SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 78
Descargar para leer sin conexión
การจัดการเรียนการสอนออนไลนที่มีคุณภาพ
Workshop
ศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
โครงการพัฒนาอาจารย
"การจัดการเรียนการสอนออนไลนที่มีคุณภาพ"
ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
วันที่ 10 มิถุนายน 2564
8 Fun Activities for Virtual Learning
Tip #1
1. แชรหนาจอภาพ (Screen)
2. เปดกลอง (Camera)
3. ปดเสียง (Mute)
4. เปลี่ยนพื้นหลัง (Background)
5. บันทึกการสอน (Record)
6. เช็คชื่อ (Chat)
กฎ กติกา มารยาท การสอนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์
View Screen
Tip#2 Background/Screen
Together Mode
จอมืด จอดํา ไม่เอา
สไลดประกอบการบรรยาย
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
โครงการพัฒนาอาจารย
"การจัดการเรียนการสอนออนไลนที่มีคุณภาพ"
ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
วันที่ 10 มิถุนายน 2564
Tip#3 QR Code
QR Code Creator
Tip#4 Question (Menti.com)
เครื่องการสอนออนไลน์
เปรียบเทียบโปรแกรมประชุม
ชุดเครื่องมือ Google Apps for Education
Microsoft for Education
Micro Learning
Tip#5 Clip Video
TikTok
Saveform.net
Virtual Team
Tip #6 Virtual Team
Share
Tip #7 Social Cloud
Tip#1 Meeting กฎกติกามารยาท
Tip#2 Background/Screen เตรียมความพรอม
Tip#3 QR Code ชองทางเขาถึงขอมูล
Tip#4 Menti.com คําถามนํา
Tip#5 Clip Video การเรียนรูจุลภาค (Micro Learning)
Tip#6 Virtual Team สรางอีเมลกลุมผานชอง Chat
Tip#7 Cloud Technology ทํางานรวมกัน Social Cloud
Interactive Learning
ผลการสํารวจราชภัฏโพลล์1
ผลการสํารวจราชภัฏโพลล์2
ผลการสํารวจราชภัฏโพลล์3
ผลการสํารวจราชภัฏโพลล์4
เราจะจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้มีคุณภาพได้อย่างไร ?
สถานศึกษาทุกประเภท
สอนออนไลน์
ทั้งหมด
48.44%
อุปกรณ์หลักในการเรียน
Smart Phone 71.32%
โปรแกรมที่ใช้
Google Classroom
53.19%
Online /On
site
การเรียนใน
ห้องเรียนดีกว่า
ออนไลน์
59.83%
Syncronous/Asyncronous
Application สู้ COVID19
Tip #8 AI in Education
Tip #9 Avatar https://photolab.me/
Jamboard
Tip #10 Digital Whiteboard
Jamboard
Jamboard2
Active Learning
Tip#11 Active LINE
การสอนโดยใชคําถาม (Q/A)
การเรียนรูแบบวิจัยเปนฐาน (Research-based Learning)
•MIAP/KMUTNB
•Motivation
•Information
•Application
•Progress
การสอนแบบ MIAP
Motivation
•ขั้นสนใจปญหา/การจูงใจผูเรียน
•เตรียมการอยางดี ปฏิบัติการไดไมติดขัด
•นําผูเรียนเขาสูหัวเรื่องและวัตถุประสงคไดชัดเจน
•ใชการรวมสื่อประกอบกับเทคนิคการถามชวยดึงความสนใจใหมากที่สุด
•ใชเวลากะทัดรัดอยางเหมาะสม
•พยายามใหผูเรียนทั้งชั้นไดมีสวนรวม
•การสรุปจูงใจตองทําใหไดอยางเหมาะสมตรงประเด็นที่จะนําผูเรียนศึกษาใน
เนื้อหาสาระตอไป
Information
•ขั้นสนใจขอมูล
•พรอมที่จะรับเนื้อหาสาระ
•ขั้นที่ใหผูเรียนอานจากตํารา เรียนรูดวยตัวเอง
•เรียนรูสิ่งใหมๆ ที่ควรจะไดจากแหลงขอมูลตางๆ
•ใชอุปกรณชวยสอนและวางขั้นตอนในการใหเนื้อหา
•จากนอยไปมาก งายไปยาก
•ตรงตามวัตถุประสงคตามหลักสูตร
Application
•ขั้นนําขอมูลมาทดลองใช
• เพื่อใหผูเรียนมีโอกาสทดสอบความสามารถภายหลังจากผานการรับเนื้อหาสาระวาเขา มี
การรับเนื้อหาไดมากนอยเพียงใด มีความเขาใจเนื้อหาไดมากนอยเพียงใด
• กอใหเกิดการตรวจปรับเนื้อหา ในสวนที่ผูเรียนยังรับเนื้อไมไดซอมเสริมใหสมบูรณ ดวย
ความถูกตอง
• ชวยลดภาวการณอิ่มตัวในการรับเนื้อหา ทําใหรับปริมาณเนื้อหาไดมากขึ้น
• ใชเปนการทบทวนความจําเพื่อปองกันการเลือนหาย
• ชวยพัฒนาการเรียนรูใหผูเรียนฝกการใชสติปญญาและการแกปญหา เสริมสรางการสงถาย
การเรียนรู
Progress
•ขั้นประเมินผล
•ขั้นตอนในการตรวจผลสําเร็จ หรือขั้นตอนในการตรวจสอบ
ความกาวหนาในการเรียนรู
•การวัดและประเมินผล
•พฤติกรรม ความรู เจตคติ
•ทักษะ
WIL : Work-Integrated Learning
การสอนแบบสาธิต
Project-based Learning : PjBL
STEM
STEAM
Project-based Learning (PjBL)
Imagineering
Skill Future
TPACK
How it work
Remote Learning
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน Blended Learning
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การเรียนแบบผสมผสาน - แนวตั้ง
ชม.
สัปดาห์
1 ครั�ง 4 ชั�วโมง
การเรียนแบบปกติ 2 ชม. การเรียนแบบออนไลน์ 2 ชม.
1. 50% 50%
2. 50% 50%
3. 50% 50%
4. 50% 50%
5. 50% 50%
6. 50% 50%
7. 50% 50%
8. 50% 50%
9. 50% 50%
10. 50% 50%
การเรียนแบบผสมผสาน - แนวนอน
จํานวน
สัปดาห์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
วิธีการเรียนรู้ การเรียนแบบปกติ ร้อยละ50 การเรียนแบบออนไลน์ร้อยละ50
การนําเสนอเนื�อหาผ่านอินเทอร์เน็ต
(Online Learning)
ระดับการผสมผสาน
(Meaning)
80-100 % การเรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning)
30-79% การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
1-29% การใช้เว็บช่วยสอน (Web Facilitation)
0% การเรียนการสอนแบบปกติ (Tradition)
ขั้นตอนการเรียนรูแบบผสมผสาน แนวตั้ง
การเรียนปกติ การเรียนออนไลน
1. ขั้นการนําเขาสูบทเรียน
2. ขั้นเสนอเนื้อหา
3. ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู
4. ขั้นสรุป
5. ขั้นประเมินผล
1. ขั้นเตรียมเขาสูระบบ
2. ขั้นเรียนรูดวยตนเอง
3. ขั้นการสื่อสารออนไลน
4. ขั้นปฏิสัมพันธเครือขาย
5. ขั้นการประเมินผล
ขั้นตอนการเรียนรูแบบผสมผสาน แนวนอน
ขั้นการสอนปกติ – นําเขาสูบทเรียน F2F
ขั้นเรียนออนไลน – การเขาสูระบบ online
ขั้นเรียนออนไลน – การเรียนดวยตนเอง online
ขั้นเรียนออนไลน – การสื่อสารในสังคมออนไลน online
ขั้นเรียนออนไลน – การฝกและทดสอบออนไลน online
ขั้นการสอนปกติ – การสรุปผลและทดสอบหลังเรียน F2F
Blended Learning UNESCO Bangkok
Tip #12 Blended Learning
QR Code Blended UNESCO
การสอนแบบหองเรียนกลับดาน (Flipped Classroom)
การเรียนรูแบบกลับทาง หรือหองเรียนกลับดาน
•วิธีเรียนรูแบบกลับทาง คือเรียนวิชาที่บาน ทําการบาน
ที่โรงเรียน หรือรับถายทอดความรูที่บาน แลวมาสราง
ความรูตอยอดจากวิชาที่รับถายทอดมา ใหเปนความรูที่
สอดคลองกับชีวิต ทําใหเกิดการเรียนรู ที่มีพลัง เกิด
ทักษะ ที่เรียกวา ทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ ไมใช
นักเรียนเทานั้นที่เรียนรูกลับทาง ครูก็สอนกลับทางดวย
(วิจารณ พานิช, 2555)
การเรียนแบบหองเรียนกลับดาน (Flipped Classroom)
ขั้นตอนการเรียนแบบหองเรียนกลับดาน
ขั้นตอนนอกหองเรียน ขั้นตอนในหองเรียน
1. ผูเรียนศึกษาการบรรยายผาน
สื่ออิเล็กทรอนิกส
2. ผูเรียนคนควาและซักถาม
ผูสอนออนไลน
3. ผูเรียนศึกษาเนื้อหาดวย
ตนเองผานออนไลน
4. ผูเรียนสรุปความเขาใจ
1. ผูสอนแนะนําผูเรียนใหทํา
การบานและงานที่มอบหมาย
2. ผูเรียนนําเสนองานที่เรียนรูมา
จากบาน
3. ผูสอนประเมินความรูและ
ทักษะผูเรียน
กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ 8 ระดับ
DQ
ทักษะอนาคต
การกําหนดให้นักศึกษาเรียนผ่าน MOOC ในเนื้อหาที่สอดคล้องกับรายวิชา
Tip #13 MOOC
นักศึกษาขาดเรียน กําหนดให้นํา Cert.มายื่นเพื่อเช็คเวลาเรียน
คําถาม ???
prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
www.themegallery.com
คําถาม
Tip #14 Q/A
Kahoot.it
Tip #15 Evaluation
Tip #8 AI in Educationปญญาประดิษฐ
Tip #9 Avatar ปฏิสัมพันธแปลงกาย
Tip #10 Digital Whiteboard ปฏิสัมพันธกระดานบอรดดิจิทัล
Tip #11 Active LINE ปฏิสัมพันธสื่อสาร
Tip #12 Blended Learning การเรียนรูแบบผสมผสาน
Tip #13 MOOC เสริมสมรรถนะ
Tip #14 Q/A การสะทอนการเรียนรู (Feedback)
Tip #15 Evaluation การประเมินผล
Interactive Learning #2
บทสรุป
• การจัดการเรียนการสอนออนไลนแบบปฏิสัมพันธเปนการจัดการเรียน
การสอนในลักษณะที่เปนเชิงรุก เนนการจัดกิจกรรมประกอบในขณะที่
จัดการเรียนการสอนออนไลน โดยสอดแทรกวิธีการที่ทําใหผูเรียนเกิด
ความสนใจที่จะเรียนรูอยูตลอดเวลา มีการโตตอบระหวางผูเรียนกับ
ผูสอนผานระบบออนไลนทั้งในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน ทําให
เกิดการเรียนรูที่ตื่นเตนเราใจและนาสนใจใครเรียนรู เนนปฏิสัมพันธ
ทางออนไลนอยางสม่ําเสมอ ตองวางแผนในลักษณะที่เปนกิจกรรมในที่
ระยะของการเรียนการสอน แปลกใหมและสนุกสนานไดเนื้อหาตาม
หลักสูตรและรายวิชา
ศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
081-7037515 LINE : prachyanun
prachyanunn@kmutnb.ac.th
http://www.facebook.com/prachyanun
http://www.prachyanun.com

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานคอม2 (1)
งานคอม2 (1)งานคอม2 (1)
งานคอม2 (1)
Patcha Jiffy
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
dtschool
 

La actualidad más candente (19)

Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
บทเรียนWebquest
บทเรียนWebquestบทเรียนWebquest
บทเรียนWebquest
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
งานคอม2 (1)
งานคอม2 (1)งานคอม2 (1)
งานคอม2 (1)
 
Tablet
TabletTablet
Tablet
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
Abstract
Abstract Abstract
Abstract
 

Similar a การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop

การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
Atima Teraksee
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
นนท์ จรุงศิรวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
 
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
Chontida Nornoi
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Meaw Sukee
 

Similar a การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop (20)

ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Nec2012 prachyanun panita
Nec2012 prachyanun panitaNec2012 prachyanun panita
Nec2012 prachyanun panita
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)
 
Course4311302
Course4311302Course4311302
Course4311302
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
Presentation 3 finally
Presentation 3 finallyPresentation 3 finally
Presentation 3 finally
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
 
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
 
Introduction to OOE
Introduction to OOEIntroduction to OOE
Introduction to OOE
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Más de Prachyanun Nilsook

เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
Prachyanun Nilsook
 

Más de Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
 

การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop