SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 44
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
รพ.ธนบุรี 1
06/05/58 1
• องค์การอนามัยโลกให้คาจากัดความของ
 โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
(Emerging infectious Diseases)
 โรคติดเชื้ออุบัติซ้า
(Reemerging infectious Diseases)
06/05/58 2
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
• โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆ ที่มีรายงานผู้ป่ วยเพิ่มขึ้น ในระยะ
ประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา
• โรคติดเชื้อที่มีแนวโน้มที่จะพบมากขึ้น ในอนาคตอันใกล้
• โรคที่เพิ่งจะแพร่ระบาดเข้าไปสู่อีกที่หนึ่ง
• โรคติดเชื้อที่เคยควบคุมได้ด้วยยาปฏิชีวนะ แต่มาบัดนี้เกิดการ
ดื้อยาต่างๆ เหล่านั้น
06/05/58 3
ตัวอย่างโรคติดเชื้ออุบัติใหม่
• โรคเอดส์
• ไข้หวัดใหญ่
• สัตว์ปีกหรือไข้หวัดนก
• วัณโรคดื้อยา
06/05/58 4
โรคติดเชื้ออุบัติซ้า
• โรคติดเชื้อที่เคยแพร่ระบาดในอดีต และสงบไปแล้วเป็น
เวลานานหลายปี แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก
• ตัวอย่างโรคติดเชื้ออุบัติซ้า เช่น
–วัณโรค
–ไข้เลือดออก
–มาลาเรีย
06/05/58 5
กลุ่มโรคติดต่ออุบัติใหม่: WHO
• โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases)
• โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas)
เช่น ซาร์ส
• โรคติดต่ออุบัติซ้า (Re-emerging infectious diseases)
เช่น กาฬโรค
• เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organism)
• อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons)
เช่น เชื้อแอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ
06/05/58 6
06/05/58 7
แนวโน้มโรคติดต่ออุบัติใหม่สาหรับ
ประเทศไทย
• โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่พบในประเทศไทย
–โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (H1N1)
–โรคไข้หวัดนก (H5N1)
–โรคมือ เท้า ปาก
–โรคลีเจียนเนลโลซีส
–โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
–โรคไข้หูดับ
–โรคไข้สมองอักเสบนิปาห์
06/05/58 8
แนวโน้มโรคติดเชื้ออุบัติซ้าสาหรับ
ประเทศไทย
• โรคหัด
• โรคคางทูม
• โรคไอกรน
• วัณโรค
• อหิวาตกโรค
• โรคฉี่หนู
• Community acquired MRSA
06/05/58 9
มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของ
กลุ่มประชากรมนุษย์ สัตว์ พืช
อาหาร และสินค้า
ผลกระทบจากการเปิ ดการค้าการ
ลงทุนอย่างเสรีจาก AEC
06/05/58 10
สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่
และโรคติดเชื้ออุบัติซ้า
• การเปลี่ยนแปลงวิธีการดารงชีวิต
• การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ อาหารดิบ หรืออาหาร
กระป๋ อง
• การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้ องกัน
• การใช้ยาเสพติดโดยใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
• ความก้าวหน้าในการรักษาโรคต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนอวัยวะ
06/05/58 11
ตัวอย่างปัญหาด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น
• การแพร่ระบาดมากขึ้นของโรคติดต่อ เช่น เอดส์ วัณโรค
มาลาเรีย เท้าช้าง ไข้เลือดออก อหิวาตกโรค
• เกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้า และโรคที่ถูกกาจัดให้หมดไปจาก
ประเทศไทยแล้ว เช่น คอตีบ กาฬโรค โปลิโอ รวมทั้งปัญหาเชื้อ
ดื้อยา
• การป้ องกันควบคุมโรคมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น
06/05/58 12
ตัวอย่างปัญหาด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น
• อาหาร/ผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพเข้าสู่ไทยมากขึ้น เช่น
น้ามันปาล์ม บุหรี่ สุรา ทาให้เกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
• การลักลอบนาเข้าสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ต้องห้าม เช่น ผ้าเบรกที่
ใช้ สารแอสเบสตอสเป็นส่วนประกอบ
• มีโอกาสนาเข้าสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น หมวกนิรภัย
รถจักรยานยนต์ มีผลต่อการบาดเจ็บ
06/05/58 13
ความเสี่ยงการเกิดการระบาดโรคติดต่อ
อุบัติใหม่ในประเทศไทย
• พบการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคติดต่ออุบัติซ้า รวมถึง
เหตุจงใจ หรืออุบัติเหตุในหลายพื้นที่ทั่วโลก
• การเดินทางที่สะดวก สามารถเดินทาง ภายใน 24-72 ชั่วโมง
จากทุกแห่งหนได้ทั่วโลก
• ความแตกต่างของกาย เช่น ภูมิไวรับความแตกต่างทางมิติสังคม
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ประเทศ ภูมิภาค
06/05/58 14
ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่
ในประเทศไทย
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1. โรคที่พบในประเทศ : ไข้หวัดใหญ่ 2009
2. โรคที่อาจแพร่มาจากต่างประเทศ : โรคอีโบล่า
3. โรคติดต่ออุบัติซ้าที่พบในประเทศ : โรคไข้กาฬหลังแอ่น
06/05/58 15
ผลกระทบจากการเกิดโรคติดต่อ
อุบัติใหม่
• ไม่เพียงแต่ “ผลกระทบด้านสุขภาพ” เท่านั้น ?
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
1. การใช้จ่ายเพื่อการอปุโภคบริโภคลดลง
2. ผลกระทบต่อการส่งออก
3. รายได้จากการท่องเที่ยว
06/05/58 16
ผลกระทบจากการเกิดโรคติดต่อ
อุบัติใหม่
• ผลกระทบทางสังคม
1. ประชาชนหยุดงาน เนื่องจากการป่ วย
2. โรงเรียนและธุรกิจต่าง ๆ อาจต้องหยุดกิจการชั่วคราว
3. เกิดการขาดแคลนอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภค
• ผลกระทบความมั่นคงของประเทศ
06/05/58 17
การเฝ้ าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่
06/05/58 18
"กรมควบคุมโรค...พยากรณ์โรคติดต่อ
และโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในปี 2558"
• โรคที่น่าจับตามอง 5 โรค
• โรคติดต่ออุบัติใหม่
• โรคที่คาดว่าที่จะมีผู้ป่ วยเป็นจานวนมาก
06/05/58 19
โรคที่น่าจับตามอง 5 โรค ในปี 2558
โรคที่น่าจับตามอง 5 โรค จานวนผู้ป่ วย
1. โรคไข้เลือดออก 45,000 ราย
2. โรคชิคุนกุนยา 2,500 ราย
3. โรคไทฟอยด์ 2,000 ราย
4. โรคเมลิออยโดสิส 3,100 ราย
5. โรคตาแดง 660,000 ราย
06/05/58 20
โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่น่าจับตามอง
ในปี 2558
โรคไข้หวัดนก
โรคอีโบล่า
06/05/58 21
06/05/58 22
06/05/58 23
โรคที่มีแนวโน้มการรายงานผู้ป่วยสูงมาก
ในปี 2558
โรคเท้าช้าง โรคสครับไทฟัส
อหิวาตกโรค โรคบิด โรคไข้หูดับ
06/05/58 24
โรคที่คาดว่าจะมีผู้ป่วยเป็นจานวนมาก
ปี 2558
โรค จานวน
 โรคไข้หวัดใหญ่ 90,000 ราย
 โรคอุจจาระร่วง
เฉียบพลัน
1,030,000 ราย
 โรคอาหารเป็นพิษ 129,000 ราย
 โรคมือเท้าปาก 40,000 ราย
06/05/58 25
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
06/05/58 26
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
• ระยะฟักตัวของโรค :
–โดยเฉลี่ย 2 วัน (ในช่วง 1- 4 วัน)
• การแพร่ติดต่อโรค :
–การแพร่กระจายในอากาศ และการติดต่อโดยการสัมผัสใกล้ชิด
–การไอและจามจากผู้ป่วย
–ไวรัสไข้หวัดใหญ่สามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายชั่วโมงบนพื้นดิน
(โดยเฉพาะที่มีอากาศเย็นและมีความชื้นต่า)
06/05/58 27
อาการของโรค
–มีไข้
–ปวดศีรษะ
–ปวดกล้ามเนื้อ ไม่มีแรง
–เยื่อบุโพรงจมูกอักเสบ
–เจ็บคอ ไอ (ส่วนมากเป็นไอแห้งๆ)
06/05/58 28
06/05/58 29
โรคมือเท้าปาก
• อาการของโรค
–มีแผลในช่องปาก กระพุ้งแก้ม เหงือก และด้านข้างของลิ้น
–ลักษณะตุ่มพองใสอาจอยู่นาน 7 – 10 วัน จะมีผื่นหรือตุ่มพองใส
เกิดที่บริเวณฝ่ ามือ นิ้วมือ และฝ่ าเท้า หรือบริเวณก้นได้เอง
06/05/58 30
โรคมือเท้าปาก
• ระยะฟักตัวของโรค :
 เฉลี่ย 3- 5 วัน
• การรักษา :
 ไม่มีการรักษาเฉพาะ ใช้การรักษาตามอาการ
• การแพร่ติดต่อโรค :
 การสัมผัสโดยตรงกับเชื้อที่ปนเปื้อนในน้ามูก น้าลาย หรืออุจจาระ
ของผู้ป่วยและการไอจามรดกัน
06/05/58 31
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
(MENINGOCOCCAL INFECTION)
• สาเหตุ จากการติดเชื้อแบคทีเรีย Meningococcal ที่มีชื่อว่า
Neisseria meningitidis
06/05/58 32
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
(MENINGOCOCCAL INFECTION)
• อาการของโรค :
–มีไข้สูงทันที ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
–คลื่นไส้ อาเจียน
–คอแข็ง และกลัวแสง
–มีผื่นเลือดออก ใต้ผิวหนัง ร่วมกับปื้นสีชมพู
06/05/58 33
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
(MENINGOCOCCAL INFECTION)
• อาการที่พบได้บ่อยที่สุด
–เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
–ภาวะติดเชื้อมีนิงโกคอกคัสในกระแสเลือด
–ภาวะโลหิตเป็นพิษ :
• ผื่นเลือดออกใต้ผิวหนัง
• ความดันโลหิตต่า
–การทางานของอวัยวะต่าง ๆ
06/05/58 34
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
(MENINGOCOCCAL INFECTION)
• ระยะฟักตัวของโรค :
–เฉลี่ย 3-4 วัน (พบได้ในช่วง 2-10 วัน)
• การติดต่อของโรค :
–การคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหะ
–เชื้ออยู่ในละอองน้ามูก น้าลาย เมื่อผู้ป่วยเป็นพาหะไอ หรือจาม ก็
สามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้
06/05/58 35
การป้ องกันโรค
• การล้างมือให้ถูกวิธี
• มารยาทในการไอจาม
• ให้ภูมิคุ้มกันด้วยวัคซีน
• การรักษาด้วยยาต้านไวรัส
06/05/58 36
06/05/58 37
06/05/58 38
06/05/58 39
ฉีดวัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่ปี 58
จานวน 3.4 ล้านโด๊สฟรี
• ให้ประชาชนทุกสิทธิที่เป็นกลุ่มเสี่ยง 4 กลุ่ม ได้แก่
–ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง 7 โรค
–ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป
–เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี
–หญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป
เริ่มฉีดพร้อมกันทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม – 31
กรกฎาคม 2558 สามารถเข้ารับบริการได้ที่โรงพยาบาลภาครัฐ
06/05/58 40
แหล่งข้อมูล…
 สานักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข
http://beid.ddc.moph.go.th/beid_2014/th/home
06/05/58 41
แหล่งข้อมูล…
• Facebook : prachaya56@hotmail.com
06/05/58 42
06/05/58 43
สวัสดีครับ06/05/58 44

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บMy Parents
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกmutod
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 

La actualidad más candente (20)

Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 

Destacado

โรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกโรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกFaii Manassanan
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012techno UCH
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 

Destacado (10)

โรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนกโรคไข้หวัดนก
โรคไข้หวัดนก
 
คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 

Similar a โรคอุบัติใหม่ 1

การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)Nonglak Ban
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 

Similar a โรคอุบัติใหม่ 1 (7)

STI for Pharmacist
STI for PharmacistSTI for Pharmacist
STI for Pharmacist
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 

Más de Prachaya Sriswang

Más de Prachaya Sriswang (19)

Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
ไอกรน Ppt.1
ไอกรน Ppt.1ไอกรน Ppt.1
ไอกรน Ppt.1
 

โรคอุบัติใหม่ 1

Notas del editor

  1. การเปลี่ยนแปลงวิธีการดำรงชีวิต เช่น การที่ผู้ปกครองนำบุตรไปฝากเลี้ยงที่สถานรับเลี้ยงเด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาถ้าสถานรับเลี้ยงเด็กจัดสถานที่และอาหารไม่สะอาด ไม่ถูกสุขลักษณะหรือดูแลเด็กไม่ดี อาจเกิดโรคอุจจาระร่วงและโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ