื่นๆที่ต้อง
ออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ
9. ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง ระบบการทางานต่างๆในเว็บไซต์
จะต้องมีความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเช่นหากเว็บไซต์
มีฟอร์มให้ผู้ชมกรอกข้อมูลจะต้องแน่ใจว่าฟอร์มนั้นสามารถใช้งาน
ได้จริงหรือลิงค์ต่างๆที่มีอยู่นั้นจะต้องเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีปรากฏ
อยู่จริงและถูกต้องด้วย
4.ส่วนประกอบของเว็บไซต์
ในระยะเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บจะประกอบไปด้วย
ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับให้บริการ
ข้อมูลเรียกว่า Host server หรือ Web server หรือเรียกว่า Web
siteกับเครื่องรับข้อมูลหรือWeb client หรือ Client machine ผู้
ให้บริการมีทั้งที่เป็นหน่วยงานองค์กรต่างๆตลอดจนตัวบุคคลที่
ต้องการเผยแพร่ข้อมูลส่วนเครื่องที่ใช้เข้าไปติดต่อใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูลคือเครื่องที่เป็น Web clientรังสิมา เพชรเม็ดใหญ่ (2542 :
6
ออนไลน์) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของเวิลด์ไวด์เว็บว่าประกอบด้วย
ส่วนประกอบ 4 ส่วน ดังนี้
ตัวบริการWWW(WWWServer)WWWServer คือ
โปรแกรมที่ทาหน้าที่ให้บริการด้านเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide
Web) ดังนั้น คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่ให้บริการได้จะต้องมีการติดตั้ง
โปรแกรมWWWServer ซึ่งโปรแกรมWWWServer จะใช้มาตรฐาน
การเชื่อมต่อหรือโปรโตคอลที่เรียกว่า HTTP(Hypertext transfer
protocol)
ตัวค้นWWW(WWWBrowser)WWWBrowser คือ
โปรแกรมที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ใน WWWามารถ
แบ่งบราวเซอร์ (Browser) ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
Text mode browser ซึ่งเป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้นดู
ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นตัวอักษรเท่านั้น
Graphics mode browser เป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้น
ดูข้อความและข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งข้อมูล
เสียงได้ถ้าติดตั้งอุปกรณ์เสริมซึ่งเป็นลักษณะของสื่อประสม
(Hypermedia) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดขณะนี้ คือ
โปรแกรม Netscape โปรแกรม Mosaic หรือโปรแกรม Internet
Explorer เป็นต้น
7
HTLM(Hypertext markup language) เนื่องจาก
WWW กาหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปแบบเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึง
กันในแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ดังนั้นข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนให้อยู่
ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกันที่เรียกว่า HTLM เพื่อเชื่อมโยง
ข้อความ รูปภาพเสียง ภาพเคลื่อนไหวเข้าด้วยกันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
URL (Uniform resource locator) URL เป็นมาตรฐาน
ของการระบุตาแหน่งของข้อมูล (หรือไฟล์) ในระบบเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต มีรูปแบบ ดังนี้ชื่อโปรโตคอล//ชื่อเครื่อง/ชื่อไดชื่อ
เครื่องหรือชื่อโดเมน มีรายละเอียดที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้สามารถ
คาดเดา URL โดยให้การแปลชื่อโดเมนจากขวาไปซ้าย
Edu. หมายถึง สถาบันการศึกษา
Com. หมายถึง องค์กรที่ทาธุรกิจการค้า
Org .หมายถึง องค์กรที่ไม่ค้ากาไร
Gov. หมายถึง องค์การทางด้านรัฐบาล
8
5.การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์โดยไม่มีแนวทางในการวางแผนการ
ดาเนินงาน ย่อมทาให้เว็บไซต์ประสบความสาเร็จได้ยากดังนั้น
กระบวนการในการออกแบบเว็บไซต์หรืออาจเรียกว่าวิธีการ
นาเสนอเว็บไซต์นั้นจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้การออกแบบเว็บไซต์
สาเร็จสมดังวัตถุประสงค์ ซึ่งมีกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
กิดานันท์ มะลิทอง (2542 : 8) ได้เสนอแนะหลักการใน
การเริ่มต้นที่ดีในการออกแบบเว็บไซต์ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 5
ข้อ ดังนี้
1. การวางแผนล่วงหน้าการออกเว็บไซต์ ควรมีการสร้างเค้าโครง
บนกระดาษก่อนเพื่อช่วยให้สามารถจัดระเบียบโครงสร้างต่าง ๆ
ของเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย และควรมีการเก็บรวบรวม
วัสดุอัน ได้แก่ แฟ้มเนื้อหา แฟ้มภาพ แฟ้มเสียง หรือภาพถ่าย
เป็นต้น โดยควรไว้ในลักษณะของแฟ้มต้นฉบับ (Source files)
2. รวบรวมจัดระเบียบหลัง จากที่ผู้ออกแบบได้รวบรวมวัสดุใน
ลักษณะของแฟ้มแล้วควรมีการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟล์เดอร์ที่
ชัดเจน ในกรณีที่เว็บไซต์มีขนาดใหญ่ควรจัดระเบียบแฟ้มให้
เหมาะสมโดยการสร้างโฟลเดอร์ย่อยๆซึ่งอาจมีหลายระดับก็ได้
หลังจากรวบรวมจัดระเบียบแฟ้มแล้ว ควรแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นส่วน
9
ๆ ให้เหมาะสมรวมทั้งออกแบบตัวเลือกในแต่ละหน้าที่จานวนไม่
มากเกินไปที่สาคัญคือ ไม่ควรให้เว็บไซต์มีการเชื่อมโยงที่ลึกมาก
เกินไปกฎก็คือ “ผู้อ่านไม่ควรคลิกผ่านไปเกินกว่า 5 หน้าจึงจะถึง
เนื้อหาที่ต้องการ”
3. การนาทางการสร้างเครื่องมือ นาทางควรคานึงถึงความรวดเร็ว
ในการเข้าถึงสารสนเทศของผู้อ่านเป็นหลักมีคาที่เรียกใช้เครื่องมือ
นาทางอยู่หลายคาที่นิยมใช้ คือ แถบเครื่องมือ (Toolbar)หรือเมนู
(Menu) ซึ่งสามารถออกแบบเครื่องมือนาทางไว้ในลักษณะที่ผู้ใช้
สามารถไปสู่ส่วนต่างๆได้โดยไม่จาเป็นต้องย้อนกลับมาที่หน้า
โฮมเพจสาหรับสารบัญทุกครั้งหลักก็คือ หากเป็นเว็บไซต์ไม่ใหญ่นัก
และมีเนื้อหาส่วนต่างๆไม่มากควรใช้เครื่องมือนาทางในลักษณะ
กราฟิก หากเป็นเว็บไซต์ค่อนข้างใหญ่มีส่วนต่างๆให้เลือกมากควร
ให้เครื่องมือนาทางในลักษณะที่เป็นข้อความนอกจากนี้ไม่ควร
ออกแบบแถบเครื่องมือให้ใหญ่เกินไปเพราะจะทาให้กินเนื้อที่ของ
หน้าเว็บและยังทาให้การโหลดช้าด้วย
4. เกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งสาคัญที่ในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี
เพราะจะช่วยให้ผู้ใช้เกณฑ์ที่สาคัญๆได้แก่การออกแบบโดยคานึงถึง
ความคงตัว (Consistency) การออกแบบเส้นแนวในการแบ่งส่วน
เนื้อหาที่ต่างกันออกจากกันและควรคานึงถึงการกาหนดความ
กว้างยาวมาตรฐานก่อนที่จะเริ่มออกแบบ
10
5. ผู้อ่านหลักการข้อสุดท้ายที่สาคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การ
คานึงถึงผู้ใช้เว็บไซต์โดยควรมีการออกแบบให้ตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้ใช้มากที่สุดควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ในการเข้าถึง
เว็บไซต์ของผู้ใช้และช่องทางในการให้ผู้ใช้มีโอกาสส่งข้อมูล
ป้อนกลับมายังผู้ออกแบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของการสื่อสาร
แบบเวลาเดียวกัน (Synchronous mode) เช่น การสนทนาหรือ
ในลักษณะของการสื่อสารต่างเวลา (Asynchronous mode) เช่น
อีเมล์ หรือ เว็บบอร์ด และควรมีการสารวจความคิดเห็นของผู้ใช้ได้
ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก
6.การออกแบบเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีหลักการ ดาเนินการตามขั้นตอน
ที่ชัดเจนจะทาให้ผู้สร้างเว็บไซต์สามารถใส่ใจรายละเอียดที่จาเป็น
ในแต่ละขั้นตอนของการออกแบบซึ่งจะช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่
อาจเกิดขึ้นและลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบความล้มเหลว
ให้ผู้สร้างได้เว็บไซต์ ที่ตรงกับเป้าหมายตามต้องการมีประโยชน์
และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการการสร้างเว็บไซต์ที่ดีนั้น
ต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมหลักการ
ออกแบบมีดังนี้
(1) กาหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรกาหนด
เป้าหมายและวางแผนไว้ล่วงหน้าเพื่อให้การทางานในขั้นต่อไปมี
11
แนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่ควรทาในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย
กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้
ต้องการนาเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไรกาหนดกลุ่มผู้ใช้
เป้าหมายเพื่อจะได้รู้ว่าผู้ใช้หลักคือใครและออกแบบเว็บไซต์ให้
ตอบสนองความต้องการผู้ใช้กลุ่มนั้นให้มากที่สุดเตรียมแหล่งข้อมูล
เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระสาคัญที่แท้จริงของเว็บไซต์ต้องรู้ว่าข้อมูล
ที่จาเป็นต้องใช้มาจากแหล่งใดบ้างเช่น ถ้าเป็นเว็บข่าวสารข่าวนั้น
จะมาจากแหล่งใดมีลิขสิทธิ์หรือไม่เป็นต้นเตรียมทักษะหรือ
บุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายด้านเช่นในการ
เตรียมเนื้อหาออกแบบกราฟิกเขียนโปรแกรมและการดูแลเครื่อง
บริการเป็นต้นซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจจะต้องใช้บุคลากร
เป็นจานวนมากแต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆที่สามารถดูแลได้โดย
บุคลากรเพียงคนเดียวก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆเพื่อ
เตรียมพร้อมเตรียมทรัพยากรต่างๆที่จาเป็นเช่นโปรแกรมสาหรับ
สร้างเว็บไซต์โปรแกรมสาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวและสื่อ
ประสมโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities) อื่นๆที่จะต้องใช้ เป็น
ต้น
(2) วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการนาข้อมูลต่างๆ ที่
รวบรวมได้จากขั้นแรกนามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบเพื่อให้
ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนดซึ่งจะใช้เป็นกรอบสาหรับการ
12
ออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อไปผลที่ได้รับจากขั้นนี้ประกอบไป
ด้วย
- แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ สารบัญ ลาดับการนาเสนอหรือผัง
งานระบบนาทางซึ่งผู้ใช้จะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆของ
เว็บไซต์ เช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนูเป็นต้น
- องค์ประกอบต่างๆที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น ภาพนิ่ง
และภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ สื่อประสม แบบฟอร์ม ฯลฯ
อะไรบ้างที่โปรแกรมค้นดูของผู้ใช้ สนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้อง
อาศัยโปรแกรมเสริมข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของ
เว็บเพจข้อกาหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์ หรือโปรแกรม
ประยุกต์สาหรับเว็บ (Web application) และฐานข้อมูลที่ใช้ใน
เว็บไซต์คุณสมบัติของเครื่องบริการเว็บ รวมถึงข้อจากัด และบริการ
เสริมต่าง ๆ ที่มีให้
(3) ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบ
เค้าโครงและลักษณะ ด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจเพื่อให้ผู้ใช้เกิด
อารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่ผู้สร้างต้องการ นอกจากนี้ยังรวม
ไปถึงการกาหนดสีสันและรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆที่ไม่ใช่
กราฟิก เช่น ชนิด ตัวอักษร ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณ
ที่ว่าง เป็นต้น ในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเนื้อหาที่
13
เลือกไว้มาปรับแก้และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับ
จะนาไปใส่เว็บเพจ แต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป
(4) ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นที
ละหน้าโดยอาศัย เค้าโครงและองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบ
ไว้ เนื้อหาต่างๆ จะถูกนามาใส่และจัดรูปแบบจุดเชื่อมโยงและมี
ระบบนาทางไปสู่หน้าเว็บต่างๆ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการ
ทดสอบก่อนที่ จะนาออกเผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความถูกต้อง
ของเนื้อหา การทางานของจุดเชื่อมโยงและระบบ นาทาง ตรวจหา
ความผิดพลาดของโปรแกรมภาษาสคริปต์และฐานข้อมูล
นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของ
กลุ่มเป้าหมาย เช่น รุ่นของโปรแกรมค้นดู ความละเอียดของ
จอภาพ เพื่อดูว่าผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายสามารถชมเว็บไซต์ได้อย่าง
สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่
(5) เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้น
เผยแพร่บน อินเทอร์เน็ตจะทาด้วยการอัพโหลด (Upload)
แฟ้มข้อมูลทั้งหมด คือ เอชทีเอ็มแอลและแฟ้มข้อมูล อื่นๆ ที่
เกี่ยวข้องขึ้นไปเก็บบนเครื่องบริการที่เปิดบริการไว้ การอัพโหลด
เว็บไซต์อาจทาด้วย โปรแกรมสร้างเว็บไซต์หรืออาจใช้โปรแกรม
อรรถประโยชน์ประเภทโปรแกรมถ่ายโอนข้อมูล (FTP) หรือใช้
เครื่องมืออื่นบนเครื่องบริการเว็บ หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการ
14
ทดสอบอีกครั้ง เพื่อตรวจหาปัญหาบางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบ
บนคอมพิวเตอร์ของผู้สร้างเอง เช่น การเชื่อมโยง ของเว็บเพจกับ
เว็บไซต์อื่น และการทางานของโปรแกรมค้นดูกับฐานข้อมูล ซึ่ง
อาจทาไม่ได้ บนเครื่องของผู้สร้างเว็บ หรือบนเครื่องบริการเว็บอาจ
มีสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป เว็บไซต์ที่จะ ประสบความสาเร็จ
นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้างการออกแบบที่
เหมาะสมแล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักใน
ผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีก ด้วย การส่งเสริมนี้มีกล
ยุทธ์ที่ทาได้หลายวิธี ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมาก
เสมอไป โดยสามารถทาได้ตั้งแต่แบบง่ายๆ คือ การแลกเปลี่ยนที่อยู่
เว็บ ประกาศบนเว็บบอร์ด (Web board) การส่งจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (Email) เพิ่มข้อมูลในโปรแกรมค้นหาหรือสารบน
เว็บ (Web directory) จนถึงแบบที่ใช้งบประมาณมากขึ้น เช่น การ
จัดงานเปิดตัว การลงโฆษณา บนเว็บไซต์อื่น ในสิ่งพิมพ์ หรือใน
วิทยุและโทรทัศน์ เป็นต้น
(6) ดูแลและปรับปรุงต่อเนื่อง เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้ว ควร
ดูแลโดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมตั้งแต่การตรวจสอบเครื่อง
บริการเว็บว่าไม่หยุดทางานบ่อย จุดเชื่อมโยงไปยัง ภายนอกยังคง
ใช้งานได้หรือไม่ คอยตอบอีเมล์หรือคาถามที่มีผู้ฝากไว้บนเว็บเพจ
ถ้าเป็นข่าวสาร ก็ต้องปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา ถ้ามีการ
ใช้ฐานข้อมูลก็ต้องสารองข้อมูลอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้ควร
15
ตรวจสอบสถิติของการเข้าใช้เป็นระยะๆ หลังจากที่เว็บไซต์ได้รับ
การเผยแพร่ไประยะ หนึ่ง ควรปรับปรุงเพื่อให้ผู้ใช้รู้สึกว่ามีความ
เปลี่ยนแปลง มีความใหม่ ทันสมัยหลักการออกแบบและนาเสนอ
ด้วยเว็บไซต์ให้น่าสนใจ และดึงดูดผู้คนให้เข้ามาชม จาเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะต้องทราบถึงหลักการและวิธีการในการออกแบบและการ
นาเสนอเว็บไซต์ เพราะถ้าหากทาไปโดยปราศจากการออกแบบ
หรือการนาเสนอที่ดีแล้ว ผู้ใช้อาจจะไม่สนใจและใส่ใจ ที่จะเข้ามาใช้
ทาให้การนาเสนอในครั้งนั้นสูญเปล่าได้ ดังนั้นจึงควรเรียนรู้และ
เข้าใจถึงกระบวนการ ของการนาเสนอก่อน ซึ่งสามารถทาได้หลาย
รูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและความชอบ ของผู้พัฒนา
ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนาเสนอ ทั้งนี้นักวิชาการหลาย
ท่านได้เสนอข้อแนะนาสาหรับการออกแบบเว็บไซต์
16
7.การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์ เป็นการกาหนดโครงสร้างหลักที่ใช้ใน
การพัฒนาเว็บไซต์ ที่ประกอบด้วยข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพวดี
ทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเชื่อมโยงหรือลิงค์ไป
ยังแบนเนอร์(Banner) แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรม
กระดานสนทนา (Web board) และสมุดเยี่ยม (Guestbook)ใน
เครือข่ายซึ่งประกอบด้วยการเชื่อมโยงภายในเว็บเพจเดียวกัน การ
เชื่อมโยงกับเว็บเพจอื่นที่อยู่ภายในเว็บไซต์เดียวกัน การเชื่อมโยงไป
ยังเว็บไซต์อื่นๆ ในส่วนของเสียง และวีดิทัศน์ใช้โปรแกรมเรียลเพล-
เยอร์ในการเปิดฟังหรือชมโดยมีขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้
1.การกาหนดแหล่งเก็บข้อมูล สาหรับเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นผู้วิจัย
กาหนดให้จัดเก็บไว้ที่ตัวบริการเว็บ
2 .การกาหนดโฟล์เดอร์ (Folder) สาหรับจัดเก็บข้อมูล และ
กาหนดประเภทแฟ้มข้อมูล (File) ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์
3. การกาหนดรูปแบบของคาสั่งหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์
ได้แก่อินคลูด (Includes) ใช้ในการจัดการกับเมนูหลัก เมนูย่อย
และส่วนท้าย (Footer) ของทุกๆ เว็บเพจซึ่งมีข้อดีคือ ช่วยให้การ
บริหารจัดการเว็บไซต์ง่ายและสะดวกลดการซ้าซ้อนในการทางาน
ลดความผิดพลาดในการเขียนคาสั่ง การแก้ไขสามารถทาได้ง่าย
17
และรวดเร็ว (รุจกา สุภาพันธ์ 2543 : 71)แผ่นแบบ (Cascading
style sheets หรือ CSS) ใช้ในการกาหนดการแสดงผลของ
ตัวอักษรให้มีรูปแบบ และขนาดเหมือนๆ กัน ซึ่งมีข้อดีคือ ผู้ดูแล
เว็บไซต์สามารถควบคุมรูปแบบของตัวอักษรให้เป็นมาตรฐาน
เดียวกันทั้งเว็บไซต์ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาในการดาวน์โหลดเว็บเพจ
นาน และสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลภายในเว็บเพจได้ตามที่
ออกแบบไว้ (อติพงศ์ จุลโพธิ 2545 : 156-157)
4.โปรแกรมในการพัฒนาเว็บเพจ เป็นการสร้างเว็บเพจหน้าต่างๆ
โดยการนาเนื้อหาที่ทาการศึกษาและรวบรวม มาสร้างเว็บเพจตาม
รูปแบบที่กาหนดด้วยโปรแกรมแมโครมีเดียดรีมวีพเวอร์
(Macromedia Dreamweaver) และโปรแกรมแมโครมีเดียแฟลช
(Macromedia flash)
18
8.การประเมินเว็บไซต์
ในการประเมินเว็บไซต์ ควรประเมินเว็บไซต์ตามหัวข้อ
ดังต่อไปนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 4; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา.
2542: 185)
(1) จุดมุ่งหมายและกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์นั้นคือ
อะไร มีความชัดเจน หรือไม่
(2) ขอบข่าย ครอบคลุมเนื้อหาอะไรบ้าง จุดเน้นของการนาเสนอ
สารสนเทศคืออะไร ขอบเขตของเนื้อหาเน้นเฉพาะเนื้อหาของเรื่อง
นั้นหรือรวมถึงเนื้อหาอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย
(3) เนื้อหา องค์ประกอบสาคัญที่เกี่ยวกับเนื้อหามี
(4) กราฟิกและการออกแบบด้านสื่อประสม
(5) ความสามารถในการทางาน
(6) ความสามารถในการเข้าถึง เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ
(7) การวิจารณ์เว็บโดยผู้อื่น
(8) ค่าใช้จ่าย
19
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการประเมินเว็บไซต์เป็นสิ่งจาเป็นใน
การออกแบบเว็บไซต์อันจะทาให้ทราบว่าเว็บไซต์ใดเหมาะสมและ
เป็นประโยชน์ ผู้ใช้บริการเว็บและผู้ออกแบบเว็บ ก็จะได้ประโยชน์
ด้วยกันทุกฝ่าย เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นก็จะมีคุณภาพและเป็นเว็บที่ดีบน
อินเทอร์เน็ต ต่อไป
9.การโปเมทเว็บไซต์ (Promote wed)
การโปรโมทเว็บไซต์ (Promote wed) คือ การโฆษณา
เผยแพร่เว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้นให้เป็นที่รู้จักอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะให้
เป็นที่รู้จักของผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ถือเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งสาหรับ
ใช้แจ้งข่าวสาร เพื่อเชิญชวนให้นักทองเว็บได้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์
ของตน โดยทั่วไปการค้นหาข้อมูลของเว็บไซต์ผ่านทางเครื่องมือ
ประเภทต่าง ๆ ที่สามารถนามาใช้เป็นช่องทางในการโปรโมท
เว็บไซต์และที่ได้รับความนิยม คือการโปรโมทเว็บไซต์แบบออฟไลน์
การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการเว็บไดเรกทอรี่ (web directory)
มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่าย และไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยหากต้องการให้ผล
ลัพธ์ของการค้นหาปรากฏอยู่ในลาดับต้นๆ อาจต้องเสียค่าใช้จ่าย
เพิ่มขึ้นอีกได้แก่ yahoo.com,mickinley.com และ google.com
ส่วนกรณีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้จัดทาหรือ
กาหนดหมวดหมู่ที่ต้องการขึ้นเอง โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ปรากฏอยู่
ลาดับต้นๆ โดยมีเว็บให้บริการได้แก่ sanook.com , hunsa.com
20
, hotbot.com เป็นต้น การโปรโมทเว็บไซต์ทาง Search engine
การโปรโมทเว็บไซต์ทาง Searchengine ของGoogleเข้าไปที่
http://www.Google.co.th/adder
21
บรรณานุกรม
นิติยา บุญรัตน์. (2553). การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดโรงเรียน
เตรียม อดุมศึกษาภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช. สารนิพนธ์ ศศ.ม.
(บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.จักรพงษ์ เจือจันทร์ :
การศึกษาการออกแบบเว็บไซต์ของโรงเรียนในโครงการ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย (A STUDY OF WEB
SiteDESIGN OF SCHOOLS IN SCHOOLNET THAILAND)
อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.กิดานันท์ มลิทอง, 110
หน้า.ISBN 974-13-0817-5กิดานันท์ มลิทอง. (2542). สรรค์สร้าง
หน้าเว็บและกราฟิกบนเว็บ. กรุงเทพฯ:
22
คานา
หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1193524
โปรแกรมสร้างเว็บเพื่อการศึกษา (Web Programming for
Education) โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาหาความรู้ได้จากเรื่อง
การพัฒนาเว็บไซต์จากแหล่งความรู้ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาเว็บไซต์ องค์ประกอบของเว็บไซต์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหา
เกี่ยวกับ ความหมายของเว็บไซต์ การออกแบบและการพัฒนา
ขั้นตอนการพัฒนา การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ส่วนประกอบ
ของเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนา ประเภทของเว็บไซต์ การประเมิน
เว็บไซต์ และการโปรเมทเว็บไซต์ (Promote wed)
ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทาหนังสือเล่มนี้ เนื่องมาจาก
เป็นเรื่องที่น่าสนในตรงกับจุดประสงค์ในการเรียนในรายวิชา
1193524 โปรแกรมสร้างเว็บเพื่อการศึกษา (Web Programming
for Education) ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณท่าน อ.ปวริศ สารมะโน
ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ความ
ช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้
และเป็นประโยชน์แก่ทุก ๆ ท่าน
คณะผู้จัดทา
3 สิงหาคม 2556
23
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ความหมายของเว็บไซต์ (Web site) 1
ประเภทของเว็บไซต์ 1
องค์ประกอบที่สาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ 3
ส่วนประกอบของเว็บไซต์ 5
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ 8
การออกแบบเว็บไซต์ 10
การพัฒนาเว็บไซต์ 16
การประเมินเว็บไซต์ 18
การโปรเมทเว็บไซต์ 19
บรรณาณุกรม

Más contenido relacionado

Similar a หนังสือเล่มเล็ก

From web 1.0 to web 3.0
From web 1.0 to web 3.0From web 1.0 to web 3.0
From web 1.0 to web 3.0Piyada
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำTanyarad Chansawang
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1shopper38
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำKumrithit Tana
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPrint25
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำWilaiporn Seehawong
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSirintip Kongchanta
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChalita Vitamilkz
 

Similar a หนังสือเล่มเล็ก (20)

From web 1.0 to web 3.0
From web 1.0 to web 3.0From web 1.0 to web 3.0
From web 1.0 to web 3.0
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่+1
บทที่+1บทที่+1
บทที่+1
 
library 2.0
library 2.0library 2.0
library 2.0
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
เรียนรู้เว็บ 2.0
เรียนรู้เว็บ 2.0เรียนรู้เว็บ 2.0
เรียนรู้เว็บ 2.0
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

หนังสือเล่มเล็ก

  • 1. 1 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 1.ความหมายของเว็บไซต์ (Web site) เว็บไซต์(Web site)หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อและ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆไปยังกลุ่มผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็วก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะ นาเสนอบริการใหม่ ๆ 2.ประเภทของเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่าง กัน โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์แต่ละ เว็บไซต์จะมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการ ออกแบบจึงต้องคานึงถึงความสะดวกในการใช้งานการที่จะสามารถ ใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้นั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง เข้าใจถึงลักษณะของเว็บไซต์และจาแนกแยกแยะได้ว่าเว็บไซต์ เหล่านั้นมีความแตกต่างหรือเหมือนกันประการใดรวมถึงมีหน้าที่ หลักเฉพาะตัวอย่างไรบ้าง ประเภทของเว็บไซต์แบ่งตามลักษณะ การใช้งานสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภทดังนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 3; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 184)
  • 2. 2 (1) เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาโดยองค์กร ต่างๆเว็บไซต์เหล่านี้เทียบได้กับแผ่นพับหรือจดหมายข่าวเพียงแต่ เว็บไซต์อาจมีข้อมูลเพิ่มเติมมากกว่า เว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .org (2) เว็บไซต์เพื่อธุรกิจและการตลาด เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาโดยบริษัท ธุรกิจต่างๆ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อขายหรือโฆษณาสินค้าและ บริการต่างๆ ในบางครั้งอาจมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เชื่อถือได้ และให้ใช้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจ ลงท้ายด้วย .com (3) เว็บไซต์เพื่อข่าวสาร เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอ ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและเพื่อแลกเปลี่ยนผลการวิจัยข้อมูล บางอย่างมีลักษณะคล้ายจุลสารที่มักพบได้ตามหน่วยงานต่างๆ ซึ่ง มีประโยชน์สาหรับเป็นข้อมูลพื้นฐานแต่เนื้อหามักจะขาดความลุ่ม ลึกปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .Gov (4) เว็บไซต์ข่าวและเหตุการณ์ เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลักใน การให้ข่าวสารที่เป็นปัจจุบันที่สุดในฐานะที่เป็นบริการสาธารณะ อย่างไรก็ตามเว็บไซต์เหล่านี้มักจะมีบริษัทหรือ องค์กรต่างๆเป็น ผู้ให้การสนับสนุนที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย.com
  • 3. 3 (5) เว็บไซต์ส่วนบุคคล เป็นเว็บไซต์ของบุคคลเพื่อเสนอแนวคิดหรือ เพื่อประชาสัมพันธ์ตัวเองในด้านต่างๆส่วนใหญ่มักเป็นงานที่ไม่ค่อย มีสาระปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย.com และ มักจะมีเครื่องหมายปรากฏในที่อยู่ด้วยการสร้างเว็บไซต์มีความ จาเป็นอย่างมากในการกาหนดกรอบและทิศทางของเว็บไซต์นั้นๆ ให้อยู่ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดข้างต้น 3.องค์ประกอบที่สาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ ธวัชชัย ศรีสุเทพ (2544 : 16) กล่าวว่าองค์ประกอบที่สาคัญ ในการออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพมีดังนี้ 1.ความเรียบง่าย คือการสื่อสารเนื้อหาถึงผู้ชมโดยจากัด องค์ประกอบเสริมที่เกี่ยวกับการนาเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จาเป็น 2. ความสม่าเสมอ นักออกแบบสามารถสร้างความสม่าเสมอให้กับ เว็บไซต์ได้ โดยใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์เนื่องจากผู้ชมจะ รู้สึกว่าเว็บไซต์เป็นเสมือนสถานที่จริงถ้าลักษณะของแต่ละหน้าใน เว็บไซต์เดียวกันนั้นแตกต่างกันมากผู้ชมจะเกิดความสับสนและไม่ แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ ดังนั้นรูปแบบของหน้าสไตล์ ของกราฟิกระบบเนวิเกชั่นและโทนสีที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึง
  • 4. 4 3. ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบต้องคานึงถึงลักษณะของ องค์กร เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ ขององค์กรนั้นได้ การใช้ชุดสีชนิดตัวอักษร รูปภาพและกราฟิกจะมี ผลรูปแบบของเว็บไซต์อย่างมากผู้ออกแบบจึงต้องเลือกใช้ องค์ประกอบเหล่านี้ 4. เนื้อหาที่มีประโยชน์เนื้อหาถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ควร จัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ชมต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ 5. มีระบบเนวิเกชั้นที่ใช้งานง่าย ระบบเนวิเกชั่นเน้นองค์ประกอบที่ สาคัญมากของเว็บไซต์จึงควรออกแบบให้ผู้ชมเข้าใจได้ง่ายและใช้ งานสะดวกโดยใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและลาดับของรายการที่สม่าเสมอ 6. มีลักษณะที่น่าสนใจ ความน่าสนใจในแต่ละเว็บไซต์ขึ้นอยู่กับ ความชอบของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตามหน้าตาของเว็บไซต์จะมี ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆเช่น คุณภาพของกราฟิกที่ จะต้องสมบูรณ์ไม่มีร่องรอยของความเสียหายเป็นจุดด่างหรือมีขอบ เป็นขั้นบันไดให้เห็นการใช้ชนิดตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา และ การใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น
  • 5. 5 7. การใช้งานอย่างไม่จากัด โดยไม่บังคับให้ผู้ชมเข้าชมต้องติดตั้ง โปรแกรมใหม่หรือบราวเซอร์เพิ่มจะรองรับผู้ใช้บริการจานวนมาก หรือกลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลายได้ดีขึ้น 8. คุณภาพในการออกแบบ ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบ เว็บไซต์อย่างมากเช่นเดียวกับการออกแบบสื่อประเภทอื่นๆที่ต้อง ออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ 9. ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง ระบบการทางานต่างๆในเว็บไซต์ จะต้องมีความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเช่นหากเว็บไซต์ มีฟอร์มให้ผู้ชมกรอกข้อมูลจะต้องแน่ใจว่าฟอร์มนั้นสามารถใช้งาน ได้จริงหรือลิงค์ต่างๆที่มีอยู่นั้นจะต้องเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีปรากฏ อยู่จริงและถูกต้องด้วย 4.ส่วนประกอบของเว็บไซต์ ในระยะเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บจะประกอบไปด้วย ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับให้บริการ ข้อมูลเรียกว่า Host server หรือ Web server หรือเรียกว่า Web siteกับเครื่องรับข้อมูลหรือWeb client หรือ Client machine ผู้ ให้บริการมีทั้งที่เป็นหน่วยงานองค์กรต่างๆตลอดจนตัวบุคคลที่ ต้องการเผยแพร่ข้อมูลส่วนเครื่องที่ใช้เข้าไปติดต่อใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลคือเครื่องที่เป็น Web clientรังสิมา เพชรเม็ดใหญ่ (2542 :
  • 6. 6 ออนไลน์) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของเวิลด์ไวด์เว็บว่าประกอบด้วย ส่วนประกอบ 4 ส่วน ดังนี้ ตัวบริการWWW(WWWServer)WWWServer คือ โปรแกรมที่ทาหน้าที่ให้บริการด้านเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ดังนั้น คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่ให้บริการได้จะต้องมีการติดตั้ง โปรแกรมWWWServer ซึ่งโปรแกรมWWWServer จะใช้มาตรฐาน การเชื่อมต่อหรือโปรโตคอลที่เรียกว่า HTTP(Hypertext transfer protocol) ตัวค้นWWW(WWWBrowser)WWWBrowser คือ โปรแกรมที่ใช้สาหรับอ่านข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ใน WWWามารถ แบ่งบราวเซอร์ (Browser) ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ Text mode browser ซึ่งเป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้นดู ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นตัวอักษรเท่านั้น Graphics mode browser เป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้น ดูข้อความและข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งข้อมูล เสียงได้ถ้าติดตั้งอุปกรณ์เสริมซึ่งเป็นลักษณะของสื่อประสม (Hypermedia) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดขณะนี้ คือ โปรแกรม Netscape โปรแกรม Mosaic หรือโปรแกรม Internet Explorer เป็นต้น
  • 7. 7 HTLM(Hypertext markup language) เนื่องจาก WWW กาหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปแบบเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึง กันในแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ดังนั้นข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนให้อยู่ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกันที่เรียกว่า HTLM เพื่อเชื่อมโยง ข้อความ รูปภาพเสียง ภาพเคลื่อนไหวเข้าด้วยกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ URL (Uniform resource locator) URL เป็นมาตรฐาน ของการระบุตาแหน่งของข้อมูล (หรือไฟล์) ในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต มีรูปแบบ ดังนี้ชื่อโปรโตคอล//ชื่อเครื่อง/ชื่อไดชื่อ เครื่องหรือชื่อโดเมน มีรายละเอียดที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้สามารถ คาดเดา URL โดยให้การแปลชื่อโดเมนจากขวาไปซ้าย Edu. หมายถึง สถาบันการศึกษา Com. หมายถึง องค์กรที่ทาธุรกิจการค้า Org .หมายถึง องค์กรที่ไม่ค้ากาไร Gov. หมายถึง องค์การทางด้านรัฐบาล
  • 8. 8 5.การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์โดยไม่มีแนวทางในการวางแผนการ ดาเนินงาน ย่อมทาให้เว็บไซต์ประสบความสาเร็จได้ยากดังนั้น กระบวนการในการออกแบบเว็บไซต์หรืออาจเรียกว่าวิธีการ นาเสนอเว็บไซต์นั้นจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้การออกแบบเว็บไซต์ สาเร็จสมดังวัตถุประสงค์ ซึ่งมีกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ กิดานันท์ มะลิทอง (2542 : 8) ได้เสนอแนะหลักการใน การเริ่มต้นที่ดีในการออกแบบเว็บไซต์ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 5 ข้อ ดังนี้ 1. การวางแผนล่วงหน้าการออกเว็บไซต์ ควรมีการสร้างเค้าโครง บนกระดาษก่อนเพื่อช่วยให้สามารถจัดระเบียบโครงสร้างต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย และควรมีการเก็บรวบรวม วัสดุอัน ได้แก่ แฟ้มเนื้อหา แฟ้มภาพ แฟ้มเสียง หรือภาพถ่าย เป็นต้น โดยควรไว้ในลักษณะของแฟ้มต้นฉบับ (Source files) 2. รวบรวมจัดระเบียบหลัง จากที่ผู้ออกแบบได้รวบรวมวัสดุใน ลักษณะของแฟ้มแล้วควรมีการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟล์เดอร์ที่ ชัดเจน ในกรณีที่เว็บไซต์มีขนาดใหญ่ควรจัดระเบียบแฟ้มให้ เหมาะสมโดยการสร้างโฟลเดอร์ย่อยๆซึ่งอาจมีหลายระดับก็ได้ หลังจากรวบรวมจัดระเบียบแฟ้มแล้ว ควรแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นส่วน
  • 9. 9 ๆ ให้เหมาะสมรวมทั้งออกแบบตัวเลือกในแต่ละหน้าที่จานวนไม่ มากเกินไปที่สาคัญคือ ไม่ควรให้เว็บไซต์มีการเชื่อมโยงที่ลึกมาก เกินไปกฎก็คือ “ผู้อ่านไม่ควรคลิกผ่านไปเกินกว่า 5 หน้าจึงจะถึง เนื้อหาที่ต้องการ” 3. การนาทางการสร้างเครื่องมือ นาทางควรคานึงถึงความรวดเร็ว ในการเข้าถึงสารสนเทศของผู้อ่านเป็นหลักมีคาที่เรียกใช้เครื่องมือ นาทางอยู่หลายคาที่นิยมใช้ คือ แถบเครื่องมือ (Toolbar)หรือเมนู (Menu) ซึ่งสามารถออกแบบเครื่องมือนาทางไว้ในลักษณะที่ผู้ใช้ สามารถไปสู่ส่วนต่างๆได้โดยไม่จาเป็นต้องย้อนกลับมาที่หน้า โฮมเพจสาหรับสารบัญทุกครั้งหลักก็คือ หากเป็นเว็บไซต์ไม่ใหญ่นัก และมีเนื้อหาส่วนต่างๆไม่มากควรใช้เครื่องมือนาทางในลักษณะ กราฟิก หากเป็นเว็บไซต์ค่อนข้างใหญ่มีส่วนต่างๆให้เลือกมากควร ให้เครื่องมือนาทางในลักษณะที่เป็นข้อความนอกจากนี้ไม่ควร ออกแบบแถบเครื่องมือให้ใหญ่เกินไปเพราะจะทาให้กินเนื้อที่ของ หน้าเว็บและยังทาให้การโหลดช้าด้วย 4. เกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งสาคัญที่ในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี เพราะจะช่วยให้ผู้ใช้เกณฑ์ที่สาคัญๆได้แก่การออกแบบโดยคานึงถึง ความคงตัว (Consistency) การออกแบบเส้นแนวในการแบ่งส่วน เนื้อหาที่ต่างกันออกจากกันและควรคานึงถึงการกาหนดความ กว้างยาวมาตรฐานก่อนที่จะเริ่มออกแบบ
  • 10. 10 5. ผู้อ่านหลักการข้อสุดท้ายที่สาคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การ คานึงถึงผู้ใช้เว็บไซต์โดยควรมีการออกแบบให้ตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้ใช้มากที่สุดควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ในการเข้าถึง เว็บไซต์ของผู้ใช้และช่องทางในการให้ผู้ใช้มีโอกาสส่งข้อมูล ป้อนกลับมายังผู้ออกแบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของการสื่อสาร แบบเวลาเดียวกัน (Synchronous mode) เช่น การสนทนาหรือ ในลักษณะของการสื่อสารต่างเวลา (Asynchronous mode) เช่น อีเมล์ หรือ เว็บบอร์ด และควรมีการสารวจความคิดเห็นของผู้ใช้ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก 6.การออกแบบเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีหลักการ ดาเนินการตามขั้นตอน ที่ชัดเจนจะทาให้ผู้สร้างเว็บไซต์สามารถใส่ใจรายละเอียดที่จาเป็น ในแต่ละขั้นตอนของการออกแบบซึ่งจะช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่ อาจเกิดขึ้นและลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบความล้มเหลว ให้ผู้สร้างได้เว็บไซต์ ที่ตรงกับเป้าหมายตามต้องการมีประโยชน์ และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการการสร้างเว็บไซต์ที่ดีนั้น ต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมหลักการ ออกแบบมีดังนี้ (1) กาหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรกาหนด เป้าหมายและวางแผนไว้ล่วงหน้าเพื่อให้การทางานในขั้นต่อไปมี
  • 11. 11 แนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่ควรทาในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้ ต้องการนาเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไรกาหนดกลุ่มผู้ใช้ เป้าหมายเพื่อจะได้รู้ว่าผู้ใช้หลักคือใครและออกแบบเว็บไซต์ให้ ตอบสนองความต้องการผู้ใช้กลุ่มนั้นให้มากที่สุดเตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระสาคัญที่แท้จริงของเว็บไซต์ต้องรู้ว่าข้อมูล ที่จาเป็นต้องใช้มาจากแหล่งใดบ้างเช่น ถ้าเป็นเว็บข่าวสารข่าวนั้น จะมาจากแหล่งใดมีลิขสิทธิ์หรือไม่เป็นต้นเตรียมทักษะหรือ บุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายด้านเช่นในการ เตรียมเนื้อหาออกแบบกราฟิกเขียนโปรแกรมและการดูแลเครื่อง บริการเป็นต้นซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจจะต้องใช้บุคลากร เป็นจานวนมากแต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆที่สามารถดูแลได้โดย บุคลากรเพียงคนเดียวก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆเพื่อ เตรียมพร้อมเตรียมทรัพยากรต่างๆที่จาเป็นเช่นโปรแกรมสาหรับ สร้างเว็บไซต์โปรแกรมสาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวและสื่อ ประสมโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities) อื่นๆที่จะต้องใช้ เป็น ต้น (2) วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการนาข้อมูลต่างๆ ที่ รวบรวมได้จากขั้นแรกนามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบเพื่อให้ ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนดซึ่งจะใช้เป็นกรอบสาหรับการ
  • 12. 12 ออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อไปผลที่ได้รับจากขั้นนี้ประกอบไป ด้วย - แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ สารบัญ ลาดับการนาเสนอหรือผัง งานระบบนาทางซึ่งผู้ใช้จะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆของ เว็บไซต์ เช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนูเป็นต้น - องค์ประกอบต่างๆที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ สื่อประสม แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่โปรแกรมค้นดูของผู้ใช้ สนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้อง อาศัยโปรแกรมเสริมข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของ เว็บเพจข้อกาหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์ หรือโปรแกรม ประยุกต์สาหรับเว็บ (Web application) และฐานข้อมูลที่ใช้ใน เว็บไซต์คุณสมบัติของเครื่องบริการเว็บ รวมถึงข้อจากัด และบริการ เสริมต่าง ๆ ที่มีให้ (3) ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบ เค้าโครงและลักษณะ ด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจเพื่อให้ผู้ใช้เกิด อารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่ผู้สร้างต้องการ นอกจากนี้ยังรวม ไปถึงการกาหนดสีสันและรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆที่ไม่ใช่ กราฟิก เช่น ชนิด ตัวอักษร ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณ ที่ว่าง เป็นต้น ในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเนื้อหาที่
  • 13. 13 เลือกไว้มาปรับแก้และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับ จะนาไปใส่เว็บเพจ แต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป (4) ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นที ละหน้าโดยอาศัย เค้าโครงและองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบ ไว้ เนื้อหาต่างๆ จะถูกนามาใส่และจัดรูปแบบจุดเชื่อมโยงและมี ระบบนาทางไปสู่หน้าเว็บต่างๆ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการ ทดสอบก่อนที่ จะนาออกเผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความถูกต้อง ของเนื้อหา การทางานของจุดเชื่อมโยงและระบบ นาทาง ตรวจหา ความผิดพลาดของโปรแกรมภาษาสคริปต์และฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของ กลุ่มเป้าหมาย เช่น รุ่นของโปรแกรมค้นดู ความละเอียดของ จอภาพ เพื่อดูว่าผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายสามารถชมเว็บไซต์ได้อย่าง สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่ (5) เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้น เผยแพร่บน อินเทอร์เน็ตจะทาด้วยการอัพโหลด (Upload) แฟ้มข้อมูลทั้งหมด คือ เอชทีเอ็มแอลและแฟ้มข้อมูล อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องขึ้นไปเก็บบนเครื่องบริการที่เปิดบริการไว้ การอัพโหลด เว็บไซต์อาจทาด้วย โปรแกรมสร้างเว็บไซต์หรืออาจใช้โปรแกรม อรรถประโยชน์ประเภทโปรแกรมถ่ายโอนข้อมูล (FTP) หรือใช้ เครื่องมืออื่นบนเครื่องบริการเว็บ หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการ
  • 14. 14 ทดสอบอีกครั้ง เพื่อตรวจหาปัญหาบางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบ บนคอมพิวเตอร์ของผู้สร้างเอง เช่น การเชื่อมโยง ของเว็บเพจกับ เว็บไซต์อื่น และการทางานของโปรแกรมค้นดูกับฐานข้อมูล ซึ่ง อาจทาไม่ได้ บนเครื่องของผู้สร้างเว็บ หรือบนเครื่องบริการเว็บอาจ มีสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป เว็บไซต์ที่จะ ประสบความสาเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้างการออกแบบที่ เหมาะสมแล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักใน ผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีก ด้วย การส่งเสริมนี้มีกล ยุทธ์ที่ทาได้หลายวิธี ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมาก เสมอไป โดยสามารถทาได้ตั้งแต่แบบง่ายๆ คือ การแลกเปลี่ยนที่อยู่ เว็บ ประกาศบนเว็บบอร์ด (Web board) การส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (Email) เพิ่มข้อมูลในโปรแกรมค้นหาหรือสารบน เว็บ (Web directory) จนถึงแบบที่ใช้งบประมาณมากขึ้น เช่น การ จัดงานเปิดตัว การลงโฆษณา บนเว็บไซต์อื่น ในสิ่งพิมพ์ หรือใน วิทยุและโทรทัศน์ เป็นต้น (6) ดูแลและปรับปรุงต่อเนื่อง เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้ว ควร ดูแลโดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมตั้งแต่การตรวจสอบเครื่อง บริการเว็บว่าไม่หยุดทางานบ่อย จุดเชื่อมโยงไปยัง ภายนอกยังคง ใช้งานได้หรือไม่ คอยตอบอีเมล์หรือคาถามที่มีผู้ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นข่าวสาร ก็ต้องปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา ถ้ามีการ ใช้ฐานข้อมูลก็ต้องสารองข้อมูลอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้ควร
  • 15. 15 ตรวจสอบสถิติของการเข้าใช้เป็นระยะๆ หลังจากที่เว็บไซต์ได้รับ การเผยแพร่ไประยะ หนึ่ง ควรปรับปรุงเพื่อให้ผู้ใช้รู้สึกว่ามีความ เปลี่ยนแปลง มีความใหม่ ทันสมัยหลักการออกแบบและนาเสนอ ด้วยเว็บไซต์ให้น่าสนใจ และดึงดูดผู้คนให้เข้ามาชม จาเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องทราบถึงหลักการและวิธีการในการออกแบบและการ นาเสนอเว็บไซต์ เพราะถ้าหากทาไปโดยปราศจากการออกแบบ หรือการนาเสนอที่ดีแล้ว ผู้ใช้อาจจะไม่สนใจและใส่ใจ ที่จะเข้ามาใช้ ทาให้การนาเสนอในครั้งนั้นสูญเปล่าได้ ดังนั้นจึงควรเรียนรู้และ เข้าใจถึงกระบวนการ ของการนาเสนอก่อน ซึ่งสามารถทาได้หลาย รูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและความชอบ ของผู้พัฒนา ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนาเสนอ ทั้งนี้นักวิชาการหลาย ท่านได้เสนอข้อแนะนาสาหรับการออกแบบเว็บไซต์
  • 16. 16 7.การพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์ เป็นการกาหนดโครงสร้างหลักที่ใช้ใน การพัฒนาเว็บไซต์ ที่ประกอบด้วยข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพวดี ทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเชื่อมโยงหรือลิงค์ไป ยังแบนเนอร์(Banner) แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรม กระดานสนทนา (Web board) และสมุดเยี่ยม (Guestbook)ใน เครือข่ายซึ่งประกอบด้วยการเชื่อมโยงภายในเว็บเพจเดียวกัน การ เชื่อมโยงกับเว็บเพจอื่นที่อยู่ภายในเว็บไซต์เดียวกัน การเชื่อมโยงไป ยังเว็บไซต์อื่นๆ ในส่วนของเสียง และวีดิทัศน์ใช้โปรแกรมเรียลเพล- เยอร์ในการเปิดฟังหรือชมโดยมีขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้ 1.การกาหนดแหล่งเก็บข้อมูล สาหรับเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นผู้วิจัย กาหนดให้จัดเก็บไว้ที่ตัวบริการเว็บ 2 .การกาหนดโฟล์เดอร์ (Folder) สาหรับจัดเก็บข้อมูล และ กาหนดประเภทแฟ้มข้อมูล (File) ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ 3. การกาหนดรูปแบบของคาสั่งหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ ได้แก่อินคลูด (Includes) ใช้ในการจัดการกับเมนูหลัก เมนูย่อย และส่วนท้าย (Footer) ของทุกๆ เว็บเพจซึ่งมีข้อดีคือ ช่วยให้การ บริหารจัดการเว็บไซต์ง่ายและสะดวกลดการซ้าซ้อนในการทางาน ลดความผิดพลาดในการเขียนคาสั่ง การแก้ไขสามารถทาได้ง่าย
  • 17. 17 และรวดเร็ว (รุจกา สุภาพันธ์ 2543 : 71)แผ่นแบบ (Cascading style sheets หรือ CSS) ใช้ในการกาหนดการแสดงผลของ ตัวอักษรให้มีรูปแบบ และขนาดเหมือนๆ กัน ซึ่งมีข้อดีคือ ผู้ดูแล เว็บไซต์สามารถควบคุมรูปแบบของตัวอักษรให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันทั้งเว็บไซต์ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาในการดาวน์โหลดเว็บเพจ นาน และสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลภายในเว็บเพจได้ตามที่ ออกแบบไว้ (อติพงศ์ จุลโพธิ 2545 : 156-157) 4.โปรแกรมในการพัฒนาเว็บเพจ เป็นการสร้างเว็บเพจหน้าต่างๆ โดยการนาเนื้อหาที่ทาการศึกษาและรวบรวม มาสร้างเว็บเพจตาม รูปแบบที่กาหนดด้วยโปรแกรมแมโครมีเดียดรีมวีพเวอร์ (Macromedia Dreamweaver) และโปรแกรมแมโครมีเดียแฟลช (Macromedia flash)
  • 18. 18 8.การประเมินเว็บไซต์ ในการประเมินเว็บไซต์ ควรประเมินเว็บไซต์ตามหัวข้อ ดังต่อไปนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 4; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 185) (1) จุดมุ่งหมายและกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์นั้นคือ อะไร มีความชัดเจน หรือไม่ (2) ขอบข่าย ครอบคลุมเนื้อหาอะไรบ้าง จุดเน้นของการนาเสนอ สารสนเทศคืออะไร ขอบเขตของเนื้อหาเน้นเฉพาะเนื้อหาของเรื่อง นั้นหรือรวมถึงเนื้อหาอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย (3) เนื้อหา องค์ประกอบสาคัญที่เกี่ยวกับเนื้อหามี (4) กราฟิกและการออกแบบด้านสื่อประสม (5) ความสามารถในการทางาน (6) ความสามารถในการเข้าถึง เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ (7) การวิจารณ์เว็บโดยผู้อื่น (8) ค่าใช้จ่าย
  • 19. 19 ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการประเมินเว็บไซต์เป็นสิ่งจาเป็นใน การออกแบบเว็บไซต์อันจะทาให้ทราบว่าเว็บไซต์ใดเหมาะสมและ เป็นประโยชน์ ผู้ใช้บริการเว็บและผู้ออกแบบเว็บ ก็จะได้ประโยชน์ ด้วยกันทุกฝ่าย เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นก็จะมีคุณภาพและเป็นเว็บที่ดีบน อินเทอร์เน็ต ต่อไป 9.การโปเมทเว็บไซต์ (Promote wed) การโปรโมทเว็บไซต์ (Promote wed) คือ การโฆษณา เผยแพร่เว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้นให้เป็นที่รู้จักอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะให้ เป็นที่รู้จักของผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ถือเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งสาหรับ ใช้แจ้งข่าวสาร เพื่อเชิญชวนให้นักทองเว็บได้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ ของตน โดยทั่วไปการค้นหาข้อมูลของเว็บไซต์ผ่านทางเครื่องมือ ประเภทต่าง ๆ ที่สามารถนามาใช้เป็นช่องทางในการโปรโมท เว็บไซต์และที่ได้รับความนิยม คือการโปรโมทเว็บไซต์แบบออฟไลน์ การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการเว็บไดเรกทอรี่ (web directory) มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่าย และไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยหากต้องการให้ผล ลัพธ์ของการค้นหาปรากฏอยู่ในลาดับต้นๆ อาจต้องเสียค่าใช้จ่าย เพิ่มขึ้นอีกได้แก่ yahoo.com,mickinley.com และ google.com ส่วนกรณีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้จัดทาหรือ กาหนดหมวดหมู่ที่ต้องการขึ้นเอง โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ปรากฏอยู่ ลาดับต้นๆ โดยมีเว็บให้บริการได้แก่ sanook.com , hunsa.com
  • 20. 20 , hotbot.com เป็นต้น การโปรโมทเว็บไซต์ทาง Search engine การโปรโมทเว็บไซต์ทาง Searchengine ของGoogleเข้าไปที่ http://www.Google.co.th/adder
  • 21. 21 บรรณานุกรม นิติยา บุญรัตน์. (2553). การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดโรงเรียน เตรียม อดุมศึกษาภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช. สารนิพนธ์ ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.จักรพงษ์ เจือจันทร์ : การศึกษาการออกแบบเว็บไซต์ของโรงเรียนในโครงการ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย (A STUDY OF WEB SiteDESIGN OF SCHOOLS IN SCHOOLNET THAILAND) อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.กิดานันท์ มลิทอง, 110 หน้า.ISBN 974-13-0817-5กิดานันท์ มลิทอง. (2542). สรรค์สร้าง หน้าเว็บและกราฟิกบนเว็บ. กรุงเทพฯ:
  • 22. 22 คานา หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1193524 โปรแกรมสร้างเว็บเพื่อการศึกษา (Web Programming for Education) โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาหาความรู้ได้จากเรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์จากแหล่งความรู้ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาเว็บไซต์ องค์ประกอบของเว็บไซต์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหา เกี่ยวกับ ความหมายของเว็บไซต์ การออกแบบและการพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ส่วนประกอบ ของเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนา ประเภทของเว็บไซต์ การประเมิน เว็บไซต์ และการโปรเมทเว็บไซต์ (Promote wed) ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทาหนังสือเล่มนี้ เนื่องมาจาก เป็นเรื่องที่น่าสนในตรงกับจุดประสงค์ในการเรียนในรายวิชา 1193524 โปรแกรมสร้างเว็บเพื่อการศึกษา (Web Programming for Education) ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณท่าน อ.ปวริศ สารมะโน ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ความ ช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ทุก ๆ ท่าน คณะผู้จัดทา 3 สิงหาคม 2556
  • 23. 23 สารบัญ เรื่อง หน้า ความหมายของเว็บไซต์ (Web site) 1 ประเภทของเว็บไซต์ 1 องค์ประกอบที่สาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ 3 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ 5 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ 8 การออกแบบเว็บไซต์ 10 การพัฒนาเว็บไซต์ 16 การประเมินเว็บไซต์ 18 การโปรเมทเว็บไซต์ 19 บรรณาณุกรม