SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
ความหมาย
- ความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก
- ประเภทของภาพกราฟิก
- หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
- ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมาย
กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมาย
ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน
ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่
ผู้สื่อสารต้องการ
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข
หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ใน
การจัดการ เช่น การทาตกแต่งภาพที่เรียกว่า Image Retouching
ภาพคนแก่ ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การใช้ภาพกราฟิกในการนาเสนอ
ข้อมูลต่าง ๆ
ประเภทของภาพกราฟิก
ภาพกราฟิกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภาพกราฟิกแบบ 2
มิติ และแบบ 3 มิติ
 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น
ภาพถ่าย รูปวาด สัญลักษณ์ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น
ชินจัง โดเรม่อน
ประเภทของภาพกราฟิก 2 มิติ
ประเภทของภาพกราฟิก
 ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้าง
ภาพ 3 มิติ เช่น 3D max, Maya ทาให้ได้ภาพที่มีสีและแสง
เงาเหมือนจริง เหมาะสาหรับการออกแบบและ
สถาปัตยกรรม เช่น การผลิตรถยนต์และภาพยนตร์การ์ตูน
3 มิติ
ประเภทของภาพกราฟิก 3 มิติ
เปิดป้ ายทายภาพ
1 2 3
6 7
4
5 8
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปมี 4 ระบบ คือ
1. RGB
2. CMYK
3. HSB
4. LAB
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
 RGB
เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red), เขียว
(Green) และสีน้าเงิน (Blue) เมื่อนามาผสมกันทาให้เกิดสีต่างๆ
บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรา
มองเห็นปกติ สีที่ได้จากการผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
 RGB
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
CMYK
เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษ
หรือวัสดุผิวเรียกอื่นๆ ซึ่งประกอบด้วยสีหลัก 4 สีคือ สีฟ้ า
(Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow), และสีดา
(Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดาแต่จะไม่ดาสนิท
เนื่องจากหมึกพิมพ์มีความไม่บริสุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบลบ
(Subtractive)
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
CMYK
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
 HSB
เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ ซึ่งแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน คือ Hue คือสีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุ
แล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่งมักเรียกสีตามชื่อสี เช่น สีเขียว สีแดง
สีเหลือง เป็นต้น
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
 HSB
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
 LAB
เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
“L” เป็นการกาหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0
จะกลายเป็นสีดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 จะกลายเป็นสีขาว
“A” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง
“B” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้าเงินไปสีเหลือง
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
 LAB
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Photo Retouching
โปรแกรมที่เหมาะสาหรับการแก้ไข ตกแต่งภาพ และ ทา
เอฟเฟกต์ให้กับภาพที่ได้สร้างขึ้นมาแล้ว ซึ่งอาจจะ มาจาก
ภาพถ่ายจริง ได้แก่ Adobe PhotoShop, Corel Photopaint,
PaintShop
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Photo Retouching
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Graphic Illustrator
โปรแกรมสาหรับการออกแบบงานกราฟิก หรืองาน Lay
out ซึ่งเป็นงานสองมิติ มีการเขียนรูปในลักษณะการเน้น เส้น
เน้นรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งไม่ใช่รูปถ่าย ได้แก่ Adobe Illustrator
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Graphic Illustrator
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Computer Aided Design
โปรแกรมสาหรับการเขียนภาพที่แสดงออกถึงมิติ ขนาด
ที่ ให้ความชัดเจนของวัตถุที่ต้องการสร้างขึ้นมา ได้แก่ Auto
CAD
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Computer Aided Design
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 3D Photo Realistic
โปรแกรมที่สามารถสร้างภาพสามมิติ ที่มีมวลและ
ปริมาตร และมีคุณสมบัติของพื้นผิว จนเกิดความสมจริงของ
แสง และเงา ได้แก่ 3D studio MAX, Auto CAD 3D
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 3D Photo Realistic
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Presentation
โปรแกรมกราฟิก สาหรับช่วยในการนาเสนองาน ใน
ลักษณะเป็นสไลค์ประกอบคาบรรยาย มีการสร้างภาพ กราฟิกที่
ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น เช่น กราฟชนิดต่าง ๆ หรือการสร้างแผนผัง
การจัดองค์กร โปรแกรมประเภทนี้ ส่วนมากใช้ในงานธุรกิจ
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Presentation
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Animation
เป็นโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวตามลาดับ โปรแกรม
จะ แสดงภาพเป็นลาดับให้แลดูเหมือนภาพเคลื่อนไหว โดย อาจ
มีเทคนิคต่างๆ ประกอบการแสดงภาพเช่น การซ้อน ภาพ , เลื่อน
ภาพ, การเลื่อนภาพให้หายไปได้ และ การ แปลงภาพ รวมถึงมี
ลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 Animation

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13พัน พัน
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.comอักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.competer dontoom
 
คู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorคู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorAreefin Kareng
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )Ananta Nana
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

La actualidad más candente (20)

เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
แบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉายแบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉาย
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.comอักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
 
คู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorคู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventor
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 

Similar a คอมพิวเตอร์กราฟิก

สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกvorravan
 
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกสุภรพิชญ์ ชัยชนะ
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjumjim2012
 
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์watcharawittaya school
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกBee Saruta
 
แฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docx
แฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docxแฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docx
แฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docxphattanapong1144
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดีwichuda hokaew
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3arachaporn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกvorravan
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก Pa'rig Prig
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกschool
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)kru na Swkj
 

Similar a คอมพิวเตอร์กราฟิก (20)

สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
1.1
1.11.1
1.1
 
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
1.5
1.51.5
1.5
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
แฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docx
แฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docxแฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docx
แฟ้มสะสมงานนางสาวจนิสตา ขาวพา ปวช.2 คอม.docx
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
 
Pwp unit 1.1 1.3
Pwp unit 1.1 1.3Pwp unit 1.1 1.3
Pwp unit 1.1 1.3
 

คอมพิวเตอร์กราฟิก