SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
                             แบบพหุปัญญา Multiple Intelligence

                                          Howard Gardner
                                  "ไม่มีสมองใครถูกออกแบบมาให้..โง่"

                                        โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน แห่ง มหาวิ ทยาลั ย ฮาร์ ว าร์ ด
                                ได้ทาการทดสอง และวิ จัย ด้ า นอั จฉริ ย ะภาพของมนุ ษ ย์ และค้ น พบทฤษฎี พ หุ
                                ปัญญาจากการศึกษาผู้ใหญ่และเด็ก จานวนมากและได้ เ ขี ย นหนั ง สื อ Frames
                                of mind ในปี 1983
                                        ปั ญญา นั้ น การ์ ดเนอร์ อ ธิ บายว่ า คื อ ความสามารถของมนุ ษ ย์ ใ นการ
                                แก้ปัญหาหรือการทาอะไรสักอย่างที่มีคุณค่า ในสั ง คมเดี ย วหรื อ หลายสั ง คม การ
                                ออกแบบผลผลิ ต ที่ ทัน สมั ย ในสถานการณ์ ธ รรมชาติ โดยความสามารถนั้ น มี
                                สมองเป็นฐานรองรับ
  รูปโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์

           ทฤษฎีพหุปัญญา กล่าวว่า คนเรามีอัจฉริยะภาพหรือปัญญาอย่างน้อย 8 ด้ า น และในคนหนึ่ ง ก็ มีครบ
ทั้ง 8 ด้าน เพี ย งแต่ ว่า จะมี บางด้ า นที่ เ ด่ น กว่ า ด้ า นอื่ น ทั้ ง นี้ ขึ้น อยู่ กั บชี ววิ ทยาของบุ คคล สภาพแวดล้ อ ม
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ครอบครัว และการฝึกฝนแต่วัยเยาว์ ปัญญา 8 ด้านมีดังต่อไปนี้
(สรุปจาก วนิษา เรซ:2550 , อารี สัณหฉวี :2543 และสุรศักดิ์ หลาบมาลา :2541)




           1. ปัญญาด้านภาษาและการสื่ อ สาร (Linguistic Intelligence) คื อ มี ความสามารถสู ง ในการ
ใช้ภาษาอย่างที่ใจต้องการ เช่นการพูด การเขียน การใช้คา การใช้ภาษาที่ซับซ้อน รวมถึ ง ความสามารถในการ
จัดทาเกี่ยวกับโครงสร้างของภาษา เสียง ความหมาย และเรื่ อ งเกี่ ย วกั บภาษา เช่ น สามา รถใช้ ภ าษาในการ
หว่านล้อม อธิบายและอื่นๆ มีทักษะในการรับข้อมู ลผ่านทางภาษาได้ดี
             กิจกรรมเสริมทักษะ ฝึก เขี ย น อ่ า น บทกวี คาประพั น ธ์ จดบั น ทึ ก ฝึ ก ผสมคาให้ เ กิ ดคาใหม่ ๆ
ฝึกออกเสียงให้ชัดเจนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ฝึกบรรยาย อภิปรายกลุ่ม เล่นเกมภาษา โต้วาที
เล่านิทาน เล่าเรื่องขาขัน ทาหนังสือ เป็นต้น
              อาชีพ ได้แก่ บรรณารักษ์ นักเขียน นักโฆษณาประชาสั มพั น ธ์ วิ ทยุ โทรทั ศ น์ นั ก หนั ง สื อ พิ มพ์
นักเขียน นักกฎหมาย นักพูด เลขานุการ ครูภาษา




                  2. ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical-mathematic intelligence) หมายถึง
ความสามารถเข้าใจของเหตุและผล หรือความสามารถในการใช้ตัวเลข ความไวในการเห็นความสั มพันธ์
แบบแผนตรรกวิทยา การคิดเชิงนามธรรม ออกแบบและทาการทดลอง การคิดเชิงเหตุผล การคาดการณ์ รู้จัก
จัดหมวดหมู่ จัดประเภท สันนิษฐาน สรุป คิด คานวณ ตั้งสมมุตติฐาน
                  กิจกรรมเสริมทักษะ ฝึกคิดเลขในใจ ฝึกการคิดแบบต่างๆ ทาโครงงาน เล่นเกมคณิตศาสตร์
อ่ า นหนั ง สื อ ข่ า ววิ ทยาศาสตร์ แ ละเ ทคโนโลยี สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ จั ดหมวดหมู่ สิ่ ง ของ การเขี ย นโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
               อาชี พ ได้ แ ก่ นั ก บั ญ ชี นั ก วิ ท ยาศาสตร์ นั ก คณิ ต ศาสตร์ โปรแ กรมเมอร์ นั ก สถิ ติ นั ก
เศรษฐศาสตร์ ครูวิทยาศาสตร์ ครูคณิตศาสตร์ วิศวกร
3. ปัญญาด้านมิ ติ และการจิ น ตภาพ (Spatial intelligence)หมายถึ ง ความสามารถในการสร้ า ง
ภาพ 3 มิติ ของโลกภายนอกขึ้นในจิตใจของตนเอง มีความสามารถในการมองพื้ น ที่ มองอะไรก็ เ ห็ น ภาพใน
จินตนาการของเขามีความคิ ดสร้างสรรค์
             กิจกรรมเสริมทักษะ วาดรูป สเก็ ตรู ป พ่ น สี ฝึ ก จั ดดอกไม้ ใช้ ก ราฟ แผนภู มิ แผนผั ง จั ดโต๊ ะ
จัดบ้าน ให้เป็นระเบียบ ค้นหารูปภาพจากอินเตอร์เนต การแสดงภาพถ่าย ภาพเขียน
                อาชีพ นักดาราศาสตร์ นักสร้างภาพยนตร์ ศิลปิน นักประดิษฐ์ ผู้นาทาง สถาปนิก จิตรกร
มัณฑนากร ช่างพ่นสี ช่างถ่ายภาพ นักจัดสวน นักบิน




            4. ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่ อ นไหว (Bodily-kinesthetic intelligence) มี ความสามารถสู ง
ในการใช้ร่างกายของตนแสดงความคิด ความรู้สึก ความสามารถในการใช้มือประดิ ษ ฐ์ และใช้ ทัก ษะทางกาย
ตลอดจนการจัดทัศนศึ กษา
            กิ จ กรรมเสริ ม ทั ก ษะ ออกก าลั ง การ ฝึ ก กายบริ ห าร ฝึ ก ซ้ อ มการเคลื่ อ นไห วที่ ถู ก ต้ อ ง ฝึ ก
เต้นรา หัดใช้ร่างกายสลับซีก เลือกกินอาหารสุขภาพ หายใจให้ถูกต้อง ซ่อมแซมข้าวของเครื่ องใช้
                อาชีพ นักกายภาพบาบัด ช่างไม้ ช่างฝีมือ ครูพลศึกษา ช่างอัญมณี นักกีฬา นักแสดง
นักมายากล นักเต้นรา นักยิมนาสติก ศัลยแพทย์ ประติมากร




                5. ปัญญาด้านดนตรี (Musical intelligence)มี ความสามารถคิ ดเป็ น ดนตรี สามารถฟั ง รู ปแบบ
จาได้ รู้ได้ ปฏิบัติได้ รวมถึงความไวในเรื่องจังหวะ ทานองเสียง ความสามารถในการเข้ า ใจ วิ เ คราะห์ ดนตรี
ได้
                กิจกรรมเสริมทักษะ เล่นดนตรี ร้องเพลงหมู่ประสานเสียง ร้อ งเพลงคาราโอเกะ ร้ อ งเพลงใน
ห้องน้า ฝึกฟังเพลงที่แตกต่างกัน เคาะจังหวะเพลง ฝึกออกเสียง เปลี่ยนเนื้อเพลงเล่นสนุกๆ ฟังเสียงในสวน
                    อาชีพ ดีเจ นักจัดรายการวิทยุ นักดนตรี นักร้อง นักแต่งเพลง ครูดนตรี หัวหน้าวงดนตรี
ผู้นาวงดนตรี นักร้องประสานเสียง นักวิจารณ์ดนตรี




             6. ปั ญญาด้ า น มนุ ษ ย สั ม พั น ธ์ แ ละการเ ข้ า ใจผู้ อื่ น ( Interpersonal Intelligence) มี
ความสามารถสูงในการเข้าใจอารมณ์ ความคิ ด ความรู้ สึ ก เจตนาของผู้ อื่ น มี ความไวในการสั ง เกต ภาษา
ท่าทาง มีความสามารถสูงในการรู้ถึงลักษณะต่ า งๆของสั มพั น ธภาพของมนุ ษ ย์ แ ละสามารถตอบสนองได้
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมเสริ ม ทั ก ษะ ยิ้ ม อ่ า นความหมายจากใบหน้ า ฝึ ก การฟั ง อย่ า งตั้ ง ใจ รวมกลุ่ มใน
โอกาสต่างๆ จัดกิจกรรมบริการชุมชน เพื่อนสอนเพื่ อ น พี่ ส อนน้ อ ง ฝึ ก งานตามสถานประกอบการ ชมรม
วิชาการ จัดงานปาร์ตี้
             อาชี พ นั ก บริ ห าร ผู้ จัด การ นั ก แนะแนว นั ก สั ง คมสงเคราะห์ นั ก จิ ตวิ ทยา พยาบาล นั ก
ประชาสัมพันธ์ พนักงานขาย นักการทูต นักการตลาด นักการเมือง




                  7. ปัญญาด้านการเข้ า ใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) มี ความสามารถสู ง ในการ
รู้จักตนเอง รู้จักความสนใจ ความถนัด ความสามารถ ตามความเป็ น จริ ง มี จุดอ่ อ น จุ ดแข็ ง เรื่ อ งใด รู้ เ ท่ า ทั น
อารมณ์ ความคิด ความปรารถนาของตน สามารถฝึกตนเอง เข้าใจตนเอง ภูมิใจในตนเอง
                  กิจกรรมเสริมทักษะ ฝึกสมาธิ ฝึกสารวจมีสติรู้ เ ท่ า ทั น อารมณ์ ตั้ ง เป้ า หมายในชี วิต วิ เ คราะห์
ตนเองใช้ self swot analysis ลองทาแบบทดสอบต่างๆ ฝึกการผ่อนคลาย
                  อาชี พ นั ก จิ ตวิ ท ยา จิ ตแพ ทย์ พ ระ นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ผู้ น าทางศาสนา นั ก วางแผน
ผู้ประกอบการ




                  8. ปั ญญาด้ า น ธรรมชาติ ( Naturalist Intelligence) ปั ญ ญาที่ มนุ ษ ย์ ใ ช้ แ ยกแยะ
ธรรมชาติ เช่น พืชกับสัตว์ แยกประเภทพืช สัตว์ รวมทั้ ง ความไวในการเข้ า ใจลั ก ษณะอื่ น ๆของธรรมชาติ
เช่นสภาพก้อนเมฆ ก้อนหิน เป็นต้น
กิจกรรมเสริมทักษะ ดูดาวท้องฟ้ า ไปตลาดต้ น ไม้ ทาศิ ล ปะภาพพิ มพ์ จากส่ วนของพื ช หั ด
ทาอาหาร กอดต้นไม้ในสวน ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ สังเกตนก หรื อ สั ตว์ ป่า ใช้ ผ ลิ ตภั ณ ฑ์ จากธรรมชาติ ถอด
รองเท้าบนพื้นดิน ทราย หญ้า
                อาชีพ นักนิเวศวิทยา วนศาสตร์ นักชีววิทยา นักกีฏวิทยา นักคัดเลือกพันธุ์สัตว์ สัตวแพทย์
นักประมง นักปัฐพีวิทยา นักธรณีวิทยา ประมง


                        การ์ดเนอร์ กล่ า วว่ า ยั ง มี ปัญ ญาด้ า นอื่ น ๆที่ ต้อ งศึ ก ษาให้ ลึ ก ซึ้ ง ตามความสามารถพิ เ ศษที่
อาจจะจัดเป็นปัญญาด้านต่างๆได้ อีก เช่น ด้านจิตวิญญาณ ด้านเพศ ด้านอารมณ์ขัน ด้านอาหาร ด้านกลิ่น
                        ดร.เซ็ ง ( Yin Cheong Cheng) จากสถาบั น การศึ ก ษาของฮ่ อ งกง ได้ ศึ ก ษาเพิ่ มเติ มจาก
การ์ดเนอร์ และได้คิดพหุปัญญาบริษทของตนขึ้น มี เ ชาว์ ปัญ ญาด้ า นบริ บทการเรี ย นรู้ บริ บทเทคนิ ค บริ บท
เศรษฐกิจ บริบทสังคม บริบทการเมือง และบริบทวัฒนธรรม (สุรศักดิ์ หลาบมาลา: 2543)
                     จะเห็นได้ว่าคนเรามีปัญญาอย่างน้อย 8 ด้าน แต่ละอาชี พ ต้ อ งการปั ญ ญาแต่ ล ะด้ า นแตกต่ า ง
กันจึงควรพัฒนาปัญญาทั้ง 8 ด้านให้เกิดแก่นักเรียนเท่าที่จะมากได้ในเด็กแต่ละคน
                     ปัญญาหรืออั จฉริ ย ะภาพสามารถสร้ า งได้ มนุ ษ ย์ เ กิ ดมาพร้ อ มอั จฉริ ย ภาพมากมายหลาย
ประการ ในตัวคนหนึ่งคนก็มีไ ด้ ครบทุ ก ด้ า น ขึ้ น อยู่ กั บว่ า คนเราจะฝึ ก ฝนและพั ฒ นาด้ า นไหนเป็ น พิ เ ศษ
สมองคนเรามีเซลล์สมองเท่ากับไอน์สไตน์ ดังนั้น ไอน์สไตน์ฉลาดแค่ ไ หนโดยทฤษฎี เ ราก็ ฉ ล าดได้ เ ท่ า นั้ น
เหมือนกัน (วนิษา เรซ:2550 หน้า 17)
                         ปัญญาหรืออัจฉริยะภาพสามารถสร้างได้ ด้วยการ รู้ จัก หาข้ อ มู ล คิ ด จิ น ตนาการ สร้ า ง
พัฒนาแบบแผนใหม่ๆให้สมอง และผ่ า นการแก้ ปัญ หาที่ ท้า ทาย เอาใจใส่ ใ นสิ่ ง ที่ ทา แสวงหาแนวทางที่
พั ฒ นาให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ไปเ สมอ โดยไม่ มีคาว่ า ทาไม่ ไ ด้ ใ นสมอง ลองทาในสิ่ ง ที่ ไ ม่ เ คยทา หาโอกาสสร้ า ง
ประสบการณ์ มุมมองทักษะใหม่ๆให้ชีวิต ยิ่งมีประสบการณ์ มากจะต่ อ ยอดไปสู่ ทัก ษะอื่ น ๆในกลุ่ มเดี ย วกั น
ได้มากขึ้นให้มีความคิดกว้างขวางขึ้น ขอให้ล งมือทาด้วยหลักอิทธิบาทสี่ อัจฉริยะสร้างได้จริงๆ.
หนังสืออ้างอิง

 http://gotoknow.org/file/vichit99/ทฤษฎีพหุปัญญา.doc
  วิทยากร เชียงกูล. เรียนลึกรู้ไว ใช้สมองอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร :
           บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น. 2547,178 หน้า
วิทยากร เชียงกูล. การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร :สานักพิมพ์สายธาร.
           2549 ม,123 หน้า
วนิษา เรซ.อัจฉริยะสร้างได้. กรุงเทพมหานคร: บริษัทแปลน พริ้นท์ติ้ง จากัด.2550,175 หน้า
สุรศักดิ์ หลาบมาลา.”การใช้ พหุปั ญญาในห้องเรียน”วารสารวิชาการ.1(9):53-56; กันยายน 2541.
สุรศักดิ์ หลาบมาลา.”พหุปัญญาบริบ ท”วารสารวิชาการ.3(2) :49-54 ;กุมภาพันธ์ 2543.
อาร์มสตอง โธมัส.พหุปัญญาในห้องเรียน. แปลจาก Multiple Intelligence in the
        Classroom.โดย อารี สัณหฉวี.กรุงเทพ:โรงพิมพ์การศาสนา.2543,166 หน้า.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1Wichit Thepprasit
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิดNapakan Srionlar
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์nopthai
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2
015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2
015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2niralai
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1page
สไลด์  ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1pageสไลด์  ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 

La actualidad más candente (17)

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิด
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
_______2
  _______2  _______2
_______2
 
015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2
015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2
015วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี2
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1page
สไลด์  ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1pageสไลด์  ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย1+508+dltvsocp6+55t2soc p06 f13-1page
 
กระบวนการค ด
กระบวนการค ดกระบวนการค ด
กระบวนการค ด
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
Km
KmKm
Km
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 
Content03
Content03Content03
Content03
 

Similar a พหุปัญญา

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวมสพฐ
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 

Similar a พหุปัญญา (20)

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
3
33
3
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
Mil chap 1 ____ julia nov29
Mil chap 1   ____ julia nov29Mil chap 1   ____ julia nov29
Mil chap 1 ____ julia nov29
 
Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวม
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 

Más de Proud N. Boonrak

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงProud N. Boonrak
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒Proud N. Boonrak
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 

Más de Proud N. Boonrak (16)

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
Present simple
Present simplePresent simple
Present simple
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ASEAN
ASEANASEAN
ASEAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

พหุปัญญา

  • 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย แบบพหุปัญญา Multiple Intelligence Howard Gardner "ไม่มีสมองใครถูกออกแบบมาให้..โง่" โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน แห่ง มหาวิ ทยาลั ย ฮาร์ ว าร์ ด ได้ทาการทดสอง และวิ จัย ด้ า นอั จฉริ ย ะภาพของมนุ ษ ย์ และค้ น พบทฤษฎี พ หุ ปัญญาจากการศึกษาผู้ใหญ่และเด็ก จานวนมากและได้ เ ขี ย นหนั ง สื อ Frames of mind ในปี 1983 ปั ญญา นั้ น การ์ ดเนอร์ อ ธิ บายว่ า คื อ ความสามารถของมนุ ษ ย์ ใ นการ แก้ปัญหาหรือการทาอะไรสักอย่างที่มีคุณค่า ในสั ง คมเดี ย วหรื อ หลายสั ง คม การ ออกแบบผลผลิ ต ที่ ทัน สมั ย ในสถานการณ์ ธ รรมชาติ โดยความสามารถนั้ น มี สมองเป็นฐานรองรับ รูปโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ ทฤษฎีพหุปัญญา กล่าวว่า คนเรามีอัจฉริยะภาพหรือปัญญาอย่างน้อย 8 ด้ า น และในคนหนึ่ ง ก็ มีครบ ทั้ง 8 ด้าน เพี ย งแต่ ว่า จะมี บางด้ า นที่ เ ด่ น กว่ า ด้ า นอื่ น ทั้ ง นี้ ขึ้น อยู่ กั บชี ววิ ทยาของบุ คคล สภาพแวดล้ อ ม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ครอบครัว และการฝึกฝนแต่วัยเยาว์ ปัญญา 8 ด้านมีดังต่อไปนี้ (สรุปจาก วนิษา เรซ:2550 , อารี สัณหฉวี :2543 และสุรศักดิ์ หลาบมาลา :2541) 1. ปัญญาด้านภาษาและการสื่ อ สาร (Linguistic Intelligence) คื อ มี ความสามารถสู ง ในการ ใช้ภาษาอย่างที่ใจต้องการ เช่นการพูด การเขียน การใช้คา การใช้ภาษาที่ซับซ้อน รวมถึ ง ความสามารถในการ
  • 2. จัดทาเกี่ยวกับโครงสร้างของภาษา เสียง ความหมาย และเรื่ อ งเกี่ ย วกั บภาษา เช่ น สามา รถใช้ ภ าษาในการ หว่านล้อม อธิบายและอื่นๆ มีทักษะในการรับข้อมู ลผ่านทางภาษาได้ดี กิจกรรมเสริมทักษะ ฝึก เขี ย น อ่ า น บทกวี คาประพั น ธ์ จดบั น ทึ ก ฝึ ก ผสมคาให้ เ กิ ดคาใหม่ ๆ ฝึกออกเสียงให้ชัดเจนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ฝึกบรรยาย อภิปรายกลุ่ม เล่นเกมภาษา โต้วาที เล่านิทาน เล่าเรื่องขาขัน ทาหนังสือ เป็นต้น อาชีพ ได้แก่ บรรณารักษ์ นักเขียน นักโฆษณาประชาสั มพั น ธ์ วิ ทยุ โทรทั ศ น์ นั ก หนั ง สื อ พิ มพ์ นักเขียน นักกฎหมาย นักพูด เลขานุการ ครูภาษา 2. ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical-mathematic intelligence) หมายถึง ความสามารถเข้าใจของเหตุและผล หรือความสามารถในการใช้ตัวเลข ความไวในการเห็นความสั มพันธ์ แบบแผนตรรกวิทยา การคิดเชิงนามธรรม ออกแบบและทาการทดลอง การคิดเชิงเหตุผล การคาดการณ์ รู้จัก จัดหมวดหมู่ จัดประเภท สันนิษฐาน สรุป คิด คานวณ ตั้งสมมุตติฐาน กิจกรรมเสริมทักษะ ฝึกคิดเลขในใจ ฝึกการคิดแบบต่างๆ ทาโครงงาน เล่นเกมคณิตศาสตร์ อ่ า นหนั ง สื อ ข่ า ววิ ทยาศาสตร์ แ ละเ ทคโนโลยี สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ จั ดหมวดหมู่ สิ่ ง ของ การเขี ย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ อาชี พ ได้ แ ก่ นั ก บั ญ ชี นั ก วิ ท ยาศาสตร์ นั ก คณิ ต ศาสตร์ โปรแ กรมเมอร์ นั ก สถิ ติ นั ก เศรษฐศาสตร์ ครูวิทยาศาสตร์ ครูคณิตศาสตร์ วิศวกร
  • 3. 3. ปัญญาด้านมิ ติ และการจิ น ตภาพ (Spatial intelligence)หมายถึ ง ความสามารถในการสร้ า ง ภาพ 3 มิติ ของโลกภายนอกขึ้นในจิตใจของตนเอง มีความสามารถในการมองพื้ น ที่ มองอะไรก็ เ ห็ น ภาพใน จินตนาการของเขามีความคิ ดสร้างสรรค์ กิจกรรมเสริมทักษะ วาดรูป สเก็ ตรู ป พ่ น สี ฝึ ก จั ดดอกไม้ ใช้ ก ราฟ แผนภู มิ แผนผั ง จั ดโต๊ ะ จัดบ้าน ให้เป็นระเบียบ ค้นหารูปภาพจากอินเตอร์เนต การแสดงภาพถ่าย ภาพเขียน อาชีพ นักดาราศาสตร์ นักสร้างภาพยนตร์ ศิลปิน นักประดิษฐ์ ผู้นาทาง สถาปนิก จิตรกร มัณฑนากร ช่างพ่นสี ช่างถ่ายภาพ นักจัดสวน นักบิน 4. ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่ อ นไหว (Bodily-kinesthetic intelligence) มี ความสามารถสู ง ในการใช้ร่างกายของตนแสดงความคิด ความรู้สึก ความสามารถในการใช้มือประดิ ษ ฐ์ และใช้ ทัก ษะทางกาย ตลอดจนการจัดทัศนศึ กษา กิ จ กรรมเสริ ม ทั ก ษะ ออกก าลั ง การ ฝึ ก กายบริ ห าร ฝึ ก ซ้ อ มการเคลื่ อ นไห วที่ ถู ก ต้ อ ง ฝึ ก เต้นรา หัดใช้ร่างกายสลับซีก เลือกกินอาหารสุขภาพ หายใจให้ถูกต้อง ซ่อมแซมข้าวของเครื่ องใช้ อาชีพ นักกายภาพบาบัด ช่างไม้ ช่างฝีมือ ครูพลศึกษา ช่างอัญมณี นักกีฬา นักแสดง
  • 4. นักมายากล นักเต้นรา นักยิมนาสติก ศัลยแพทย์ ประติมากร 5. ปัญญาด้านดนตรี (Musical intelligence)มี ความสามารถคิ ดเป็ น ดนตรี สามารถฟั ง รู ปแบบ จาได้ รู้ได้ ปฏิบัติได้ รวมถึงความไวในเรื่องจังหวะ ทานองเสียง ความสามารถในการเข้ า ใจ วิ เ คราะห์ ดนตรี ได้ กิจกรรมเสริมทักษะ เล่นดนตรี ร้องเพลงหมู่ประสานเสียง ร้อ งเพลงคาราโอเกะ ร้ อ งเพลงใน ห้องน้า ฝึกฟังเพลงที่แตกต่างกัน เคาะจังหวะเพลง ฝึกออกเสียง เปลี่ยนเนื้อเพลงเล่นสนุกๆ ฟังเสียงในสวน อาชีพ ดีเจ นักจัดรายการวิทยุ นักดนตรี นักร้อง นักแต่งเพลง ครูดนตรี หัวหน้าวงดนตรี ผู้นาวงดนตรี นักร้องประสานเสียง นักวิจารณ์ดนตรี 6. ปั ญญาด้ า น มนุ ษ ย สั ม พั น ธ์ แ ละการเ ข้ า ใจผู้ อื่ น ( Interpersonal Intelligence) มี ความสามารถสูงในการเข้าใจอารมณ์ ความคิ ด ความรู้ สึ ก เจตนาของผู้ อื่ น มี ความไวในการสั ง เกต ภาษา ท่าทาง มีความสามารถสูงในการรู้ถึงลักษณะต่ า งๆของสั มพั น ธภาพของมนุ ษ ย์ แ ละสามารถตอบสนองได้ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
  • 5. กิจกรรมเสริ ม ทั ก ษะ ยิ้ ม อ่ า นความหมายจากใบหน้ า ฝึ ก การฟั ง อย่ า งตั้ ง ใจ รวมกลุ่ มใน โอกาสต่างๆ จัดกิจกรรมบริการชุมชน เพื่อนสอนเพื่ อ น พี่ ส อนน้ อ ง ฝึ ก งานตามสถานประกอบการ ชมรม วิชาการ จัดงานปาร์ตี้ อาชี พ นั ก บริ ห าร ผู้ จัด การ นั ก แนะแนว นั ก สั ง คมสงเคราะห์ นั ก จิ ตวิ ทยา พยาบาล นั ก ประชาสัมพันธ์ พนักงานขาย นักการทูต นักการตลาด นักการเมือง 7. ปัญญาด้านการเข้ า ใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) มี ความสามารถสู ง ในการ รู้จักตนเอง รู้จักความสนใจ ความถนัด ความสามารถ ตามความเป็ น จริ ง มี จุดอ่ อ น จุ ดแข็ ง เรื่ อ งใด รู้ เ ท่ า ทั น อารมณ์ ความคิด ความปรารถนาของตน สามารถฝึกตนเอง เข้าใจตนเอง ภูมิใจในตนเอง กิจกรรมเสริมทักษะ ฝึกสมาธิ ฝึกสารวจมีสติรู้ เ ท่ า ทั น อารมณ์ ตั้ ง เป้ า หมายในชี วิต วิ เ คราะห์ ตนเองใช้ self swot analysis ลองทาแบบทดสอบต่างๆ ฝึกการผ่อนคลาย อาชี พ นั ก จิ ตวิ ท ยา จิ ตแพ ทย์ พ ระ นั ก สั ง คมสงเคราะห์ ผู้ น าทางศาสนา นั ก วางแผน ผู้ประกอบการ 8. ปั ญญาด้ า น ธรรมชาติ ( Naturalist Intelligence) ปั ญ ญาที่ มนุ ษ ย์ ใ ช้ แ ยกแยะ ธรรมชาติ เช่น พืชกับสัตว์ แยกประเภทพืช สัตว์ รวมทั้ ง ความไวในการเข้ า ใจลั ก ษณะอื่ น ๆของธรรมชาติ เช่นสภาพก้อนเมฆ ก้อนหิน เป็นต้น
  • 6. กิจกรรมเสริมทักษะ ดูดาวท้องฟ้ า ไปตลาดต้ น ไม้ ทาศิ ล ปะภาพพิ มพ์ จากส่ วนของพื ช หั ด ทาอาหาร กอดต้นไม้ในสวน ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ สังเกตนก หรื อ สั ตว์ ป่า ใช้ ผ ลิ ตภั ณ ฑ์ จากธรรมชาติ ถอด รองเท้าบนพื้นดิน ทราย หญ้า อาชีพ นักนิเวศวิทยา วนศาสตร์ นักชีววิทยา นักกีฏวิทยา นักคัดเลือกพันธุ์สัตว์ สัตวแพทย์ นักประมง นักปัฐพีวิทยา นักธรณีวิทยา ประมง การ์ดเนอร์ กล่ า วว่ า ยั ง มี ปัญ ญาด้ า นอื่ น ๆที่ ต้อ งศึ ก ษาให้ ลึ ก ซึ้ ง ตามความสามารถพิ เ ศษที่ อาจจะจัดเป็นปัญญาด้านต่างๆได้ อีก เช่น ด้านจิตวิญญาณ ด้านเพศ ด้านอารมณ์ขัน ด้านอาหาร ด้านกลิ่น ดร.เซ็ ง ( Yin Cheong Cheng) จากสถาบั น การศึ ก ษาของฮ่ อ งกง ได้ ศึ ก ษาเพิ่ มเติ มจาก การ์ดเนอร์ และได้คิดพหุปัญญาบริษทของตนขึ้น มี เ ชาว์ ปัญ ญาด้ า นบริ บทการเรี ย นรู้ บริ บทเทคนิ ค บริ บท เศรษฐกิจ บริบทสังคม บริบทการเมือง และบริบทวัฒนธรรม (สุรศักดิ์ หลาบมาลา: 2543) จะเห็นได้ว่าคนเรามีปัญญาอย่างน้อย 8 ด้าน แต่ละอาชี พ ต้ อ งการปั ญ ญาแต่ ล ะด้ า นแตกต่ า ง กันจึงควรพัฒนาปัญญาทั้ง 8 ด้านให้เกิดแก่นักเรียนเท่าที่จะมากได้ในเด็กแต่ละคน ปัญญาหรืออั จฉริ ย ะภาพสามารถสร้ า งได้ มนุ ษ ย์ เ กิ ดมาพร้ อ มอั จฉริ ย ภาพมากมายหลาย ประการ ในตัวคนหนึ่งคนก็มีไ ด้ ครบทุ ก ด้ า น ขึ้ น อยู่ กั บว่ า คนเราจะฝึ ก ฝนและพั ฒ นาด้ า นไหนเป็ น พิ เ ศษ สมองคนเรามีเซลล์สมองเท่ากับไอน์สไตน์ ดังนั้น ไอน์สไตน์ฉลาดแค่ ไ หนโดยทฤษฎี เ ราก็ ฉ ล าดได้ เ ท่ า นั้ น เหมือนกัน (วนิษา เรซ:2550 หน้า 17) ปัญญาหรืออัจฉริยะภาพสามารถสร้างได้ ด้วยการ รู้ จัก หาข้ อ มู ล คิ ด จิ น ตนาการ สร้ า ง พัฒนาแบบแผนใหม่ๆให้สมอง และผ่ า นการแก้ ปัญ หาที่ ท้า ทาย เอาใจใส่ ใ นสิ่ ง ที่ ทา แสวงหาแนวทางที่ พั ฒ นาให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ไปเ สมอ โดยไม่ มีคาว่ า ทาไม่ ไ ด้ ใ นสมอง ลองทาในสิ่ ง ที่ ไ ม่ เ คยทา หาโอกาสสร้ า ง ประสบการณ์ มุมมองทักษะใหม่ๆให้ชีวิต ยิ่งมีประสบการณ์ มากจะต่ อ ยอดไปสู่ ทัก ษะอื่ น ๆในกลุ่ มเดี ย วกั น ได้มากขึ้นให้มีความคิดกว้างขวางขึ้น ขอให้ล งมือทาด้วยหลักอิทธิบาทสี่ อัจฉริยะสร้างได้จริงๆ.
  • 7. หนังสืออ้างอิง http://gotoknow.org/file/vichit99/ทฤษฎีพหุปัญญา.doc วิทยากร เชียงกูล. เรียนลึกรู้ไว ใช้สมองอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น. 2547,178 หน้า วิทยากร เชียงกูล. การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร :สานักพิมพ์สายธาร. 2549 ม,123 หน้า วนิษา เรซ.อัจฉริยะสร้างได้. กรุงเทพมหานคร: บริษัทแปลน พริ้นท์ติ้ง จากัด.2550,175 หน้า สุรศักดิ์ หลาบมาลา.”การใช้ พหุปั ญญาในห้องเรียน”วารสารวิชาการ.1(9):53-56; กันยายน 2541. สุรศักดิ์ หลาบมาลา.”พหุปัญญาบริบ ท”วารสารวิชาการ.3(2) :49-54 ;กุมภาพันธ์ 2543. อาร์มสตอง โธมัส.พหุปัญญาในห้องเรียน. แปลจาก Multiple Intelligence in the Classroom.โดย อารี สัณหฉวี.กรุงเทพ:โรงพิมพ์การศาสนา.2543,166 หน้า.