SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 125
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
19-Aug-14 1
Hospital Accreditation (HA) คือ
กลไกประเมินเพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของ
โรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและพัฒนาทั้งองค์กร
ทาให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง
19-Aug-14 2
 เป้ าหมายของ HA คือ การส่งเสริมให้ระบบบริการสุขภาพ
เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดคุณภาพ ความ
ปลอดภัย และผลลัพธ์สุขภาพที่ดี โดยเริ่มจากบริการสุขภาพใน
โรงพยาบาล และบูรณาการเข้ากับแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ
หลักคิดสาคัญที่จะทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดจาก HA
คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องพยายามทาให้ HA เป็นกระบวนการ
เรียนรู้ โดยมีเป้ าหมายที่คุณภาพและความปลอดภัย ซึ่งเป็น
เป้ าหมายที่ใหญ่และยั่งยืนกว่าการรับรอง
19-Aug-14 3
1) การมีมาตรฐานโรงพยาบาลที่ใช้เป็ นกติการ่วมกัน เป็น
มาตรฐานเชิงระบบที่ส่งเสริมการพัฒนา
2) การที่โรงพยาบาลใช้มาตรฐานเพื่อการประเมินและพัฒนา
ตนเอง อย่างสอดคล้องกับบริบทของตน และมีหลักคิดหรือ
core values ที่เหมาะสมกากับ
19-Aug-14 4
3) การประเมินจากภายนอกในลักษณะของกัลยาณมิตร เพื่อ
ยืนยันผลการประเมินตนเอง เพื่อช่วยค้นหาจุดบอดที่ทีมงาน
มองไม่เป็ น และเพื่อกระตุ้นให้เกิดมุมมองที่กว้างขวางขึ้น
4) การยกย่องชื่นชมด้วยการมอบประกาศนียบัตรรับรอง หรือ
การมอบกิตติกรรมประกาศในความสาเร็จ
19-Aug-14 5
19-Aug-14 6
19-Aug-14 7
สร้างความตระหนักในทีมผู้บริหาร/ผู้นา
การทบทวนและเชื่อมต่อความพยายามในการพัฒนา
คุณภาพ
ผู้ประสานงานคุณภาพ/กรรมการสนับสนุนและประสานงาน
การพัฒนาคุณภาพ
วิเคราะห์บรรยากาศในการทางาน และดาเนินการปรับปรุง
19-Aug-14 8
 สร้างความตระหนักแก่เจ้าหน้าที่
 ฝึกฝนทักษะของทีม
 คุณภาพเริ่มที่แต่ละคน
 คุณภาพคือการทาให้งานของเราง่ายขึ้น
 คุณภาพคือการพึ่งพิงกันและกัน
 คุณภาพคือการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
 คุณภาพคือการทาหน้าที่ตามเป้ าหมายขององค์กร/หน่วยงานอย่าง
สมบูรณ์
 แผนดาเนินงานพัฒนาคุณภาพ
19-Aug-14 9
19-Aug-14 10
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่ วย
การทบทวนความคิดเห็น/คาร้องเรียนของผู้รับบริการ
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ที่มิใช่แพทย์
การค้นหาและป้ องกันความเสี่ยง
การเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้ าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
19-Aug-14 11
การทบทวนการดูแลผู้ป่ วยจากเหตุการณ์สาคัญ
การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน
การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ
การทบทวนการใช้ทรัพยากร (Utilization
Review)
การติดตามเครื่องชี้วัดสาคัญ
19-Aug-14 12
 ความครอบคลุมทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและทุกราย
 การวางแนวทางป้ องกันโดยใช้การหารากเหง้าและ
ข้อมูลทางวิชาการ
 ผู้ทางานบอกได้ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางป้ องกัน
 มีหลักฐานการปฏิบัติตามแนวทางป้ องกันแนวทาง
ปฏิบัติ
19-Aug-14 13
Care
Communication
Continuity
Team
Human resource
Environment
Records
19-Aug-14 14
 พยาบาลทบทวนอย่างเดียวไม่ได้
 ทาทุกสัปดาห์
 ทาในทุกหอผู้ป่ วย ด้วยความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
 มีการหารากเหง้าของปัญหา
 เจ้าหน้าที่บอกปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางป้ องกัน
ได้
 มีการทาตามแนวทางที่ป้ องกัน
19-Aug-14 15
 การรับรู้และตอบสนอง
 ตู้รับความคิดเห็น/ข้อร้องเรียน
 การพูดคุยกับผู้รับบริการ
 การค้นหาผู้ประสบปัญหาในการรับบริการ
 จัดเจ้าหน้าที่รับคาร้องเรียน
 รับความคิดเห็น/ข้อร้องเรียนทางโทรศัพท์
 บันทึกประสบการณ์ของผู้ป่วย
 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
 การบันทึก
 การวิเคราะห์ข้อมูล ปรับปรุงระบบ ติดตามผล
19-Aug-14 16
 ตอบสนองทุกหน่วยงาน
 ตอบสนองเรื่องที่มีความสาคัญร้อยละ 75
 มีการจัดระบบรับฟังของร.พ.
 ใช้การหารากเหง้า
 เจ้าหน้าที่บอกปัญหาที่สาคัญ
19-Aug-14 17
 การรับรู้
การส่งต่อผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
 การบันทึก
 การวิเคราะห์ข้อมูล ปรับปรุงระบบ ติดตามผล
19-Aug-14 18
บุคคลที่ให้การตรวจรักษาจะต้องได้รับการฝึกอบรมและประเมินว่า
เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถพอ
มีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนในการขอคาปรึกษาแพทย์ และสามารถได้รับ
คาปรึกษาเมื่อต้องการ
แพทย์ผู้รับผิดชอบทบทวนการตรวจรักษาที่ได้กระทาไปโดยเร็วที่สุด
และยืนยันให้ความเห็นชอบกับการตรวจรักษาที่ได้ทาไป นาสิ่งที่
สมควรได้รับการแก้ไขปรับปรุงมาทาความเข้าใจ ชี้แนะ จัดทา
แนวทางปฏิบัติ หรือฝึกอบรม
19-Aug-14 19
 ค้นหาความเสี่ยง
 กาหนดแนวทางปฏิบัติ
 การบันทึก
 การวิเคราะห์ ปรับปรุงระบบ ติดตามผล
19-Aug-14 20
 กาหนดการติดเชื้อและกระบวนการเฝ้ าระวัง
 เก็บข้อมูล
 วิเคราะห์ข้อมูล
 ใช้ข้อมูลเพื่อปรับปรุงการดูแลผู้ป่ วย
19-Aug-14 21
การเฝ้ าระวังเฉพาะความคลาดเคลื่อน โดยไม่เชื่อมโยงกับ
ผลกระทบหรือโอกาสเกิดผลกระทบต่อผู้ป่ วย เป็ นสิ่งที่ไม่เกิด
ประโยชน์
การวัดที่เน้นไปที่ยาเฉพาะตัวซึ่งมีโอกาสเกิดปัญหาสูง หรือ
สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อความคลาดเคลื่อน จะทาให้ป้ องกัน
ความคลาดเคลื่อนได้ดีกว่า
เหตุการณ์ “เกือบพลาด” เป็ นการส่งสัญญาณว่าระบบยังมี
ปัญหา แต่โชคดีที่มีผู้ค้นพบและจัดการแก้ไขได้ก่อน
การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในองค์กรอื่น เป็ น
เสมือนเลนส์ตรวจสอบระบบในองค์กรของเรา
19-Aug-14 22
 การเสียชีวิต
 การเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อ, อันตรายหรือ
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด, ผลข้างเคียงจากยา, ปฏิกิริยาจาก
การให้เลือด
 การรักษาซ้าโดยไม่ได้วางแผน เช่น การผ่าตัดซ้า, การรับไว้รักษาซ้า
ด้วยโรคเดิม
 อุบัติการณ์อื่นๆ เช่น การพลัดตกหกล้ม, ความคลาดเคลื่อนทางยา
อุบัติการณ์เกี่ยวกับเครื่องมือ (ได้รับอันตราย, ทางานไม่ปกติ, ไม่มี
ใช้), การตรวจรักษาผิดรายหรือผิดจากแผนการที่วางไว้
 กรณี “เกือบพลาด”
19-Aug-14 23
 การรับรู้และทบทวน
 การบันทึก
 การวิเคราะห์ข้อมูล ปรับปรุงระบบ ติดตามผล
19-Aug-14 24
19-Aug-14 25
Gap analysis
 ทบทวนสิ่งที่เราปฏิบัติอยู่ (peer review) โดยทบทวนเป็ นภาพรวม ไม่
ระบุชัดเจนว่าเป็ นผู้ป่ วยรายไหน ใครเป็ นผู้รับผิดชอบ
 พิจารณาความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัย (scientific evidence) ว่าควร
นาไปใช้ในระดับใด ไม่จาเป็ นต้องถกเถียงกันว่าจะเขียน CPG ว่า
อย่างไร ไม่ต้องห่วงว่าทางแพทยสภาหรือราชวิทยาลัยจะไม่เห็นด้วย
ไม่ต้องห่วงว่าจะถูกเอาไปเป็ นข้อมูลเพื่อการฟ้ องร้อง
 เป็ นการทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพ (clinical CQI) เปลี่ยนจากสิ่งที่
เป็ นอยู่ในปัจจุบัน ไปสู่สิ่งที่ต้องการให้เป็ น
19-Aug-14 26
19-Aug-14 27
การรับรู้และทบทวน
เหตุผลในการรับผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลเพียงวันเดียว
ข้อบ่งชี้ในการส่ง investigation
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาและวัคซีน
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด
การวิเคราะห์ ปรับปรุงระบบ ติดตามผล
19-Aug-14 28
กาหนดและติดตามเครื่องชี้วัดที่สาคัญ
 การบรรลุเป้ าหมาย/พันธกิจของโรงพยาบาล
 การบรรลุเป้ าหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ตอบสนองความ
ต้องการ/คาดหวังของผู้รับบริการ
 ตามกลุ่มผู้รับบริการที่สาคัญ ติดตามทั้งกระบวนการและผลลัพธ์
ต่อเนื่อง นาเสนอให้ง่าย เข้าใจ เห็นการเปลี่ยนแปลง
เจ้าหน้าที่เห็นโอกาสพัฒนา
นาไปวิเคราะห์ ปรับปรุงการทางาน
เพิ่ม/ลดการติดตามเครื่องชี้วัด
19-Aug-14 29
 วิเคราะห์หน่วยงานอย่างเป็ นระบบ
 จัดทาคู่มือปฏิบัติงาน
 ทบทวนระบบบริหารความเสี่ยง
 พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
 โครงสร้างการนาระดับกลาง
 การประเมินตนเองตามมาตรฐาน HA
19-Aug-14 30
19-Aug-14 31
 การปฏิบัติตามข้อกาหนดในมาตรฐาน HA
 การปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
 การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมการ
เรียนรู้
19-Aug-14 32
19-Aug-14 33
 สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้ าประสงค์ขององค์กร
 สามารถแสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ clinical
outcome
 มีการประเมินประสิทธิภาพของระบบหลักๆ
 มีการใช้นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
 มีวัฒนธรรมคุณภาพ ความปลอดภัย การเรียนรู้
 มีบูรณาการของการพัฒนา
 มีการพัฒนาที่สามารถใช้เป็นแบบอย่างให้แก่รพ.อื่น
19-Aug-14 34
HA คือ การกระตุ้นให้ทาหน้าที่ตามเป้ าหมายขององค์กร
 ความต้องการของผู้รับผลงาน + ทิศทางการพัฒนาสังคม
 เน้นสร้างสุขภาพ + ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม + เชิงรุก
เน้นผู้รับผลงานเป็ นศูนย์กลาง
ทางานเป็ นทีม
 เปิดใจ
 แลกเปลี่ยน
 หาทางเลือกและตัดสินใจอย่างเหมาะสม
ทบทวนประเมินตนเอง ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
19-Aug-14 35
 ช่วงที่หนึ่ง การเตรียมการ
 ช่วงที่สอง การพัฒนาและเรียนรู้
 ช่วงที่สาม การดาเนินการ
 ช่วงที่สี่ บูรณาการและวางรากฐานเพื่อการพัฒนาต่อเนื่อง
19-Aug-14 36
วัฒนธรรมยั่งยืนบูรณาการ
คุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
คุณภาพสม่าเสมอและพยากรณ์ได้
ความเสี่ยงอยู่ในระดับต่าสุด
วิเคราะห์หน่วยงาน
ปรับกระบวนทัพ/ จัดโครงสร้างองค์กร
เชื่อมโยงกิจกรรมพื้นฐานเดิม (5 ส., SS, ESB)
ผู้นามุ่งมั่น/ได้ใจสร้างทีม
19-Aug-14 37
1
2
3
เพื่อทางานคุณภาพตามกาลังที่มีอยู่
เพื่อจัดการกับสิ่งที่สาคัญและมีผลกระทบสูง ตั้งแต่เริ่มต้น
และต่อเนื่อง
เพื่อการแข่งกับตัวเอง
เพื่อให้มีหลักชัยของความสาเร็จ
19-Aug-14 38
19-Aug-14 39
เน้นการมีเป้ าหมายของงาน
ทบทวนปัญหา/ความเสี่ยงการให้บริการและการดูแล
ผู้ป่ วย
หามาตรการป้ องกัน
ดาเนินการต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
ต้องไม่มีความเสี่ยงด้านโครงสร้างกายภาพและ
กาลังคนที่ชัดเจน
19-Aug-14 40
เชื่อมโยง การบริหารความเสี่ยง การประกันคุณภาพ และ
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เข้าด้วยกัน ในทุกระดับ
เน้นการนาข้อมูลวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพมาสู่การ
ปฏิบัติ
ติดตามเครื่องชี้วัด โดยเฉพาะทางคลินิก
บริการที่เน้นผู้ป่ วยเป็ นศูนย์กลางอย่างเป็ นรูปธรรม
ทีมระหว่างวิชาชีพ
19-Aug-14 41
 ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ครบถ้วน
 มีรูปธรรมของการพัฒนาที่ชัดเจน
 เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในองค์กร
19-Aug-14 42
19-Aug-14 43
19-Aug-14 44
19-Aug-14 45
19-Aug-14 46
19-Aug-14 47
19-Aug-14 48
19-Aug-14 49
ทาไมต้องพิจารณาการพัฒนาคุณภาพในลักษณะ 4 วง
วงกลมที่ซ้อนกันสื่อให้เราต้องพิจารณาในเรื่องอะไร
4 วงมีความสัมพันธ์กับทีมงานที่รับผิดชอบอย่างไร
4 วงมีความสัมพันธ์กับมาตรฐาน HA อย่างไร
ใครควรเป็ นผู้ monitor ความก้าวหน้าของการพัฒนา
ทั้ง 4 วงในภาพรวม
โรงพยาบาลมักให้ความสาคัญกับวงไหน และวงไหนที่ได้รับ
ความสาคัญน้อยกว่าที่ควร
19-Aug-14 50
เพื่อมีแนวทางเดินที่ชัดเจนในการพัฒนา
เพื่อให้เห็นจุดเริ่ม การเติบโต และการเชื่อมโยง อย่างเป็ น
ขั้นตอน
เพื่อมิให้การพัฒนาหยุดชะงักอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่ง
19-Aug-14 51
track สื่อให้เราต้องพิจารณาในประเด็นสาคัญอะไร
การพัฒนาตามแต่ละ track ควรเริ่มต้นอย่างไร สุดท้าย
จะไปลงเอยอย่างไร
จะนาแนวคิดเรื่อง learning มาใช้กับการพัฒนา 6
tracks อย่างไร
19-Aug-14 52
19-Aug-14 53
พรุ่งนี้จะทาอะไรให้ดีขึ้น
(continuous improvement)
จะทาให้งานง่ายขึ้นอย่างไร
จะทาให้เพื่อนของเราทางานง่ายขึ้นอย่างไร
(internal customer)
จะเพิ่มคุณค่าให้ผู้รับผลงานของเราอย่างไร
(external customer)
เราทาหน้าที่ตามเป้ าหมายของหน่วยงานสมบูรณ์หรือยัง
19-Aug-14 55
19-Aug-14 56
19-Aug-14 57
19-Aug-14 58
19-Aug-14 59
19-Aug-14 60
19-Aug-14 61
19-Aug-14 62
19-Aug-14 63
 ขั้นตอนที่มีโอกาสปรับเปลี่ยนการกระทาหรือการตัดสินใจ
 มุมมองของผู้เกี่ยวข้องเมื่อมองย้อนหลัง และผู้อยู่ในเหตุการณ์
 มาตรการที่จะช่วยให้เกิดการกระทาหรือการตัดสินใจตามที่คาดหวัง
 โดยใช้แนวคิด Visual Management
 โดยใช้แนวคิด Human Factor Engineering
19-Aug-14 64
 เป็ นการใช้แนวคิดการมุ่งปรับปรุงระบบมากกว่าที่ตัวคนเพื่อช่วยให้
คนทางาน ทาในสิ่งที่ได้รับการคาดหวัง ด้วยวิธีที่ง่ายและสะดวกที่สุด
ใช้การจดจาน้อยที่สุด Visual Management เป็ นส่วน
หนึ่งของ HFE
19-Aug-14 65
 เพื่อคัดกรองเวชระเบียนที่มีโอกาสพบ AE มาทบทวน ให้มีโอกาส
ได้รับรู้และเรียนรู้ AE มากที่สุดอาจนาไปสู่การคานวณอัตราการ
เกิดAE/1000 วันนอน ซึ่งเป็ นตัวชี้วัดความปลอดภัยที่มองใน
ภาพรวม
19-Aug-14 66
19-Aug-14 67
19-Aug-14 68
19-Aug-14 69
19-Aug-14 70
19-Aug-14 71
19-Aug-14 72
19-Aug-14 73
19-Aug-14 74
19-Aug-14 75
19-Aug-14 76
19-Aug-14 77
19-Aug-14 78
19-Aug-14 79
1. คิดถึงเป้ าหมายของมาตรฐานเรื่องที่จะตามรอย
2. คิดถึง object หรือข้อมูล หรือเนื้อหาที่สามารถใช้เป็น
ตัวเชื่อมโยง หรือตามรอยได้ (ถ้ามี) เช่น ผู้ป่วย ยา
ข้อมูลข่าวสาร
3. คิดถึงหน่วยงาน/ บุคคลที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ต้นทางถึง
ปลายทาง (ผู้วางแผน ผู้ปฏิบัติ ผู้รับผลงาน)
19-Aug-14 80
4. คิดถึงประเด็นสาคัญที่ควรใส่ใจในแต่ละจุด
• เป้ าหมาย คุณภาพ ความเสี่ยง
• การต่อเชื่อมกับขั้นตอนหรือจุดบริการอื่น
5. คิดถึงวิธีการที่จะรับรู้ข้อมูลในประเด็นสาคัญดังกล่าว
(สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาข้อมูล)
6. คิดถึงระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถตามรอยดูได้
19-Aug-14 81
 I-1.1ก ผู้นำระดับสูงสร้ำงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรพัฒนำ
คุณภำพและกำรเรียนรู้ที่เอื้อต่อกำรบรรลุควำมสำเร็จ
ขององค์กรได้ดีเพียงใด
 I-3.2/3.2 องค์กรมีกำรรับฟังควำมคิดเห็น เสียงสะท้อน
คำร้องเรียน และนำมำใช้ประโยชน์ในกำรพัฒนำอย่ำงไร
 I-3.3 ผู้ป่ วยได้รับกำรคุ้มครองสิทธิในขั้นตอนต่ำงๆ ของ
กำรดูแลอย่ำงไร
19-Aug-14 82
I-4 กำรวัดผลงำนในหน่วยงำนและระบบงำนต่ำงๆ
สอดคล้องกับเป้ ำหมำยและควำมต้องกำรของ รพ.
เพียงใด มีกำรวิเครำะห์และนำไปใช้ประโยชน์อย่ำงไร
I-5 บุคลำกรได้รับกำรปฏิบัติจำก รพ.อย่ำงไรบ้ำงตั้งแต่
เริ่มเข้ำทำงำนจนถึงปัจจุบัน สิ่งเหล่ำนั้นมีผลต่อกำรสร้ำง
ผลงำนที่ดีให้แก่องค์กรอย่ำงไร
19-Aug-14 83
 II-1.1ก ผู้นำสนับสนุนกำรพัฒนำคุณภำพและควำมปลอดภัย
อย่ำงไร ใช้เหตุกำรณ์และสถำนกำรณ์ต่ำงๆ เพื่อส่งเสริมกำร
เรียนรู้และพัฒนำอย่ำงไร
 II-1.1ข กำรประสำนและเชื่อมโยง RM, QA, CQI & Patient safety
ทำได้ดีเพียงใด
 II-1.1ค กำรประสำนงำนของสหสำขำวิชำชีพในกำรแก้ปัญหำ
พัฒนำ และกำกับดูแลระบบงำนสำคัญ ทำได้ดีเพียงใด
 II-1.1ง ทีมงำนต่ำงๆ ใช้กำรประเมินตนเองเพื่อหำโอกำสพัฒนำ
ได้ดีเพียงใด
19-Aug-14 84
 II-2.1 ระบบบริหำรกำรพยำบำลเผชิญกับควำมท้ำทำย
อะไรบ้ำง มีวิธีกำรจัดกำรกับควำมท้ำทำยดังกล่ำว
อย่ำงไร ประเมินผลควำมสำเร็จอย่ำงไร
 II-2.2 องค์กรแพทย์เผชิญกับควำมท้ำทำยอะไรบ้ำง มี
วิธีกำรจัดกำรกับควำมท้ำทำยดังกล่ำวอย่ำงไร
ประเมินผลควำมสำเร็จอย่ำงไร
19-Aug-14 85
 II-3.1 รพ.มีควำมพร้อมในกำรจัดกำรกับภำวะฉุกเฉิน
เพียงใด (รพ.เสี่ยงต่อภำวะฉุกเฉินอะไรบ้ำง วำงแผน
รองรับอย่ำงไร ฝึกอบรมอย่ำงไร คนมีควำมตระหนัก
รับรู้ และมีทักษะพอหรือไม่ รพ.ทดสอบระบบของตนเอง
อย่ำงไร)
 II-3.2ก ระบบบำรุงรักษำและซ่อมบำรุงเครื่องมือ มี
ประสิทธิภำพเพียงใด
 II-3.3 กำรจัดสิ่งแวดล้อมต่ำงๆ เอื้อต่อกำรเยียวยำและ
กำรเรียนรู้เพียงใด
19-Aug-14 86
 II-4.2ก(1) ตำมรอยกำรใช้ standard precautions และ
isolation precautions
 II-4.2ก(3) พื้นที่ที่เสี่ยงต่อกำรติดเชื้อ มีระบบกำรป้ องกัน
และควบคุมกำรติดเชื้อที่เหมำะสมตำมหลักวิชำกำร
เพียงใด
 II-4.3 ตำมรอยกระบวนกำรเฝ้ ำระวังกำรติดเชื้อ มีกำร
วิเครำะห์ข้อมูลและใช้ประโยชน์เพื่อกำรป้ องกันกำรติด
เชื้ออย่ำงไร
19-Aug-14 87
II-5 บันทึกเวชระเบียนสำมำรถตอบสนองต่อควำม
ต้องกำรของผู้เกี่ยวข้องได้เพียงใด มีกำรใช้ประโยชน์
ร่วมกันอย่ำงไร มีกำรรักษำควำมลับของข้อมูลรัดกุม
เพียงใด
 II-6.2 ตำมรอยกระบวนกำรที่เกี่ยวข้องกับควำมปลอดภัย
ในกำรใช้ยำ
 II-6.2ก(5) กำรทำ med reconcile ครอบคลุมจุดที่มีควำม
เสี่ยงสำคัญ สำมำรถใช้ประโยชน์จำกข้อมูล และลด med
error ได้ดีเพียงใด
19-Aug-14 88
 II-7ก บริกำร lab สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของแพทย์และ
ผู้ป่ วยได้อย่ำงน่ำเชื่อถือและมีประสิทธิภำพเพียงใด
 II-7ข กำรใช้เลือดใน รพ. มีควำมปลอดภัยเพียงใด มีระบบบันทึก
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอะไร และใช้ประโยชน์จำกข้อมูลอย่ำงไรบ้ำง
 II-7ค มีกำรจัดกำรเพื่อให้ได้ภำพเอกซเรย์ที่มีคุณภำพ โดยมี
อันตรำยจำกรังสีน้อยที่สุดอย่ำงไร
 II-8 รพ.วิเครำะห์ข้อมูลกำรเฝ้ ำระวังโรคและภัยสุขภำพอย่ำงไร
สำมำรถใช้ข้อมูลดังกล่ำวเพื่อควบคุมกำรระบำดของโรคได้ดี
เพียงใด
19-Aug-14 89
19-Aug-14 90
 เพื่อทบทวน ใคร่ครวญการทางานและการพัฒนาที่ผ่านมา
 เพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติในสิ่งที่คาดหวังหรือปรับระบบไว้
 เพื่อค้นหาโอกาสพัฒนาในขั้นต่อไป
 เพื่อสื่อสารผลงานกับผู้เยี่ยมสารวจ
19-Aug-14 91
19-Aug-14 92
19-Aug-14 93
19-Aug-14 94
19-Aug-14 95
19-Aug-14 96
19-Aug-14 97
19-Aug-14 98
19-Aug-14 99
19-Aug-14 100
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเรียนรู้วิธีการในการจัดทาแผนกลยุทธ์ของ
โรงพยาบาลที่จะทาให้สอดคล้องกับบริบท รวมทั้งข้อมูล
ต่างๆ ที่นามาใช้วิเคราะห์เพื่อกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกล
ยุทธ์ และการจัดทาแผนปฏิบัติการ
2. เพื่อเรียนรู้ปัญหาอุปสรรคในการนาแผนกลยุทธ์และ
แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ
3. เพื่อเรียนรู้วิธีการติดตามความก้าวหน้าและการบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ รวมทั้งการนาข้อมูลต่างๆ มา
วิเคราะห์
19-Aug-14 101
1. มีการระบุความท้าทายขององค์กรชัดเจนหรือไม่
2. แผนกลยุทธ์มีการจัดระบบและหมวดหมู่ที่เข้าใจง่าย มี
ลาดับชั้นของวัตถุประสงค์ และกาหนดความคาดหวังของ
วัตถุประสงค์ชัดเจนหรือไม่
3. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สอดคล้องกับความท้าทายหรือไม่
ครอบคลุมความท้าทายสาคัญหรือไม่
4. มีตัวชี้วัดที่วัดการบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละระดับหรือไม่
5. มีการกาหนดวิธีการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์อื่นๆ
ในกรณีที่ไม่เหมาะที่จะใช้ตัวชี้วัดหรือไม่
19-Aug-14 102
19-Aug-14 103
• ระบบกำรจ่ำยเงินที่บีบให้รพ.ต้องประหยัด
• ควำมต้องกำรให้มีคุณภำพและควำมปลอดภัยเพิ่ม
มำกขึ้น
• กระแสสิทธิของผู้บริโภค กำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำร
ควำมไม่ไว้วำงใจ ควำมสัมพันธ์กับผู้รับบริกำร
• ปริมำณผู้รับบริกำรที่เพิ่มมำกขึ้น
• กำลังคน: ไม่เพียงพอ เพิ่มไม่ได้ หมุนเวียนสูง ขำด
ประสบกำรณ์
• ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เพิ่มขึ้น
• ลักษณะกำรเจ็บป่ วยที่เปลี่ยนแปลงไป
• โครงสร้ำงอำคำรและครุภัณฑ์ที่มีอำยุใช้งำนนำน
• กำรสร้ำงควำมร่วมมือและกำรสื่อสำรกับชุมชน
ควำมท้ำทำยเชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
19-Aug-14 104
19-Aug-14 105
19-Aug-14 106
19-Aug-14 107
19-Aug-14 108
19-Aug-14 109
19-Aug-14 110
19-Aug-14 111
19-Aug-14 112
19-Aug-14 113
19-Aug-14 114
19-Aug-14 115
19-Aug-14 116
19-Aug-14 117
19-Aug-14 118
19-Aug-14 119
19-Aug-14 120
19-Aug-14 121
19-Aug-14 122
19-Aug-14 123
19-Aug-14 124
19-Aug-14 125
19-Aug-14 126

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)techno UCH
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 

La actualidad más candente (20)

Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 

Destacado

ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
Web site แนะนำ web site ของผม
Web site แนะนำ web site ของผมWeb site แนะนำ web site ของผม
Web site แนะนำ web site ของผมmaruay songtanin
 
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21Phusit Konsurin
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
The 21st century workspace
The 21st century workspaceThe 21st century workspace
The 21st century workspacemaruay songtanin
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุดmaruay songtanin
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
16 leadership lessons from a four star general
16 leadership lessons from a four star general16 leadership lessons from a four star general
16 leadership lessons from a four star generalmaruay songtanin
 
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20152015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015maruay songtanin
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ maruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมmaruay songtanin
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + selfmaruay songtanin
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพmaruay songtanin
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อmaruay songtanin
 
Defining Learning Organization
Defining Learning OrganizationDefining Learning Organization
Defining Learning OrganizationRuchira Jayasinghe
 

Destacado (20)

ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
 
Web site แนะนำ web site ของผม
Web site แนะนำ web site ของผมWeb site แนะนำ web site ของผม
Web site แนะนำ web site ของผม
 
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
The 21st century workspace
The 21st century workspaceThe 21st century workspace
The 21st century workspace
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
16 leadership lessons from a four star general
16 leadership lessons from a four star general16 leadership lessons from a four star general
16 leadership lessons from a four star general
 
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20152015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
 
Strategy or execution
Strategy or executionStrategy or execution
Strategy or execution
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + self
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
 
Defining Learning Organization
Defining Learning OrganizationDefining Learning Organization
Defining Learning Organization
 
Organizational Learning
Organizational LearningOrganizational Learning
Organizational Learning
 

Similar a Ha overview.1

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)pattarawalai talungchit
 
Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.
Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.
Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.maruay songtanin
 
804501 กฤษณี&ปิยชาติ
804501 กฤษณี&ปิยชาติ804501 กฤษณี&ปิยชาติ
804501 กฤษณี&ปิยชาติgitsanee thongnoi
 
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
เอกลักษณ์ของ  HA  ไทยเอกลักษณ์ของ  HA  ไทย
เอกลักษณ์ของ HA ไทยSuradet Sriangkoon
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 

Similar a Ha overview.1 (20)

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)
 
Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.
Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.
Ha update 2018 การเปลี่ยนแปลงของ สรพ.
 
804501 กฤษณี&ปิยชาติ
804501 กฤษณี&ปิยชาติ804501 กฤษณี&ปิยชาติ
804501 กฤษณี&ปิยชาติ
 
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
เอกลักษณ์ของ  HA  ไทยเอกลักษณ์ของ  HA  ไทย
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 
Hpon2 mix
Hpon2 mixHpon2 mix
Hpon2 mix
 
Thai Informatics Year In Review 2015
Thai Informatics Year In Review 2015Thai Informatics Year In Review 2015
Thai Informatics Year In Review 2015
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 

Más de Prachaya Sriswang

Más de Prachaya Sriswang (20)

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 

Ha overview.1

Notas del editor

  1. เหตุใดจึงต้องรับผู้ป่วยไว้นอนโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีสภาพอย่างไรเมื่อแรกรับ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ มีข้อมูลอะไรสนับสนุนการวินิจฉัยโรคที่ให้ไว้มีข้อมูลอะไรสนับสนุนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยโรค มีแผนการดูแลผู้ป่วยที่สอดคล้องกับสภาพผู้ป่วยหรือไม่ อะไรทำให้มีการสั่งตรวจ investigate แต่ละครั้ง ได้ใช้ผลการตรวจ investigate อย่างไร อะไรทำให้มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมคำสั่งการรักษา ผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนไปอย่างไร ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนอะไรบ้าง มีการบันทึกไว้ชัดเจนหรือไม่ มีการประเมินปัญหาที่จะเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยกลับไปบ้านหรือไม่ ถ้ามีโอกาสเกิดปัญหาได้มีการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างไร
  2. แนวทางการแปรเรื่องร้ายให้กลายเป็นดี หรือการเรียนรู้จากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เพื่อปรับปรุงระบบงานให้รัดกุม หาวิธีรับรู้เรื่องร้ายให้มากที่สุดและไวที่สุด ด้วย (1) กิจกรรมทบทวนคุณภาพ (2) รายงานอุบัติการณ์ (3) ใช้ trigger tool คัดกรองเวชระเบียนมาทบทวน เรียนรู้จากเรื่องร้ายด้วยการ (1) วิเคราะห์จุดเปลี่ยน / โอกาสเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจหรือการกระทำ (2) รับฟังความคิด ความต้องการ ความรู้สึกของผู้อยู่ในเหตุการณ์ (3) สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกด้วยหลักการ human factor engineering จากข้อ 2 วางระบบป้องกันที่รัดกุม สื่อสาร ฝึกอบรม จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ตามรอยการปฏิบัติตามมาตรการที่วางไว้ หรือสร้างความรู้ด้วยการวิจัย สะสมเป็นขุมทรัพย์ความรู้ขององค์กร และใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาต่อเนื่อง แนวทางการแปรเรื่องร้ายให้กลายเป็นดี หรือการเรียนรู้จากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เพื่อปรับปรุงระบบงานให้รัดกุม หาวิธีรับรู้เรื่องร้ายให้มากที่สุดและไวที่สุด ด้วย (1) กิจกรรมทบทวนคุณภาพ (2) รายงานอุบัติการณ์ (3) ใช้ trigger tool คัดกรองเวชระเบียนมาทบทวน เรียนรู้จากเรื่องร้ายด้วยการ (1) วิเคราะห์จุดเปลี่ยน / โอกาสเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจหรือการกระทำ (2) รับฟังความคิด ความต้องการ ความรู้สึกของผู้อยู่ในเหตุการณ์ (3) สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกด้วยหลักการ human factor engineering จากข้อ 2 วางระบบป้องกันที่รัดกุม สื่อสาร ฝึกอบรม จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ตามรอยการปฏิบัติตามมาตรการที่วางไว้ หรือสร้างความรู้ด้วยการวิจัย สะสมเป็นขุมทรัพย์ความรู้ขององค์กร และใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาต่อเนื่อง
  3. อคติของการมองย้อนหลัง (Hindsight Bias) การที่เราทราบผลการวินิจฉัยขั้นสุดท้าย ทำให้เราได้เปรียบผู้ที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยรายนั้น ซึ่งเผชิญกับความไม่แน่นอนหลายประการ และภาระงานที่รุมเร้ารอบตัว การรับรู้ผลดังกล่าวเป็นการเรียนรู้ที่สำคัญ แต่พึงตระหนักถึงอคติที่แฝงอยู่ และต้องมีจิตใจที่เป็นกลาง เข้าใจผู้เกี่ยวข้อง มองทุกมุมอย่างไม่มีอคติ เราสามารถใช้ประโยชน์จากอคติของการมองย้อนหลังได้ดังนี้ เมื่อมองย้อนหลัง เราเห็นจุดอ่อนหรือโอกาสพัฒนาในขั้นตอนใดบ้าง การกระทำหรือการตัดสินใจที่ควรจะเป็นคืออะไร เมื่อมองในมุมมองของผู้ปฏิบัติงาน สร้างบรรยากาศที่ปลอดภัยและเปิดใจ ให้ผู้เกี่ยวข้องแต่ละคนบอกเล่าสิ่งต่อไปนี้ (บางข้อหรือทุกข้อ) ความรู้สึก ข้อมูลที่รับรู้และการแปลความหมายข้อมูล ข้อจำกัด และความห่วงกังวล ความต้องการ เมื่อมองในมุมมองของการพัฒนา จะสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกหรือลดข้อจำกัดที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดการกระทำที่พึงจะเกิดขึ้นได้อย่างไร
  4. ตัวตามรอยทางคลินิก (Clinical Tracer) เป็นการประมวลเครื่องมือและแนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่มีอยู่แล้ว มาใช้พร้อมๆ กันสำหรับผู้ป่วยกลุ่มเดียวกัน ทำให้สามารถต่อยอดจากการทบทวนผู้ป่วยเป็นรายๆ สู่การพัฒนาที่เป็นระบบและครอบคลุมในทุกองค์ประกอบ และประเมินการนำมาตรฐานมาสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การตามรอยทางคลินิก อาจทำได้ตามลำดับขั้นดังนี้ คุยกันเล่น ประเด็นสำคัญในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ รวมไปถึงคุณค่าที่ผู้ป่วยต้องการ และเป้าหมายการดูแล (อาจจะเสริมด้วยการ search หา treatment goal จาก internet) แนวทางเพื่อให้การดูแลในประเด็นดังกล่าวมีคุณภาพ เห็นของจริง ตามรอยผู้ป่วยที่ได้เข้ารับบริการไปตามจุดต่างๆ (individual patient tracer) ตามรอยกระบวนการดูแลไปในทุกขั้นตอน Risk/critical issue ที่จุดนั้น ซักซ้อมความเข้าใจในประเด็นสำคัญของแต่ละขั้นตอน ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และการเตรียมการเพื่อรองรับความไม่แน่นอนต่างๆ ความล่าช้า การรอคอย กิจกรรมที่ไม่เกิดประโยชน์ การสื่อสาร จากจุดก่อนหน้า และสู่จุดต่อไป การให้คุณค่า ความเหมาะสม ประสิทธิผล ที่จุดนั้น โอกาสเพิ่มคุณค่า โอกาสสร้างนวตกรรม โอกาสใช้ IT โอกาสที่คนเก่งขึ้น ตามรอยระบบสำคัญที่เกี่ยวข้อง ว่ามีโอกาสสนับสนุนให้การดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวดีขึ้นได้อย่างไร ทบทวน ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ทั้ง process indicator และ outcome indicator แนวคิดและกระบวนการพัฒนาคุณภาพที่นำมาใช้ในโรคนี้ ต่อยอด ใช้แนวคิด lean มาพัฒนาร่วมกับ clinical tracer
  5. Clinical Self Enquiry แนวทางการประมวลภาพรวมของการดูแลผู้ป่วย เครื่องมือพัฒนาคุณภาพด้านคลินิกที่เริ่มมีเพิ่มมากขึ้น อาจจะทำให้เกิดความสับสนในการนำมาใช้ หรือลักษณะที่หลากหลายทำให้ไม่สามารถรวบรวมความรู้มาได้อย่างเป็นระบบ ในเครื่องมือเหล่านี้ บางอย่างเน้นที่กระบวนการดูแลผู้ป่วย (การทบทวนเวชระเบียน) บางอย่างเน้นที่ลักษณะการเจ็บป่วย (clinical tracer) และบางอย่างเน้นสิ่งที่พบข้างเตียง (การทบทวนข้างเตียง) การนำข้อมูลที่เกิดขึ้นมาประมวลเข้าด้วยกันจะทำให้เห็นภาพรวมจากมุมมองต่างๆ สิ่งที่จะร้อยเรียงข้อมูลเหล่านี้เข้าด้วยกันคือขั้นตอนในกระบวนการดูแลผู้ป่วย (patient care process) ซึ่งอยู่ในมาตรฐาน HA ตอนที่ III บัตรบันทึกข้อมูลภาพขวาบน แสดงให้เห็นถึงการสรุปข้อมูลเฉพาะในสิ่งที่สำคัญจะช่วยลดภาระงานและช่วยให้การประมวลผลทำได้ง่ายขึ้น ข้อมูลเหล่านั้นได้แก่ โรค กระบวนการที่เกิดเหตุการณ์ แหล่งที่มาของข้อมูลหรือเครื่องมือที่ทำให้ได้ข้อมูลนั้นมา สิ่งที่ทำได้ดีสามารถนำไปใช้เป็นแบบอย่างได้ และโอกาสพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสพัฒนานั้นควรจะมีความชัดเจนพอที่จะสามารถนำไปพัฒนาได้ง่าย กระบวนการนี้เป็นเสมือนจุดตั้งต้นของการค้นหาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโดยทีมงานของโรงพยาบาลเอง จึงอาจเรียกได้ว่าเป็น clinical self enquiry ข้อมูลที่ได้อาจนำไปสู่การสืบค้นทำความเข้าใจที่ลึกซึ้งมากขึ้น หรือนำไปสู่การพัฒนาระบบงานเลยก็ได้ เครื่องมือคุณภาพซึ่งเป็นแหล่งที่มาของข้อมูลดังกล่าวได้แก่ 1) การทบทวนข้างเตียงผู้ป่วย, 2) การรับรู้เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (AE) ผ่านการรายงานและการใช้ trigger เพื่อคัดกรองเวชระเบียนมาทบทวน, 3) การวิเคราะห์ผลการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มโรคต่างๆ (clinical tracer), 4) การตามรอย PSG: SIMPLE, 5) การทบทวนการปฏิบัติตามมาตรฐานตอนที่ III จากเวชระเบียน 6) การวิเคราะห์โรคตัวแทน (proxy disease) ที่สามารถสะท้อนคุณภาพในขั้นตอนที่เราสนใจ
  6. ทำให้มาตรฐานเข้าไปอยู่ในงานประจำ มาตรฐานจะเกิดประโยชน์ต่อเมื่อได้รับการนำไปปฏิบัติในการทำงานปกติประจำ มาตรฐานบางเรื่องเป็นสิ่งที่ปฏิบัติอยู่แล้วโดยไม่รู้ตัว บางเรื่องเป็นสิ่งที่ยังไม่ได้รับความสำคัญ บางเรื่องเป็นสิ่งที่เข้าใจว่าทำแต่ยังสามารถทำให้มีคุณค่าเพิ่มขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ เรื่องทีปฏิบัติอยู่แล้วโดยไม่รู้ตัว เมื่อนำมาเล่าสู่กันฟังและเชื่อมโยงกับมาตรฐาน จะเกิดความเข้าใจมาตรฐานดีขึ้น เรื่องที่ยังไม่ได้รับความสำคัญ ต้องศึกษามาตรฐานและวิเคราะห์ว่าส่วนใดบ้างที่ยังไม่ได้มีการปฏิบัติ เรื่องที่สามารถทำให้มีคุณค่าเพิ่มขึ้น ต้องอาศัยการไปดูของจริง และการใคร่ครวญคุณค่าของสิ่งที่ทำ และความคาดหวังของผู้เกี่ยวข้อง ข้อแนะนำเพื่อให้นำมาตรฐานเข้าไปอยู่ในงานประจำ ควรเป็นสิ่งที่ทำได้ง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน ดังต่อไปนี้ ทำความเข้าใจเป้าหมายของมาตรฐานแต่ละเรื่อง แต่ละประเด็น เน้นการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้อง เน้นคุณค่าที่ผู้รับผลงานหลักจะได้รับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีผู้ป่วย ควรเน้นที่คุณภาพ ความปลอดภัย การสร้างเสริมสุขภาพ นำมาตรฐานมาคุยกันเล่นในประเด็นง่ายๆ เกี่ยวกับเป้าหมายของมาตรฐาน และสิ่งที่เป็นความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเรื่องนี้ ตามรอยการปฏิบัติในสถานที่จริง ในสถานการณ์จริง เพื่อให้เห็นของจริง ว่าเราทำงานกันอย่างไร ทำได้ดีหรือไม่ ประเมินระบบงานของเราอย่างเป็นระบบ เริ่มจากการใช้วิธีการเชิงคุณภาพ คือวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของสิ่งที่ทำอยู่ ตรงไหนที่สามารถวัดได้ก็ให้มีการวัดที่ตรงประเด็นและน่าเชื่อถือ
  7. SPA ย่อมาจาก Standards – Practice – Assessment เดิม รพ.สนใจทำเอกสารประเมินตนเอง SA โดยให้ความสำคัญกับการนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติน้อย การเพิ่ม P เข้ามาแทรกใน SA เป็นการส่งสัญญาณให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัติ เพื่อให้มาตรฐานนั้นเกิดประโยชน์ต่อองค์กรอย่างแท้จริง Practice หรือ “กิจกรรมที่ควรดำเนินการ” คือการขยายความมาตรฐานให้มีความชัดเจนว่ารูปธรรมในการปฏิบัติควรเป็นอย่างไร การขยายความนี้สามารถเชื่อมต่อมาตรฐาน HA/HPH กับมาตรฐานอื่นๆ รวมทั้งชี้แนวทางที่ไปไกลกว่ามาตรฐาน เช่น การดูแลด้วยหัวใจและความรัก Assessment หรือ “ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป” คือการระบุเฉพาะส่วนสำคัญจริงๆ ที่ รพ.ควรนำมาตอบในเอกสารประเมินตนเอง เพื่อลดภาระงานการจัดทำเอกสาร โดยมีจุดเน้นที่บทเรียนและผลลัพธ์ของการนำมาตรฐานไปปฏิบัติ เป็นบทเรียนที่ผ่านการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมกันในทีมงานที่เกี่ยวข้อง
  8. Scoring Guidelines Scoring guideline เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อเป้าหมายสองประการคือ 1) เพื่อส่งเสริมให้ รพ.มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยกระดับ maturity ของการพัฒนาให้สูงขึ้นเป็นลำดับ 2) เพื่อช่วยให้มีมาตรฐานในการตัดสินใจรับรองโรงพยาบาล แนวทางการให้คะแนนนี้ดัดแปลงมาจากแนวทางของ MBNQA/TQA แต่ทำให้ง่ายขึ้นด้วยการปรับให้เป็น 5 ระดับ คะแนน 1 หมายถึงการเริ่มต้นพัฒนาในเรื่องง่ายๆ เช่น โครงสร้างกายภาพ การตั้งทีม กิจกรรมข้อเสนอแนะ กิจกรรม 5 ส. เป็นต้น คะแนน 2 หมายถึงการวางระบบที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของ รพ. มีการสื่อสารทำความเข้าใจ และเริ่มนำไปปฏิบัติ ยังมีประเด็นสำคัญที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม คะแนน 3 หมายถึงการออกแบบระบบที่ดี มีการนำไปปฏิบัติด้วยความเข้าใจ สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้าหมายพื้นฐานของมาตรฐานได้ เริ่มมีการประเมินความสำเร็จด้วยวิธีง่ายๆ คะแนน 4 หมายถึงมีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ มีบูรณาการกับหน่วยงาน กระบวนการ ระบบงาน แผนงาน ที่เกี่ยวข้อง และมีการใช้นวตกรรมเพื่อออกแบบระบบงานใหม่ คะแนน 5 หมายถึงมีผลการดำเนินที่เด่นชัด มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่องพ้นจากค่าเฉลี่ย สามรถเป็นแบบอย่างของการพัฒนาได้ Scoring Guidelines Scoring guideline เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อเป้าหมายสองประการคือ 1) เพื่อส่งเสริมให้ รพ.มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยกระดับ maturity ของการพัฒนาให้สูงขึ้นเป็นลำดับ 2) เพื่อช่วยให้มีมาตรฐานในการตัดสินใจรับรองโรงพยาบาล แนวทางการให้คะแนนนี้ดัดแปลงมาจากแนวทางของ MBNQA/TQA แต่ทำให้ง่ายขึ้นด้วยการปรับให้เป็น 5 ระดับ คะแนน 1 หมายถึงการเริ่มต้นพัฒนาในเรื่องง่ายๆ เช่น โครงสร้างกายภาพ การตั้งทีม กิจกรรมข้อเสนอแนะ กิจกรรม 5 ส. เป็นต้น คะแนน 2 หมายถึงการวางระบบที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของ รพ. มีการสื่อสารทำความเข้าใจ และเริ่มนำไปปฏิบัติ ยังมีประเด็นสำคัญที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม คะแนน 3 หมายถึงการออกแบบระบบที่ดี มีการนำไปปฏิบัติด้วยความเข้าใจ สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้าหมายพื้นฐานของมาตรฐานได้ เริ่มมีการประเมินความสำเร็จด้วยวิธีง่ายๆ คะแนน 4 หมายถึงมีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ มีบูรณาการกับหน่วยงาน กระบวนการ ระบบงาน แผนงาน ที่เกี่ยวข้อง และมีการใช้นวตกรรมเพื่อออกแบบระบบงานใหม่ คะแนน 5 หมายถึงมีผลการดำเนินที่เด่นชัด มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่องพ้นจากค่าเฉลี่ย สามรถเป็นแบบอย่างของการพัฒนาได้
  9. พรพ.ได้จัดให้มีระบบการประเมินตามลำดับขั้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2547 ส่งผลโรงพยาบาลต่างๆ ได้รับการรับรองในบันไดขั้นที่ 1 และ 2 จำนวนมาก และทาง สปสช.ได้นำขั้นของการรับรองมาใช้ในการคำนวณอัตราการจ่ายเงินตามผลงานตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ในปี 2551 พรพ.ได้พัฒนาเครื่องมือประมวลผลคะแนนสำหรับการเยี่ยมสำรวจเพื่อการรับรองกระบวนการคุณภาพ (detailed scoring for accreditation) และได้ดัดแปลงให้สามารถใช้ประเมินในระดับภาพรวมของแต่ละองค์ประกอบ (overall scoring) เพื่อให้ง่ายสำหรับการประเมินได้รวดเร็วโดยไม่ต้องลงรายละเอียดจำนวนมาก ซึ่งเหมาะที่จะนำมาใช้กับโรงพยาบาลที่อยู่ระหว่างการพัฒนา ทำให้เห็นโอกาสพัฒนาในแต่ละองค์ประกอบได้ชัดเจน ในปี 2552 สปสช. สนับสนุนให้ พรพ. เข้าเยี่ยม รพ.ทุกแห่งในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้ overall scoring เพื่อกระตุ้นการพัฒนา และมีคะแนนบอกระดับการพัฒนาของแต่ละโรงพยาบาล คะแนนนี้จะมีผลต่อการจัดสรรงบประมาณด้านคุณภาพให้แก่ รพ. หลักการกำหนดคะแนนจะอิงตาม scoring guideline 5 ระดับ และตามสภาวะที่เป็นจริงของโรงพยาบาลต่างๆ โดยเลือกประเด็นที่มีความสำคัญสูง ไม่เน้นความสมบูรณ์ในทุกประเด็น เลือกประเด็นที่รับรู้ได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้เวลาเจาะลึกมากเกินไป ช่วยให้ผู้เยี่ยมและทีมงานของ รพ.ไม่ติดในรายละเอียดจนลืมเป้าหมายของมาตรฐาน เป้าหมายเพื่อช่วยให้ รพ.เห็นตัวเองได้ง่าย เข้าใจหัวใจของมาตรฐานใหม่ได้ง่ายก่อนลงรายละเอียด ในปี 2552 สปสช. สนับสนุนให้ พรพ. เข้าเยี่ยม รพ.ทุกแห่งในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้ overall scoring เพื่อกระตุ้นการพัฒนา และมีคะแนนบอกระดับการพัฒนาของแต่ละโรงพยาบาล คะแนนนี้จะมีผลต่อการจัดสรรงบประมาณด้านคุณภาพให้แก่ รพ. หลักการกำหนดคะแนนจะอิงตาม scoring guideline 5 ระดับ และตามสภาวะที่เป็นจริงของโรงพยาบาลต่างๆ โดยเลือกประเด็นที่มีความสำคัญสูง ไม่เน้นความสมบูรณ์ในทุกประเด็น เลือกประเด็นที่รับรู้ได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้เวลาเจาะลึกมากเกินไป ช่วยให้ผู้เยี่ยมและทีมงานของ รพ.ไม่ติดในรายละเอียดจนลืมเป้าหมายของมาตรฐาน เป้าหมายเพื่อช่วยให้ รพ.เห็นตัวเองได้ง่าย เข้าใจหัวใจของมาตรฐานใหม่ได้ง่ายก่อนลงรายละเอียด
  10. Detailed Scoring for Accreditation ในปี 2551 พรพ.ได้ปรับปรุงระบบการให้คะแนนการปฏิบัติตามมาตรฐาน โดยผสมผสานแนวคิดของ JCI ซึ่งให้คะแนนเป็น 3 ระดับ (met, partially met, not met) สำหรับแต่ละองค์ประกอบย่อยๆ กับแนวคิดของ MBNQA/TQA ซึ่งให้คะแนนตาม maturity ของการพัฒนาตั้งแต่ 0-100% จากเดิมที่มีการให้คะแนนในระดับภาพรวมของแต่ละบทเป็น 1-5 ซึ่งทำให้ขาดโอกาสที่จะทราบโอกาสพัฒนาในองค์ประกอบย่อย ได้ปรับมาสู่การให้คะแนนในองค์ประกอบย่อยเป็น 0-3 ตาม scoring guideline และพิจารณาคะแนนบวกเพิ่มในภาพรวมของบท หากมีการปฏิบัติในเรื่องการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบ, การบูรณาการกระบวนการพัฒนาต่างๆ, การใช้นวตกรรมในเชิงระบบ และการแสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีกว่าเกณฑ์เฉลี่ย ด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ ทำให้คะแนนบวกเพิ่มนี้ปรับคะแนนขึ้นไปสู่ระดับ 4 และ 5 ตาม scoring guideline ที่กำหนดไว้ การให้คะแนนในระบบนี้ทำให้คณะกรรมการรับรองคุณภาพ สามารถทราบได้ถึงจุดแข็งและจุดอ่อนในรายละเอียดที่มากขึ้น โดยลดภาระการเขียนรายงานที่เป็นรายละเอียดลงได้ พรพ.สนับสนุนให้ รพ.ที่ต้องการขอรับการเยี่ยมสำรวจเพื่อการรับรองคุณภาพ ใช้ detailed scoring นี้เพื่อเตรียมความพร้อมของตนเองด้วยการเผยแพร่ spreadsheet ที่ผู้เยี่ยมสำรวจใช้ ให้ รพ.มีโอกาสใช้ได้เช่นเดียวกัน
  11. 3P ในระดับสูงสุด คือในระดับองค์กร เทียบได้กับการบริหารเชิงกลยุทธ์ (strategic management) Purpose ในระดับองค์กร คือพันธกิจและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (strategic objectives) ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อรองรับความท้าทายขององค์กรทั้งในปัจจุบันและในอนาคต Process คือกระบวนการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ซึ่งอาจจะเป็นโครงการ ระบบงาน กระบวนการ หรือกิจกรรมสำคัญต่างๆ Performance คือผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น ซึ่งมักแสดงออกด้วยตัวชี้วัดสำคัญ (KPI) ของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ มีการวิเคราะห์ ประเมินผล และปรับปรุงผลการดำเนินงาน เพื่อให้เข้าใกล้วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ให้มากที่สุด การมอง 3P ในระดับองค์กร ทำให้เห็นความเชื่อมโยงของมาตรฐานหมวดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการมองภาพใหญ่ขององค์กร
  12. เพื่อให้กระบวนการเยี่ยมสำรวจของ HA เกิดประโยชน์สูงสุดแก่โรงพยาบาลในการใช้แผนกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา และมีการพัฒนาองค์ประกอบต่างๆ อย่างเชื่อมโยงกัน ในวันแรกของการเยี่ยมสำรวจจะมี session “Strategic Plan & KPI Monitoring Interview” (การสัมภาษณ์เกี่ยวกับแผนกลยุทธ์และการติดตามตัวชี้วัดสำคัญ) โดยผู้เข้าร่วมประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบแผนกลยุทธ์แต่ละด้าน วัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ เพื่อส่งเสริมให้ทีมผู้บริหารของโรงพยาบาลได้ทบทวนภาพรวมของการบริหารเชิงกลยุทธ์ ทั้งในด้านการจัดทำแผน การนำแผนไปปฏิบัติ และการติดตามความก้าวหน้าตลอดจนการบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้เข้าร่วมประชุม: ผู้อำนวยการ ผู้บริหารระดับสูงที่ระดับผิดชอบกลยุทธ์หลักๆ ผู้ทำหน้าที่วิเคราะห์ข้อมูลติดตามผลการดำเนินงาน จำนวนไม่เกิน 7 คน  ลักษณะกิจกรรม การนำเสนอข้อมูลสรุปในลักษณะตารางสรุป (ตามตัวอย่างหน้า 11) การนำเสนอประสบการณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้เพื่อการวางแผนกลยุทธ์และการวิเคราะห์แปลความหมายข้อมูลที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าและการบรรลุวัตถุประสงค์ การนำเสนอแผนพัฒนาสำหรับอนาคตจากข้อมูลที่ติดตาม การแลกเปลี่ยนบทเรียนและข้อคิดเห็นกับผู้เยี่ยมสำรวจ เนื่องจากเรื่องการบริหารเชิงกลยุทธ์เป็นเรื่องที่ต้องมองภาพใหญ่ มองอย่างเชื่อมโยง และใช้มุมมองของนักบริหารในการจัดการกับความท้าทายต่างๆ จึงเป็นเรื่องที่น่าเรียนรู้จากประสบการณ์ของการปฏิบัติอย่างยิ่ง แม้ว่าผลลัพธ์ในช่วงแรกๆ อาจจะไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ก็ตาม
  13. แนวทางการทบทวนเพื่อเตรียมการรองรับการเยี่ยมสำรวจในส่วนของแผนกลยุทธ์ เริ่มต้นจากการวิเคราะห์ความท้าทายให้ชัดเจน เพราะเป็นจุดเริ่มของการกำหนดเป้าหมายการทำงานที่ตรงประเด็นกับปัญหาและความต้องการขององค์กร การระบุความท้าทายทำให้เราต้องมองสถานการณ์อย่างรอบด้าน และเลือกเอาความท้าทายที่สำคัญมากๆ มาระบุไว้อย่างชัดเจน จัดระบบและหมวดหมู่ของแผนกลยุทธ์เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถทำความเข้าใจได้ง่าย ตรวจสอบความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ในระดับต่างๆ และความสมบูรณ์หรือพอเพียงของแผนงานโครงการที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ รวมทั้งทำให้ง่ายต่อการสื่อสารไปยังผู้เกี่ยวข้อง การจัดลำดับชั้นของวัตถุประสงค์ทำให้เกิดความเข้าใจทิศทางของแผนและเกิดความมั่นใจที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ในระดับสูง ควรทบทวนด้วยว่าวัตถุประสงค์นั้นกำหนดคุณลักษณะหรือมิติของผลการดำเนินงานที่ต้องการบรรลุ (เช่น ครอบคลุม ประสิทธิภาพ) ซึ่งจะช่วยให้กำหนดตัวชี้วัดได้ง่ายขึ้น ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์กับความท้าทายที่ระบุไว้ รวมทั้งทบทวนดูว่าความท้าทายสำคัญใดที่ยังไม่มีแผนกลยุทธ์รองรับ ทบทวนว่ามีตัวชี้วัดที่วัดการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้แต่ละระดับหรือไม่ ตัวชี้วัดที่ดีควรมาจากความมุ่งหมายที่จะวัดการบรรลุวัตถุประสงค์มากกว่ามาจากการรวบรวมตัวชี้วัดที่มีเก็บอยู่เดิม (ควรใช้มาตรฐาน I-4.1 ในการกำหนดและทบทวนตัวชี้วัด) ในบางกรณีจะพบว่าการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้นั้น ไม่สามารถใช้ตัวชี้วัดมาประเมิน หรือไม่เหมาะสมที่จะใช้ตัวชี้วัดมาประเมิน ในกรณีดังกล่าวควรพิจารณาใช้การประเมินด้วยวิธีอื่น เช่น การออกแบบประเมินผลแบบง่ายๆ รพ.อาจประสบปัญหามีข้อกำหนดหรือความต้องการจากหน่วยงานต้นสังกัดในเรื่องการจัดทำแผน ซึ่ง รพ.ควรบูรณาการแผนกลยุทธ์ทั้งหมดของ รพ.เข้าเป็นแผนเดียวกัน ที่ครอบคลุมปัญหาและความต้องการจากทุกมุมมองอย่างสมดุล โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาและความต้องการจากมุมมองของ รพ.เอง
  14. Hospital Profile 2008 เป็นเครื่องมือสำหรับการเชื่อมโยงบริบท ทิศทางขององค์กร และผลการดำเนินการ บริบทกำหนดทิศทางขององค์กร ตัวชี้วัดผลการดำเนินการบ่งบอกถึงความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายตามทิศทางที่กำหนดไว้ การนำข้อมูลทั้งสามส่วนมาไว้ในเอกสารชุดเดียวกัน มีเจตจำนงให้ผู้บริหารของโรงพยาบาลได้ทบทวนความเชื่อมโยงดังกล่าว บริบทขององค์กร มีหัวข้อที่สอดคล้องกับ Organization Profile ของ TQA/MBNQA โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ให้แนวทางในการวิเคราะห์ความท้าทายที่สำคัญขององค์กรไว้ด้วย ทิศทางขององค์กร ครอบคลุมทั้งส่วนที่เป็นทิศทางกว้างๆ ได้แก่ พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม และทิศทางเฉพาะที่มีความชัดเจนสำหรับแต่ละช่วงเวลา ได้แก่แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ รวมทั้งการจัดลำดับความสำคัญ (จุดเน้นหรือเข็มมุ่ง) ผลการดำเนินการ ได้แก่การนำเสนอตัวชี้วัดตามมาตรฐานตอนที่ IV ซึ่ง รพ.ควรประสานให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของตน
  15. ตัวอย่างความท้าทายของโรงพยาบาล เพื่อความง่ายในการกำหนดความท้าทาย บัญชีรายการข้างต้นเป็นตัวอย่างความท้าทายที่ รพ.ต่างๆ อาจต้องเผชิญ ถือว่าเป็นบัญชีรายการขั้นต้นเพื่อการพิจารณาเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น แน่นอนว่าเมื่อกำหนดความท้าทายแล้ว ควรนำไปสู่การกำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ให้ครอบคลุมความท้าทายที่กำหนดไว้
  16. การทบทวนเหตุการณ์สำคัญหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ควรนำมาสู่การแก้ปัญหาเฉพาะราย และการปรับปรุงระบบเพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำ ซึ่งการปรับปรุงระบบที่ดี ควรคำนึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ในชีวิตจริง การพัฒนาคุณภาพจากเหตุการณ์สำคัญจะต่อเนื่องกันไปโดยธรรมชาติ ไม่มีการแบ่งแยกเป็นขั้นที่ 1 หรือขั้นที่ 2