SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
การศึกษาวิจยเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมและความเชื่อด้ านสุขภาพกับ
ั
พฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้ อมูล
่
ั
ทัวไป แรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน ครอบครัว และคูรักหรื อคูร่วมเพศ ความเชื่อด้ านสุขภาพ ได้ แก่
่
่
่
การรับรู้ ความรุ นแรงของโรคเอดส์ การรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ การรับอุปสรรคของการ
ป้องกันโรคเอดส์ การรับรู้ ประโยชน์ที่จะป้อ งกันโรคเอดส์ และศึกษาระดับพฤติกรรมการป้องกันโรค
เอดส์ รวมทังศึกษาความสัม พันธ์ ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมและกับพฤติกรรมการป้องกันโรค
้
เอดส์ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้ านสุขภาพ ได้ แก่ การรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์
การรั บ รู้ โอกาสเสี่ ยงต่อ การเกิ ด โรคเอดส์ การรั บ รู้ อุป สรรคของการป้อ งกัน โรคเอดส์ และการรับ รู้
ประโยชน์ที่จะป้องกันโรคเอดส์กบพฤติกรรมการป้องโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
ั
่
การศึกษาครังนี ้เป็ นการวิจยเชิงสารวจ (Survey Research) เป็ นการศึกษาและเก็บข้ อมูลโดย
้
ั
ใช้ แบบสอบถามเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมและความเชื่อด้ านสุขภาพกับ
พฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายในกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน ใช้ วิธีการสุม
ตัวอย่างแบบแบบสโนว์บอลเทคนิค (Snowball Technique) วิเคราะห์ข้อมูลด้ วยโปรมแกรม SPSS for
Windows (Statistic Package for the Social Science) ใช้ สถิ ติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ ข้อมูล
ได้ แก่ ร้ อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของตัวแปรใช้
สถิ ติ สัม ประสิ ท ธิ์ ส หสัม พัน ธ์ เพี ยร์ สัน (Pearson ’s Product Moment Correlation Coefficient) โดย
กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05
ิ
สรุ ปผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
จากการศึกษาค้ นคว้ าและวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปผลได้ ดงนี ้
ั
1. ข้ อมูลทั่วไป จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อายุระหว่าง 18 – 25 ปี คิดเป็ น
ร้ อยละ 62.5 การศึกษาระดับ ปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้ อยละ 60.0 ประกอบอาชีพ บริ ษัทเอกชน คิดเป็ น
ร้ อยละ 37.8 รายได้ ต่อเดือน ต่ากว่า 15,000 บาท คิดเป็ นร้ อยละ 60.3 สวัสดิการด้ านสุขภาพ บัตร
ประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า คิดเป็ นร้ อยละ 54.7 ลักษณะที่พก หอพัก (อพาร์ ทเม้ น คอนโด ฯลฯ) คิดเป็ น
ั
ร้ อยละ 55.8 ส่วนใหญ่พกอาศัยคนเดียว คิดเป็ นร้ อยละ 55.5 บทบาทในการมีเพศสัมพันธ์ เป็ นฝ่ ายรุก
ั
คิดเป็ นร้ อยละ 26.8 ประสบการณ์ การตรวจเลือดเพื่อหาเชื ้อเอชไอวี ส่วนใหญ่ ไม่เคย คิดเป็ นร้ อยละ
65.3 ตามลาดับ
2. แรงสนับสนุนทางสังคม
2.1 แรงสนั บสนุ นจากเพื่อน จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีระดับ
แรงสนับสนุนจากเพื่อนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 เมื่อจาแนกตามราย
ข้ อคาถามเกี่ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนพบว่าข้ อคาถามที่มีค่าเฉลี่สูงสุดคือ เพื่อน
เตือนให้ ท่านสวมถุง ยางอนามัย ขณะร่ วมเพศมี ค่าเฉลี่ ยเท่ากั บ 4.23 รองลงมาคือ เพื่ อนให้ ข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับโรคเอดส์แก่ท่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.55 และเพื่อนชักชวนท่านตรวจเลือดหาเชื ้อ HIV
มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 ตามลาดับ
่
2.2 แรงสนั บ สนุ นจากครอบครั ว จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มี
ระดับแรงสนับสนุนจากครอบครัวในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.13 เมื่อจาแนก
่
ตามรายข้ อคาถามเกี่ ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคมจากครัวครอบพบว่าข้ อคาถามที่ มีค่าเฉลี่
สูงสุดคือ สมาชิกในครอบครัวเตือนให้ ท่านสวมถุงยางอนามัยขณะร่ วมเพศ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74
รองลงมาคือ สมาชิกในครอบครัวแนะน าสถานที่ ในการตรวจเลื อดหาเชื อ HIV แก่ท่าน มี ค่าเฉลี่ ย
้
เท่ากับ 3.55 และสมาชิ ก ในครอบครั วเป็ น คนจัด หาถุง ยางอนามัย แก่ ท่าน มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 3.22
ตามลาดับ
2.2 แรงสนั บสนุ นจากคู่รักหรื อคู่ร่วมเพศ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วน
ใหญ่ มีระดับแรงสนับสนุนจากคู่รักหรื อคู่รักเพศในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.41 เมื่อจาแนกตามรายข้ อคาถามเกี่ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคมจากคูรักหรื อคูร่วมเพศพบว่า
่
่
ข้ อคาถามที่มีค่าเฉลี่สูงสุดคือ คู่รักหรื อคู่ร่ว มเพศบอกให้ ท่านรักเดียวใจเดียว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.84
รองลงมาคือ คู่รักหรื อคู่ร่วมเพศของท่านเตื อนให้ ท่านสวมถุงยางอนามัยขณะร่ วมเพศ มี ค่าเฉลี่ ย
เท่ากับ 3.78 และคูรักหรื อคูร่วมเพศท่านเตือนไม่ให้ ใช้ ของมีคม เช่น มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ ร่วมกับคน
่
่
อื่น มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.47 ส่วน ตามลาดับ
่
3. ความเชื่อด้ านสุขภาพ
3.1 การรั บ รู้ ค วามรุ นแรงของโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วน
ใหญ่มีการระดับการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์โดยภาพร่วมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาตามรายข้ อ
พบว่าข้ อที่มี ค่าเฉลี่ ยสูงสุดคือ ผู้ ที่ติดเชือโรคเอดส์ สามารถแพร่ เชื อไปสู่ผ้ ูอื่นได้ แม้ ไม่มี อาการ และ
้
้
ผู้ป่วยโรคเอดส์ต้องทนทุกข์ทรมานมากทังร่างกายและจิตใจ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 รองลงมาคือ การ
้
่
ติดเชื ้อโรคเอดส์ทาให้ ภูมิต้านทานของร่ างกายต่าลงและเกิดโรคแทรกซ้ อนได้ ง่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.25 และโรคเอดส์เป็ นโรคร้ ายแรงที่ไม่มีทางรักษาให้ หายขาดได้ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ตามลาดับ
่
3.2 การรั บรู้ โอกาสเสี่ ยงต่ อการติดโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ มี ระดับ การรั บ รู้ โอกาสเสี่ ยงต่อ การติด โรคเอดส์ โดยภาพร่ วมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่ อ
พิจารณาตามรายข้ อพบว่าข้ อที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ เป็ นไปได้ ที่ท่านอาจจะติดโรคเอดส์ แม้ ว่าท่านจะ
่
ป้องกันแล้ ว มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 รองลงมาคือ ท่านอาจจะติดโรคเอดส์ จากการมีเพศสัมพันธ์กบคน
่
ั
อื่ น มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 3.29 และท่านมี โอกาสติดเชื อโรคเอดส์ ได้ จ ากการใช้ เครื่ องใช้ ส่วนตัวต่าง ๆ
้
ร่วมกับบุคคลอื่น เช่น แปรงสีฟัน มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.27 ตามลาดับ
่
3.3 การรั บรู้ อุปสรรคในการป้ องกันโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ มี ระดับการรับรู้ อุป สรรคในการป้องกันโรคเอดส์ โดยภาพร่ วมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่ อ
พิจ ารณาตามรายข้ อพบว่าข้ อที่ มี ค่าเฉลี่ ยสูงสุดคือ การเปลี่ ยนใบมี ดโกนก่อนใช้ ทุกครังเป็ นทาให้
้
สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.37 รองลงมาคือ ถุงยางอนามัยมีราคาแพงสาหรับท่าน และ
การสวมใส่ถงยางอนามัยเป็ นเรื่ องวุ่
ุ
น่าราคาญสาหรับท่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.33 และการทา
ความสะอาดกรรไกรตัดเล็บก่อนเป็ นสิ่งที่ยงยาก มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.32 ตามลาดับ
ุ่
่
3.4 การรั บรู้ ประโยชน์ ในการป้ องกันโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ มี ระดับการรับรู้ ประโยชน์ในการป้องกันโรคเอดส์โดยภาพร่ วมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่ อ
พิจารณาตามรายข้ อพบว่าข้ อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การใช้ ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ทุกครังจะ
้
ช่วยให้ ปลอดภัยจากโรคเอดส์ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 รองลงมาคือ การสวมถุงอนามัยสามารถป้องโรค
่
เอดส์และโรคติดต่อทางเพสัมพันธ์ได้ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.88 และการงดอุปกรณ์ในการสักผิวหนัง หรื อ
่
เจาะตามร่างกาย สามารถลดความเสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.83 ตามลาดับ
่
4. ความสัมพันธ์ ระหว่ างแรงสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมป้ องกันโรคเอดส์ ของ
กลุ่มชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ปรากฏผลดังนี ้
4.1 พบว่าแรงสนับ สนุน จากเพื่ อนมี ความสัม พัน ธ์ ทางลบในระดับ ค่อนข้ างต่ากับ
พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติ ที่
ระดับ .05
4.2 พบว่าแรงสนับสนุนจากครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับค่อนข้ างต่ากับ
พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติที่
ระดับ .05
4.3 พบว่าแรงสนับสนุนจากคูรักหรื อคูร่วมเพศไม่มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมป้องกัน
่
่
ั
โรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05
่
ั
ิ
5. ความสัมพันธ์ ระหว่ างความเชื่อด้ านสุขภาพ กับพฤติกรรมป้ องกันโรคเอดส์ ของ
กลุ่มชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
5.1 พบว่าการรับรู้ ความรุ นแรงของโรคเอดส์ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกัน
โรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05
่
ั
ิ
5.2 พบว่าการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ ไม่มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรม
ป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05
่
ั
ิ
5.3 พบว่าการรับ รู้ อุป สรรคของการป้อ งกัน โรคเอดส์ มี ค วามสัม พัน ธ์ ท างบวกกับ
พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติที่
ระดับ .05
5.4 พบว่ า การรั บ รู้ ประโยชน์ ที่ จ ะป้ อ งกั น โรคเอดส์ มี ค วามสัม พั น ธ์ ท างบวกกั บ
พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติที่
ระดับ .05
อภิปรายผลการศึกษา
เพื่อให้ การศึกษาค้ นคว้ าไปตามจุดมุ่งหมาย ผู้วิจย ได้ รวบรวมผลการวิจยและสามารถภิปราย
ั
ั
ผลได้ ดงนี ้
ั
การศึกษาในครังนีพบว่า จากการสารวจกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุระหว่าง 18 – 25 ปี โดย
้ ้
ส่วนมากมีการศึกษาระดับปริ ญญาตรี อาชีพของกลุ่มตัวอย่างคือบริษัทเอกชน ด้ านรายได้ ตอเดือนนัน
่
้
ส่วนมากต่ากว่า 15,000 บาท ประเภทของสวัสดิการด้ านสุขภาพนันคือบัตรประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า
้
กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนมากพักอาศัยอยูหอพักหรื ออพาร์ ทเม้ น ฯลฯ ด้ านแรงสนับสนุนทางสังคม ในส่วน
่
ของแรงสนับสนุนจากเพื่อน จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับแรงสนับสนุนจากเพื่อน
ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจาแนกตามรายข้ อคาถามเกี่ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคม
จากเพื่อนพบว่าข้ อคาถามที่มีคาเฉลี่สงสุดคือ เพื่อนเตือนให้ ทานสวมถุงยางอนามัยขณะร่วมเพศ
่
ู
่
1. จากผลการศึ ก ษาพบว่ า แรงสนั บ สนุ น ทางด้ า นสัง คมจากเพื่ อ นมี ค วามสัม พั น ธ์ กั บ
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
่
สามารถอธิ บายได้ ว่า ความเจริ ญ ทางด้ านข้ อมูลข่าวสารในปั จ จุบัน ทาให้ ผ้ ูคนส่วนใหญ่ มี
ความรู้ เกี่ ย วกับ โรคเอดส์ อยู่ในระดับ สูง ตลอดจนหน่ วยงานภาครั ฐ และเอกชนได้ รณรงค์ ร่วมกัน
ดาเนินการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์พร้ อมทังเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง โดยการให้ ความรู้ ความเข้ าใจ
้
ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอดส์ จึงทาให้ ผ้ คนในปั จจุบนรู้สึกถึงการตระหนักป้องโรค
ู
ั
เอดสืมากขึ ้น สอดคล้ องกับแนวคิดของศรัณย์ พิมพ์ทอง (2554) ที่พบว่าชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่
ได้ รับอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนอย่างเหมาะสม มีความเชื่ออานาจในตนสูง และมีความเชื่อในประสิทธิผล
แห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ สูง เป็ นผู้ที่มีทศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ดีมากกว่า และมี
ั
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ขณะมีเพศสัมพันธ์มากกว่า ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบชายประเภทตรงข้ าม
ั
2. จากผลการศึกษาพบว่า แรงสนับสนุนทางด้ านสัง คมจากครอบครัวมี ค วามสัม พันธ์ กับ
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
่
สามารถอธิบายได้ วาระดับแรงสนับสนุนจากครอบครัว ซึงในปั จจุบนสถาบันครอบครัวมีความ
่
่
ั
แน่นแฟ้นสมาชิกในครอบครัวคอยตักเตือน ชี ้แนะความรู้ต่างๆ หรื อจัดหาถุงยางอนามัยให้ บุตรหลาน
ป้องกันสวมถุงยางอนามัยในขณะมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดของ ศรัณย์ พิมพ์ทอง (2554)
ที่พ บว่าชายที่ได้ รับข้ อมูลข่าวสารเรื่ องโรคเอดส์มาก ผลเช่นนีพบในกลุ่มรวมกลุ่มชายที่มีการศึกษา
้
ระดับ ปริ ญ ญาตรี กลุ่ม ชายที่ อาศัย กับ ครอบครัวเป็ นผู้ที่ มี ความเชื่ อ ในประสิท ธิ ผลแห่งตนต่อการ
ป้องกันโรคเอดส์มากที่สุด ผลเช่นนีพ บในกลุ่มชายที่อาศัยกับครอบครัวชายที่มีลักษณะมุ่งอนาคต
้
ควบคุมตนสูง ได้ รับข้ อมูลข่าวสารเรื่ องโรคเอดส์มาก และมีทศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ดี
ั
มาก เป็ นผู้ที่มีความเชื่อในประสิ ทธิผลแห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ม ากกว่า ชายที่มีลักษณะมุ่ง
อนาคตควบคุมตนต่าได้ รับข้ อมูลข่าวสารเรื่ องโรคเอดส์น้อย และมีทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรค
เอดส์ดีน้อยผลเช่นนี ้พบในกลุมชายที่อาศัยกับครอบครัว
่
3. จากผลการศึ ก ษาพบว่ า แรงสนั บ สนุ น ทางด้ านสั ง คมจากคู่ รั ก หรื อ คู่ ร่ ว มเพศ ไม่ มี
ความสัมพันธ์กบพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
ั
่
สามารถอธิ บายได้ ว่า คู่รักหรื อคู่ร่วมเพศต้ องการให้ ค่รักของตนเองรักเดียวใจเดียวหรื อคอย
ู
เตือนให้ สวมถุงยางอนามัยขณะร่วมเพศน้ อย สอดคล้ องกับแนวคิดของ ผลงานวิจยของสุทธนันท์ สุทธ
ั
ชนะ, สุจินดา นันที, ธรี รัตน์ เชมนะสิริ, ธนรักษ์ ผลิพฒน์ (2547) ได้ ทาการ ศึกษาพฤติกรรมที่สมพันธ์
ั
ั
กับการติดเชื อ เอชไอวี ในกลุ่ม ทหารกองประจาการและในเรื อนจาพบปั ญ หาการสนับ สนุนถุงยาง
้
อนามัยยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร อาจมาจากข้ อจากัดในเรื่ อง ข้ อบังคับ กฎ ระเบียบ ในเรื อนจา เช่น ไม่
สะดวกต่อมารับ ผู้ต้องขังไม่ทราบว่ามีถงยางอนามัยแจก อายไม่กล้ ามารับ ซึ่งการใช้ ถงยางอนามัยยัง
ุ
ุ
เป็ นวิธีการป้องกันการติดเชื ้อ เอชไอวี ที่ใช้ ได้ ผลดี การใช้ ถุงยางอนามัยบางครัง หรื อไม่ใช้ เลย ถือว่า
้
เสี่ยงต่อการติดเชือเอดส์ทงนัน และ ผลการเฝ้าระวังการติดเชือเอชไอวีในพื นที่กรุ งเทพมหานคร ปี
้
ั้ ้
้
้
2553 เหตุผลของการสวมถุงยางอนามัยบางครัง หรื อไม่ได้ สวมถุงยางอนามัยกับลูกค้ าประจาเมื่อมี
้
เพศสัมพันธ์ ได้ แก่ ไว้ ใจคู่นอน ร้ อยละ 53.8 คือคู่นอนปฏิเสธ ร้ อยละ 19.2 และเมาไม่ได้ สติ ร้ อยละ
11.5 ตามลาดับ
4. ความเชื่ อ ด้ า นสุข ภาพ ด้ า นการรั บ รู้ ความรุ น แรงของโรคเอดส์ ไ ม่ มี ค วามสัม พัน ธ์ กั บ
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
่
สามารถอธิบายได้ ว่าผู้ที่ตดเชื ้อโรคเอดส์สามารถแพร่เชื ้อไปสูผ้ อื่นได้ แม้ ไม่มีอาการ และผู้ป่วย
ิ
่ ู
โรคเอดส์ ต้องทนทุกข์ทรมานมากทังร่ างกายและจิตใจ การติดเชือโรคเอดส์ทาให้ ภูมิ ต้านทานของ
้
้
ร่างกายต่าลงและเกิดโรคแทรกซ้ อนได้ ง่าย และโรคเอดส์เป็ นโรคร้ ายแรงที่ไม่มีทางรักษาให้ หายขาดได้
ซึ่งไม่สอดคล้ องกับข้ อมูลด้ านความรู้เกี่ยวกับถุงยางอนามัยของกลุ่ม ตัวอย่างชายที่มีเพศสัม พันธ์ กับ
ชายในจังหวัดขอนแก่น พบว่ามีความรู้เกี่ยวกับถุงยางอนามัยอยูในระดับสูง ร้ อยละ 52.5 รองลงมาคือ
่
ความรู้ ระดับ ต่ า ร้ อยละ 29.0 และระดับ กลางร้ อยละ 18.5 ส่วนข้ อ มูลด้ านความรู้ เกี่ ย วกับ ถุงยาง
อนามัยของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบชายในจังหวัดขอนแก่น มีความรู้เกี่ยวกับเรื่ อง
ั
เชื ้อเอชไอวี/ เอดส์อยู่ในระดับสูง ร้ อยละ 52.3 รองลงมาคือ ความรู้ระดับกลาง ร้ อยละ 24.0 และข้ อมูล
ด้ านทัศนคติเกี่ ยวกับถุงยางอนามัย พบว่าชายที่มีเพศสัมพันธ์ กับชายในจังหวัดขอนแก่น มีทัศนคติ
เกี่ยวกับถุงยางอนามัยอยู่ในระดับกลาง ร้ อยละ 52.5รองลงมาคือ ทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัยอยู่
ในระดับสูงร้ อยละ 44.3 และระดับต่า ร้ อยละ 3.3
5. ความเชื่อด้ านสุขภาพ ด้ านการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ไม่มีความสัมพันธ์ กับ
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
่
สามารถอธิบายได้ ว่าในปั จจุบนแม้ ว่าจะป้องกันแล้ วยังมีความเป็ นไปได้ ที่จะติดโรคเอดส์ ซึ่ง
ั
อาจมาจากการมีเพศสัมพันธ์ กับคนบุคคลอื่นๆ หรื อมี โอกาสติดเชื ้อโรคเอดส์ได้ จากการใช้ เครื่ องใช้
ส่วนตัวต่างๆ ร่วมกับบุคคลอื่น เช่น แปรงสีฟัน มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจยของ
ั
พิกุลพรรณ พลศิลป์ (พ.ศ. 2549) พบว่าการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วน
ใหญ่ มี วิธี ที่จ ะทาให้ แน่ใจว่าไม่ติดเอดส์ จ ากคู่น อนโดยดูจ ากความประพฤติว่าไม่ส าส่อน มี การใช้
ถุงยางอนามัยเมื่อมีกิจกรรมทางเพศทุกครัง คิดเป็ นร้ อยละ 38.57 รองลงมา ใช้ บางครัง คิดเป็ นร้ อยละ
้
้
48.57 และไม่ใช้ ร้ อยละ 12.86 โดยผู้กาหนดการใช้ ถงอนามัยส่วนใหญ่ คือตัวผู้ตอบแบบสอบถามเอง
ุ
และมีสาเหตุเพื่อป้องกันการติดเชื ้อเอดส์ ซึ่งมีพฤติกรรมเสี่ยงที่น่าเป็ นห่วง คือการป้องกันตนเองเมื่อมี
เพศสัมพันธ์ด้วยการใช้ ถุงยางอนามัยในระดับที่ต่า ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจยศรี สดา โภคา (2541) ได้
ั
ุ
ทาการศึกษาพฤติกรรมทางเพศและปัจจัยที่กาหนดความตังใจใช้ ถงยางอนามัยเพื่อป้องกันการติด เชื ้อ
้
ุ
เอดส์ของเด็กวัยรุ่นชาย พบว่าเมื่อมีเพศสัมพันธ์ กับหญิ งคนรัก มีเพียงร้ อยละ 9.60 ที่มีการใช้ ถุงยาง
อนามัยทุกครัง ร้ อยละ 55.2 ไม่เคยใช้ ถงยางอนามัย
้
ุ
6. ความเชื่อด้ านสุขภาพ ด้ านการรับรู้ อุปสรรคของการป้องกันโรคเอดส์ มีความสัมพันธ์ กับ
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
่
สามารถอธิบายได้ ว่าในบางกลุ่มผุ้คนบางกลุ่มยังมีความเชื่อที่ว่า ถุงยางอนามัยมีราคาแพง
และการสวมใส่ถงยางอนามัยเป็ นเรื่ องวุ่นวายน่าราคาญ ไม่สะดวกในการมีเพสสัมพันธ์แต่ละครังรวม
ุ
้
ไปถึงบางเรื่ อง เช่น การทาความสะอาดสิ่งของส่วนตัว กรรไกรตัดเล็บ การเปลี่ยนใบมีดโกนก่อนใช้ นน
ั้
เป็ นสิ่งที่ยงยาก ซึงสอดคล้ องกับงานวิจยของ สุทธนันท์ สุทธชนะ, สุจินดา นันที, ธรี รัตน์ เชมนะสิริ, ธน
ุ่
่
ั
รักษ์ ผลิพฒ น์ (2547) ได้ ทาการ ศึกษาพฤติกรรมที่สมพันธ์ กับการติดเชื ้อ เอชไอวี ในกลุ่มทหารกอง
ั
ั
ประจาการ รอบที่ 9 ปี พ.ศ. 2546 เป็ นการดาเนินการใน 13 จังหวัดที่มีความพร้ อมและความสมัครใจ
และเป็ นจังหวัดตัวแทนทุกภาคของประเทศไทย พบว่าทหารกองประจาการยังคงมีพฤติกรรมทางเพศที่
ไม่ปลอดภัย กล่าวคือมีคู่นอนหลายคน มี เพศสัมพันธ์ นอกสมรสค่อนข้ างสูง คิดเป็ น ร้ อยละ 50 มี
รู ป แบบมี เพศสัม พัน ธ์ กับ หญิ ง อื่ น ที่ ร้ ู จัก กัน ผิ วเผิ น มากกว่าหญิ ง บริ ก ารทางเพศ และมี แนวโน้ ม มี
เพศสัมพันธ์กบทังสองกลุมเพิ่มมากขึ ้น มีการใช้ ถงยางอนามัยกับหญิงอื่นต่า คิดเป็ นร้ อยละ 25.00 ซึ่ง
ั ้
่
ุ
พฤติกรรมนี ้เป็ นการเสี่ยงต่อการติดเชื ้อเอดส์ ซึ่งคล้ ายคลึงกับการศึกษาของวิภา ด่านธารงกุล (2546)
ไม่ใช้ ถงยางอนามัย คือไม่ได้ เตรี ยม ไม่ได้ พกติดตัว ไม่เป็ นธรรมชาติ ทาให้ อารมณ์ไม่ตอเนื่อง คูไม่ชอบ
ุ
่
่
ให้ ใช้ ไว้ ใจ เชื่อใจคูหรื อแฟน ตรวจโรคแล้ ว เลือกแล้ ว ตรงกับข้ อมูลที่ได้ จากการสนทนากลุ่มและการ
่
สัมภาษณ์เชิงลึก คือ ไม่มีถงยางอนามัย ไม่ได้ พกติดตัวไว้ ไม่คิดว่าจะมีเพศสัมพันธ์จึงไม่ได้ เตรี ยม ซึ่ง
ุ
ส่วนใหญ่ ไม่ได้ คิดไว้ ล่วงหน้ าว่าจะต้ องมี เพศสัมพันธ์ จึงไม่ได้ เตรี ยมไป หรื อบางครังที่เตรี ยมไปก็ไม่
้
พอใช้ เนื่องจากได้ ค่นอนมากกว่าที่เตรี ยมถุงยางอนามัยมา ทังนี ้จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มนักเรี ยน
ู
้
กลุ่มพนักงานในสถานประกอบการ และกลุ่มประชาชนทัวไปยังคงมีพฤตกรรมทางเพศที่เสี่ยงต่อการ
่
ติดเชื ้อเอชไอวีสูง จะเห็นได้ จากอัตราการใช้ ถงยางอนามัยที่ยงต่า และไม่สม่าเสมอ และกลุ่มนักเรี ยน
ุ
ั
จะใช้ ถงยางอนามัยเพียงเพื่อป้องกันการตังครรภ์ เท่านัน
ุ
้
้
7. ความเชื่ อ ด้ านสุขภาพ ด้ านการรับ รู้ ประโยชน์ ที่ จ ะป้องกัน โรคเอดส์ มี ค วามสัม พัน ธ์ กับ
พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร
่
สามารถอธิบายได้ วาการใช้ ถงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ทกครังจะช่วยให้ ปลอดภัยจากโรค
่
ุ
ุ ้
เอดส์ และโรคติดต่อทางเพสัมพันธ์ได้ ทังนี ้การงดอุปกรณ์ในการสักผิวหนัง หรื อเจาะตามร่างกาย ยัง
้
สามารถลดความเสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์ได้ ซึงสอดคล้ องกับการศึกษาของ คณะกรรมการแห่งชาติว่า
่
ด้ วยการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ (2553) พบว่าความรู้ เกี่ยวกับโรคเอดส์และการติดเชื ้อเอชไอวี
นัน พบว่ากลุ่มชายที่ มีเพศสัมพันธ์ กับชายในจังหวัดขอนแก่นมีความรู้ เกี่ ยวกับโรคเอดส์เป็ นอย่างดี
้
กล่าวคือ กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กบชายสามารถตอบความรู้เกี่ยวกับเอดส์ได้ ถกต้ องตามเกณฑ์ของ
ั
ู
คณะกรรมการแห่งชาติวาด้ วยการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ ส่วนใหญ่มีความรู้อยูในระดับสูงเครื อ
่
่
ทิพย์ ทังนี ้ยังสอดคล้ องกับผลการศึกษาของจันทรธานีวฒน์ และ ภัทรษราณี ชนะแก้ ว (2554) ที่ศกษา
้
ั
ึ
ลูกเรื อประมงตื่นตัวมีการรั บรู้ข้อมูลข่าวสารเอดส์มากขึ ้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยอมรับการใช้ ถุงยาง
อนามั ย มากขึ น รู้ ช่ อ งทางการรั บ บริ ก ารเมื่ อ ต้ อ งการค าปรึ ก ษาหรื อ เจ็ บ ป่ วย เกิ ด เครื อ ข่ า ยการ
้
ดาเนินงานในชุมชนอย่างยั่งยืน องค์การสะพานปลาให้ การสนับสนุนงบประมาณดาเนินการอย่าง
ต่อเนื่องนาอาสาสมัครขยายผลการให้ ความรู้ แจกถุงยางอนามัยให้ กบลูกเรื อประมง และชุมชนอย่าง
ั
ต่อเนื่อง การพัฒ นารู ปแบบการจัดบริ การเชิงรุ กโดยการจัดตังศูนย์สุขภาพบ้ านลูกเรื อเพื่อให้ ความรู้
้
ข่าวสารและบริ การคาปรึกษาปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ บริการถุงยางอนามัย และ
อื่นๆ ที่จาเป็ นต่อคุณภาพชีวิตลูกเรื อประมง รวมทังการรวมกลุ่มทากิจกรรมนันทนาการและกิจกรรม
้
ระหว่างลูกเรื อประมงและชุมชน
ข้ อเสนอแนะในการทาวิจัย
1. ในการท าวิจัยครัง ต่อไปควรกาหนดกลุ่ม ของประชากรให้ มี ค วามครอบคลุม กว่านี ้ เพื่ อ
้
ผลการวิจยที่สารมารถเห็นผลได้ อย่างชัดเจน
ั
2. การสุ่มเก็บตัวอย่างในการวิจยครังนี ้อาจยังมีข้อกาหนดในส่วนของระยะเวลา ทังนี ้ในการ
ั ้
้
วิจยครังต่อไปอาจขยายช่วงเวลาในการเก็บข้ อมูลในกว้ างกว่าเดิม
ั ้
3. การวิจยครังนี ้มีเครื่ องมือทางสถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์อาจยังไม่ครอบคลุมมากนัก ทังนี ้การ
ั ้
้
วิจยในครังต่อไปควรนาหลักทางสถิตเิ ข้ ามาพิจารณาให้ มากกว่านี ้
ั
้

Más contenido relacionado

Similar a บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)

แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณKnooknickk Pinpukvan
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)45606
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคpawineeyooin
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาการคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาKlangpanya
 
ปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบัน
ปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบันปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบัน
ปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบันkhanidthakpt
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองJumpon Utta
 

Similar a บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1) (20)

แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social MediaSIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาการคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
 
ปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบัน
ปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบันปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบัน
ปัญหาทางเพศในสังคมปัจจุบัน
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
 
02 Inthanut.pdf
02 Inthanut.pdf02 Inthanut.pdf
02 Inthanut.pdf
 

Más de rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1rubtumproject.com
 

Más de rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 

บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)

  • 1. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ การศึกษาวิจยเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมและความเชื่อด้ านสุขภาพกับ ั พฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้ อมูล ่ ั ทัวไป แรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน ครอบครัว และคูรักหรื อคูร่วมเพศ ความเชื่อด้ านสุขภาพ ได้ แก่ ่ ่ ่ การรับรู้ ความรุ นแรงของโรคเอดส์ การรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ การรับอุปสรรคของการ ป้องกันโรคเอดส์ การรับรู้ ประโยชน์ที่จะป้อ งกันโรคเอดส์ และศึกษาระดับพฤติกรรมการป้องกันโรค เอดส์ รวมทังศึกษาความสัม พันธ์ ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมและกับพฤติกรรมการป้องกันโรค ้ เอดส์ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้ านสุขภาพ ได้ แก่ การรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ การรั บ รู้ โอกาสเสี่ ยงต่อ การเกิ ด โรคเอดส์ การรั บ รู้ อุป สรรคของการป้อ งกัน โรคเอดส์ และการรับ รู้ ประโยชน์ที่จะป้องกันโรคเอดส์กบพฤติกรรมการป้องโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ั ่ การศึกษาครังนี ้เป็ นการวิจยเชิงสารวจ (Survey Research) เป็ นการศึกษาและเก็บข้ อมูลโดย ้ ั ใช้ แบบสอบถามเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมและความเชื่อด้ านสุขภาพกับ พฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายในกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน ใช้ วิธีการสุม ตัวอย่างแบบแบบสโนว์บอลเทคนิค (Snowball Technique) วิเคราะห์ข้อมูลด้ วยโปรมแกรม SPSS for Windows (Statistic Package for the Social Science) ใช้ สถิ ติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้ แก่ ร้ อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของตัวแปรใช้ สถิ ติ สัม ประสิ ท ธิ์ ส หสัม พัน ธ์ เพี ยร์ สัน (Pearson ’s Product Moment Correlation Coefficient) โดย กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ิ สรุ ปผลการวิเคราะห์ ข้อมูล จากการศึกษาค้ นคว้ าและวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปผลได้ ดงนี ้ ั 1. ข้ อมูลทั่วไป จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อายุระหว่าง 18 – 25 ปี คิดเป็ น ร้ อยละ 62.5 การศึกษาระดับ ปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้ อยละ 60.0 ประกอบอาชีพ บริ ษัทเอกชน คิดเป็ น
  • 2. ร้ อยละ 37.8 รายได้ ต่อเดือน ต่ากว่า 15,000 บาท คิดเป็ นร้ อยละ 60.3 สวัสดิการด้ านสุขภาพ บัตร ประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า คิดเป็ นร้ อยละ 54.7 ลักษณะที่พก หอพัก (อพาร์ ทเม้ น คอนโด ฯลฯ) คิดเป็ น ั ร้ อยละ 55.8 ส่วนใหญ่พกอาศัยคนเดียว คิดเป็ นร้ อยละ 55.5 บทบาทในการมีเพศสัมพันธ์ เป็ นฝ่ ายรุก ั คิดเป็ นร้ อยละ 26.8 ประสบการณ์ การตรวจเลือดเพื่อหาเชื ้อเอชไอวี ส่วนใหญ่ ไม่เคย คิดเป็ นร้ อยละ 65.3 ตามลาดับ 2. แรงสนับสนุนทางสังคม 2.1 แรงสนั บสนุ นจากเพื่อน จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีระดับ แรงสนับสนุนจากเพื่อนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 เมื่อจาแนกตามราย ข้ อคาถามเกี่ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนพบว่าข้ อคาถามที่มีค่าเฉลี่สูงสุดคือ เพื่อน เตือนให้ ท่านสวมถุง ยางอนามัย ขณะร่ วมเพศมี ค่าเฉลี่ ยเท่ากั บ 4.23 รองลงมาคือ เพื่ อนให้ ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับโรคเอดส์แก่ท่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.55 และเพื่อนชักชวนท่านตรวจเลือดหาเชื ้อ HIV มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 ตามลาดับ ่ 2.2 แรงสนั บ สนุ นจากครอบครั ว จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มี ระดับแรงสนับสนุนจากครอบครัวในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.13 เมื่อจาแนก ่ ตามรายข้ อคาถามเกี่ ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคมจากครัวครอบพบว่าข้ อคาถามที่ มีค่าเฉลี่ สูงสุดคือ สมาชิกในครอบครัวเตือนให้ ท่านสวมถุงยางอนามัยขณะร่ วมเพศ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74 รองลงมาคือ สมาชิกในครอบครัวแนะน าสถานที่ ในการตรวจเลื อดหาเชื อ HIV แก่ท่าน มี ค่าเฉลี่ ย ้ เท่ากับ 3.55 และสมาชิ ก ในครอบครั วเป็ น คนจัด หาถุง ยางอนามัย แก่ ท่าน มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 3.22 ตามลาดับ 2.2 แรงสนั บสนุ นจากคู่รักหรื อคู่ร่วมเพศ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่ มีระดับแรงสนับสนุนจากคู่รักหรื อคู่รักเพศในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.41 เมื่อจาแนกตามรายข้ อคาถามเกี่ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคมจากคูรักหรื อคูร่วมเพศพบว่า ่ ่ ข้ อคาถามที่มีค่าเฉลี่สูงสุดคือ คู่รักหรื อคู่ร่ว มเพศบอกให้ ท่านรักเดียวใจเดียว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.84 รองลงมาคือ คู่รักหรื อคู่ร่วมเพศของท่านเตื อนให้ ท่านสวมถุงยางอนามัยขณะร่ วมเพศ มี ค่าเฉลี่ ย
  • 3. เท่ากับ 3.78 และคูรักหรื อคูร่วมเพศท่านเตือนไม่ให้ ใช้ ของมีคม เช่น มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ ร่วมกับคน ่ ่ อื่น มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.47 ส่วน ตามลาดับ ่ 3. ความเชื่อด้ านสุขภาพ 3.1 การรั บ รู้ ค วามรุ นแรงของโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่มีการระดับการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์โดยภาพร่วมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาตามรายข้ อ พบว่าข้ อที่มี ค่าเฉลี่ ยสูงสุดคือ ผู้ ที่ติดเชือโรคเอดส์ สามารถแพร่ เชื อไปสู่ผ้ ูอื่นได้ แม้ ไม่มี อาการ และ ้ ้ ผู้ป่วยโรคเอดส์ต้องทนทุกข์ทรมานมากทังร่างกายและจิตใจ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 รองลงมาคือ การ ้ ่ ติดเชื ้อโรคเอดส์ทาให้ ภูมิต้านทานของร่ างกายต่าลงและเกิดโรคแทรกซ้ อนได้ ง่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 และโรคเอดส์เป็ นโรคร้ ายแรงที่ไม่มีทางรักษาให้ หายขาดได้ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ตามลาดับ ่ 3.2 การรั บรู้ โอกาสเสี่ ยงต่ อการติดโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ มี ระดับ การรั บ รู้ โอกาสเสี่ ยงต่อ การติด โรคเอดส์ โดยภาพร่ วมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่ อ พิจารณาตามรายข้ อพบว่าข้ อที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ เป็ นไปได้ ที่ท่านอาจจะติดโรคเอดส์ แม้ ว่าท่านจะ ่ ป้องกันแล้ ว มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 รองลงมาคือ ท่านอาจจะติดโรคเอดส์ จากการมีเพศสัมพันธ์กบคน ่ ั อื่ น มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 3.29 และท่านมี โอกาสติดเชื อโรคเอดส์ ได้ จ ากการใช้ เครื่ องใช้ ส่วนตัวต่าง ๆ ้ ร่วมกับบุคคลอื่น เช่น แปรงสีฟัน มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.27 ตามลาดับ ่ 3.3 การรั บรู้ อุปสรรคในการป้ องกันโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ มี ระดับการรับรู้ อุป สรรคในการป้องกันโรคเอดส์ โดยภาพร่ วมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่ อ พิจ ารณาตามรายข้ อพบว่าข้ อที่ มี ค่าเฉลี่ ยสูงสุดคือ การเปลี่ ยนใบมี ดโกนก่อนใช้ ทุกครังเป็ นทาให้ ้ สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.37 รองลงมาคือ ถุงยางอนามัยมีราคาแพงสาหรับท่าน และ การสวมใส่ถงยางอนามัยเป็ นเรื่ องวุ่ ุ น่าราคาญสาหรับท่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.33 และการทา ความสะอาดกรรไกรตัดเล็บก่อนเป็ นสิ่งที่ยงยาก มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.32 ตามลาดับ ุ่ ่ 3.4 การรั บรู้ ประโยชน์ ในการป้ องกันโรคเอดส์ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ มี ระดับการรับรู้ ประโยชน์ในการป้องกันโรคเอดส์โดยภาพร่ วมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่ อ พิจารณาตามรายข้ อพบว่าข้ อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การใช้ ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ทุกครังจะ ้ ช่วยให้ ปลอดภัยจากโรคเอดส์ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 รองลงมาคือ การสวมถุงอนามัยสามารถป้องโรค ่
  • 4. เอดส์และโรคติดต่อทางเพสัมพันธ์ได้ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.88 และการงดอุปกรณ์ในการสักผิวหนัง หรื อ ่ เจาะตามร่างกาย สามารถลดความเสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์ มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.83 ตามลาดับ ่ 4. ความสัมพันธ์ ระหว่ างแรงสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมป้ องกันโรคเอดส์ ของ กลุ่มชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ปรากฏผลดังนี ้ 4.1 พบว่าแรงสนับ สนุน จากเพื่ อนมี ความสัม พัน ธ์ ทางลบในระดับ ค่อนข้ างต่ากับ พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 4.2 พบว่าแรงสนับสนุนจากครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับค่อนข้ างต่ากับ พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติที่ ระดับ .05 4.3 พบว่าแรงสนับสนุนจากคูรักหรื อคูร่วมเพศไม่มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมป้องกัน ่ ่ ั โรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ่ ั ิ 5. ความสัมพันธ์ ระหว่ างความเชื่อด้ านสุขภาพ กับพฤติกรรมป้ องกันโรคเอดส์ ของ กลุ่มชายรักชายในกรุงเทพมหานคร 5.1 พบว่าการรับรู้ ความรุ นแรงของโรคเอดส์ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกัน โรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ่ ั ิ 5.2 พบว่าการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ ไม่มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรม ป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ่ ั ิ 5.3 พบว่าการรับ รู้ อุป สรรคของการป้อ งกัน โรคเอดส์ มี ค วามสัม พัน ธ์ ท างบวกกับ พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติที่ ระดับ .05 5.4 พบว่ า การรั บ รู้ ประโยชน์ ที่ จ ะป้ อ งกั น โรคเอดส์ มี ค วามสัม พั น ธ์ ท างบวกกั บ พฤติก รรมป้อ งกัน โรคเอดส์ ของกลุ่ม ชายรั กชายในกรุ ง เทพมหานคร อย่างมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติที่ ระดับ .05
  • 5. อภิปรายผลการศึกษา เพื่อให้ การศึกษาค้ นคว้ าไปตามจุดมุ่งหมาย ผู้วิจย ได้ รวบรวมผลการวิจยและสามารถภิปราย ั ั ผลได้ ดงนี ้ ั การศึกษาในครังนีพบว่า จากการสารวจกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุระหว่าง 18 – 25 ปี โดย ้ ้ ส่วนมากมีการศึกษาระดับปริ ญญาตรี อาชีพของกลุ่มตัวอย่างคือบริษัทเอกชน ด้ านรายได้ ตอเดือนนัน ่ ้ ส่วนมากต่ากว่า 15,000 บาท ประเภทของสวัสดิการด้ านสุขภาพนันคือบัตรประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า ้ กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนมากพักอาศัยอยูหอพักหรื ออพาร์ ทเม้ น ฯลฯ ด้ านแรงสนับสนุนทางสังคม ในส่วน ่ ของแรงสนับสนุนจากเพื่อน จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับแรงสนับสนุนจากเพื่อน ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจาแนกตามรายข้ อคาถามเกี่ยวกับระดับแรงสนับสนุนทางสังคม จากเพื่อนพบว่าข้ อคาถามที่มีคาเฉลี่สงสุดคือ เพื่อนเตือนให้ ทานสวมถุงยางอนามัยขณะร่วมเพศ ่ ู ่ 1. จากผลการศึ ก ษาพบว่ า แรงสนั บ สนุ น ทางด้ า นสัง คมจากเพื่ อ นมี ค วามสัม พั น ธ์ กั บ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ่ สามารถอธิ บายได้ ว่า ความเจริ ญ ทางด้ านข้ อมูลข่าวสารในปั จ จุบัน ทาให้ ผ้ ูคนส่วนใหญ่ มี ความรู้ เกี่ ย วกับ โรคเอดส์ อยู่ในระดับ สูง ตลอดจนหน่ วยงานภาครั ฐ และเอกชนได้ รณรงค์ ร่วมกัน ดาเนินการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์พร้ อมทังเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง โดยการให้ ความรู้ ความเข้ าใจ ้ ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอดส์ จึงทาให้ ผ้ คนในปั จจุบนรู้สึกถึงการตระหนักป้องโรค ู ั เอดสืมากขึ ้น สอดคล้ องกับแนวคิดของศรัณย์ พิมพ์ทอง (2554) ที่พบว่าชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่ ได้ รับอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนอย่างเหมาะสม มีความเชื่ออานาจในตนสูง และมีความเชื่อในประสิทธิผล แห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ สูง เป็ นผู้ที่มีทศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ดีมากกว่า และมี ั พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ขณะมีเพศสัมพันธ์มากกว่า ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบชายประเภทตรงข้ าม ั 2. จากผลการศึกษาพบว่า แรงสนับสนุนทางด้ านสัง คมจากครอบครัวมี ค วามสัม พันธ์ กับ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ่ สามารถอธิบายได้ วาระดับแรงสนับสนุนจากครอบครัว ซึงในปั จจุบนสถาบันครอบครัวมีความ ่ ่ ั แน่นแฟ้นสมาชิกในครอบครัวคอยตักเตือน ชี ้แนะความรู้ต่างๆ หรื อจัดหาถุงยางอนามัยให้ บุตรหลาน ป้องกันสวมถุงยางอนามัยในขณะมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดของ ศรัณย์ พิมพ์ทอง (2554)
  • 6. ที่พ บว่าชายที่ได้ รับข้ อมูลข่าวสารเรื่ องโรคเอดส์มาก ผลเช่นนีพบในกลุ่มรวมกลุ่มชายที่มีการศึกษา ้ ระดับ ปริ ญ ญาตรี กลุ่ม ชายที่ อาศัย กับ ครอบครัวเป็ นผู้ที่ มี ความเชื่ อ ในประสิท ธิ ผลแห่งตนต่อการ ป้องกันโรคเอดส์มากที่สุด ผลเช่นนีพ บในกลุ่มชายที่อาศัยกับครอบครัวชายที่มีลักษณะมุ่งอนาคต ้ ควบคุมตนสูง ได้ รับข้ อมูลข่าวสารเรื่ องโรคเอดส์มาก และมีทศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ดี ั มาก เป็ นผู้ที่มีความเชื่อในประสิ ทธิผลแห่งตนต่อการป้องกันโรคเอดส์ม ากกว่า ชายที่มีลักษณะมุ่ง อนาคตควบคุมตนต่าได้ รับข้ อมูลข่าวสารเรื่ องโรคเอดส์น้อย และมีทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันโรค เอดส์ดีน้อยผลเช่นนี ้พบในกลุมชายที่อาศัยกับครอบครัว ่ 3. จากผลการศึ ก ษาพบว่ า แรงสนั บ สนุ น ทางด้ านสั ง คมจากคู่ รั ก หรื อ คู่ ร่ ว มเพศ ไม่ มี ความสัมพันธ์กบพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ั ่ สามารถอธิ บายได้ ว่า คู่รักหรื อคู่ร่วมเพศต้ องการให้ ค่รักของตนเองรักเดียวใจเดียวหรื อคอย ู เตือนให้ สวมถุงยางอนามัยขณะร่วมเพศน้ อย สอดคล้ องกับแนวคิดของ ผลงานวิจยของสุทธนันท์ สุทธ ั ชนะ, สุจินดา นันที, ธรี รัตน์ เชมนะสิริ, ธนรักษ์ ผลิพฒน์ (2547) ได้ ทาการ ศึกษาพฤติกรรมที่สมพันธ์ ั ั กับการติดเชื อ เอชไอวี ในกลุ่ม ทหารกองประจาการและในเรื อนจาพบปั ญ หาการสนับ สนุนถุงยาง ้ อนามัยยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร อาจมาจากข้ อจากัดในเรื่ อง ข้ อบังคับ กฎ ระเบียบ ในเรื อนจา เช่น ไม่ สะดวกต่อมารับ ผู้ต้องขังไม่ทราบว่ามีถงยางอนามัยแจก อายไม่กล้ ามารับ ซึ่งการใช้ ถงยางอนามัยยัง ุ ุ เป็ นวิธีการป้องกันการติดเชื ้อ เอชไอวี ที่ใช้ ได้ ผลดี การใช้ ถุงยางอนามัยบางครัง หรื อไม่ใช้ เลย ถือว่า ้ เสี่ยงต่อการติดเชือเอดส์ทงนัน และ ผลการเฝ้าระวังการติดเชือเอชไอวีในพื นที่กรุ งเทพมหานคร ปี ้ ั้ ้ ้ ้ 2553 เหตุผลของการสวมถุงยางอนามัยบางครัง หรื อไม่ได้ สวมถุงยางอนามัยกับลูกค้ าประจาเมื่อมี ้ เพศสัมพันธ์ ได้ แก่ ไว้ ใจคู่นอน ร้ อยละ 53.8 คือคู่นอนปฏิเสธ ร้ อยละ 19.2 และเมาไม่ได้ สติ ร้ อยละ 11.5 ตามลาดับ 4. ความเชื่ อ ด้ า นสุข ภาพ ด้ า นการรั บ รู้ ความรุ น แรงของโรคเอดส์ ไ ม่ มี ค วามสัม พัน ธ์ กั บ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ่ สามารถอธิบายได้ ว่าผู้ที่ตดเชื ้อโรคเอดส์สามารถแพร่เชื ้อไปสูผ้ อื่นได้ แม้ ไม่มีอาการ และผู้ป่วย ิ ่ ู โรคเอดส์ ต้องทนทุกข์ทรมานมากทังร่ างกายและจิตใจ การติดเชือโรคเอดส์ทาให้ ภูมิ ต้านทานของ ้ ้
  • 7. ร่างกายต่าลงและเกิดโรคแทรกซ้ อนได้ ง่าย และโรคเอดส์เป็ นโรคร้ ายแรงที่ไม่มีทางรักษาให้ หายขาดได้ ซึ่งไม่สอดคล้ องกับข้ อมูลด้ านความรู้เกี่ยวกับถุงยางอนามัยของกลุ่ม ตัวอย่างชายที่มีเพศสัม พันธ์ กับ ชายในจังหวัดขอนแก่น พบว่ามีความรู้เกี่ยวกับถุงยางอนามัยอยูในระดับสูง ร้ อยละ 52.5 รองลงมาคือ ่ ความรู้ ระดับ ต่ า ร้ อยละ 29.0 และระดับ กลางร้ อยละ 18.5 ส่วนข้ อ มูลด้ านความรู้ เกี่ ย วกับ ถุงยาง อนามัยของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบชายในจังหวัดขอนแก่น มีความรู้เกี่ยวกับเรื่ อง ั เชื ้อเอชไอวี/ เอดส์อยู่ในระดับสูง ร้ อยละ 52.3 รองลงมาคือ ความรู้ระดับกลาง ร้ อยละ 24.0 และข้ อมูล ด้ านทัศนคติเกี่ ยวกับถุงยางอนามัย พบว่าชายที่มีเพศสัมพันธ์ กับชายในจังหวัดขอนแก่น มีทัศนคติ เกี่ยวกับถุงยางอนามัยอยู่ในระดับกลาง ร้ อยละ 52.5รองลงมาคือ ทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัยอยู่ ในระดับสูงร้ อยละ 44.3 และระดับต่า ร้ อยละ 3.3 5. ความเชื่อด้ านสุขภาพ ด้ านการรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ไม่มีความสัมพันธ์ กับ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ่ สามารถอธิบายได้ ว่าในปั จจุบนแม้ ว่าจะป้องกันแล้ วยังมีความเป็ นไปได้ ที่จะติดโรคเอดส์ ซึ่ง ั อาจมาจากการมีเพศสัมพันธ์ กับคนบุคคลอื่นๆ หรื อมี โอกาสติดเชื ้อโรคเอดส์ได้ จากการใช้ เครื่ องใช้ ส่วนตัวต่างๆ ร่วมกับบุคคลอื่น เช่น แปรงสีฟัน มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจยของ ั พิกุลพรรณ พลศิลป์ (พ.ศ. 2549) พบว่าการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่ มี วิธี ที่จ ะทาให้ แน่ใจว่าไม่ติดเอดส์ จ ากคู่น อนโดยดูจ ากความประพฤติว่าไม่ส าส่อน มี การใช้ ถุงยางอนามัยเมื่อมีกิจกรรมทางเพศทุกครัง คิดเป็ นร้ อยละ 38.57 รองลงมา ใช้ บางครัง คิดเป็ นร้ อยละ ้ ้ 48.57 และไม่ใช้ ร้ อยละ 12.86 โดยผู้กาหนดการใช้ ถงอนามัยส่วนใหญ่ คือตัวผู้ตอบแบบสอบถามเอง ุ และมีสาเหตุเพื่อป้องกันการติดเชื ้อเอดส์ ซึ่งมีพฤติกรรมเสี่ยงที่น่าเป็ นห่วง คือการป้องกันตนเองเมื่อมี เพศสัมพันธ์ด้วยการใช้ ถุงยางอนามัยในระดับที่ต่า ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจยศรี สดา โภคา (2541) ได้ ั ุ ทาการศึกษาพฤติกรรมทางเพศและปัจจัยที่กาหนดความตังใจใช้ ถงยางอนามัยเพื่อป้องกันการติด เชื ้อ ้ ุ เอดส์ของเด็กวัยรุ่นชาย พบว่าเมื่อมีเพศสัมพันธ์ กับหญิ งคนรัก มีเพียงร้ อยละ 9.60 ที่มีการใช้ ถุงยาง อนามัยทุกครัง ร้ อยละ 55.2 ไม่เคยใช้ ถงยางอนามัย ้ ุ
  • 8. 6. ความเชื่อด้ านสุขภาพ ด้ านการรับรู้ อุปสรรคของการป้องกันโรคเอดส์ มีความสัมพันธ์ กับ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ่ สามารถอธิบายได้ ว่าในบางกลุ่มผุ้คนบางกลุ่มยังมีความเชื่อที่ว่า ถุงยางอนามัยมีราคาแพง และการสวมใส่ถงยางอนามัยเป็ นเรื่ องวุ่นวายน่าราคาญ ไม่สะดวกในการมีเพสสัมพันธ์แต่ละครังรวม ุ ้ ไปถึงบางเรื่ อง เช่น การทาความสะอาดสิ่งของส่วนตัว กรรไกรตัดเล็บ การเปลี่ยนใบมีดโกนก่อนใช้ นน ั้ เป็ นสิ่งที่ยงยาก ซึงสอดคล้ องกับงานวิจยของ สุทธนันท์ สุทธชนะ, สุจินดา นันที, ธรี รัตน์ เชมนะสิริ, ธน ุ่ ่ ั รักษ์ ผลิพฒ น์ (2547) ได้ ทาการ ศึกษาพฤติกรรมที่สมพันธ์ กับการติดเชื ้อ เอชไอวี ในกลุ่มทหารกอง ั ั ประจาการ รอบที่ 9 ปี พ.ศ. 2546 เป็ นการดาเนินการใน 13 จังหวัดที่มีความพร้ อมและความสมัครใจ และเป็ นจังหวัดตัวแทนทุกภาคของประเทศไทย พบว่าทหารกองประจาการยังคงมีพฤติกรรมทางเพศที่ ไม่ปลอดภัย กล่าวคือมีคู่นอนหลายคน มี เพศสัมพันธ์ นอกสมรสค่อนข้ างสูง คิดเป็ น ร้ อยละ 50 มี รู ป แบบมี เพศสัม พัน ธ์ กับ หญิ ง อื่ น ที่ ร้ ู จัก กัน ผิ วเผิ น มากกว่าหญิ ง บริ ก ารทางเพศ และมี แนวโน้ ม มี เพศสัมพันธ์กบทังสองกลุมเพิ่มมากขึ ้น มีการใช้ ถงยางอนามัยกับหญิงอื่นต่า คิดเป็ นร้ อยละ 25.00 ซึ่ง ั ้ ่ ุ พฤติกรรมนี ้เป็ นการเสี่ยงต่อการติดเชื ้อเอดส์ ซึ่งคล้ ายคลึงกับการศึกษาของวิภา ด่านธารงกุล (2546) ไม่ใช้ ถงยางอนามัย คือไม่ได้ เตรี ยม ไม่ได้ พกติดตัว ไม่เป็ นธรรมชาติ ทาให้ อารมณ์ไม่ตอเนื่อง คูไม่ชอบ ุ ่ ่ ให้ ใช้ ไว้ ใจ เชื่อใจคูหรื อแฟน ตรวจโรคแล้ ว เลือกแล้ ว ตรงกับข้ อมูลที่ได้ จากการสนทนากลุ่มและการ ่ สัมภาษณ์เชิงลึก คือ ไม่มีถงยางอนามัย ไม่ได้ พกติดตัวไว้ ไม่คิดว่าจะมีเพศสัมพันธ์จึงไม่ได้ เตรี ยม ซึ่ง ุ ส่วนใหญ่ ไม่ได้ คิดไว้ ล่วงหน้ าว่าจะต้ องมี เพศสัมพันธ์ จึงไม่ได้ เตรี ยมไป หรื อบางครังที่เตรี ยมไปก็ไม่ ้ พอใช้ เนื่องจากได้ ค่นอนมากกว่าที่เตรี ยมถุงยางอนามัยมา ทังนี ้จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มนักเรี ยน ู ้ กลุ่มพนักงานในสถานประกอบการ และกลุ่มประชาชนทัวไปยังคงมีพฤตกรรมทางเพศที่เสี่ยงต่อการ ่ ติดเชื ้อเอชไอวีสูง จะเห็นได้ จากอัตราการใช้ ถงยางอนามัยที่ยงต่า และไม่สม่าเสมอ และกลุ่มนักเรี ยน ุ ั จะใช้ ถงยางอนามัยเพียงเพื่อป้องกันการตังครรภ์ เท่านัน ุ ้ ้
  • 9. 7. ความเชื่ อ ด้ านสุขภาพ ด้ านการรับ รู้ ประโยชน์ ที่ จ ะป้องกัน โรคเอดส์ มี ค วามสัม พัน ธ์ กับ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุมชายรักชายในกรุงเทพมหานคร ่ สามารถอธิบายได้ วาการใช้ ถงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ทกครังจะช่วยให้ ปลอดภัยจากโรค ่ ุ ุ ้ เอดส์ และโรคติดต่อทางเพสัมพันธ์ได้ ทังนี ้การงดอุปกรณ์ในการสักผิวหนัง หรื อเจาะตามร่างกาย ยัง ้ สามารถลดความเสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์ได้ ซึงสอดคล้ องกับการศึกษาของ คณะกรรมการแห่งชาติว่า ่ ด้ วยการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ (2553) พบว่าความรู้ เกี่ยวกับโรคเอดส์และการติดเชื ้อเอชไอวี นัน พบว่ากลุ่มชายที่ มีเพศสัมพันธ์ กับชายในจังหวัดขอนแก่นมีความรู้ เกี่ ยวกับโรคเอดส์เป็ นอย่างดี ้ กล่าวคือ กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กบชายสามารถตอบความรู้เกี่ยวกับเอดส์ได้ ถกต้ องตามเกณฑ์ของ ั ู คณะกรรมการแห่งชาติวาด้ วยการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ ส่วนใหญ่มีความรู้อยูในระดับสูงเครื อ ่ ่ ทิพย์ ทังนี ้ยังสอดคล้ องกับผลการศึกษาของจันทรธานีวฒน์ และ ภัทรษราณี ชนะแก้ ว (2554) ที่ศกษา ้ ั ึ ลูกเรื อประมงตื่นตัวมีการรั บรู้ข้อมูลข่าวสารเอดส์มากขึ ้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยอมรับการใช้ ถุงยาง อนามั ย มากขึ น รู้ ช่ อ งทางการรั บ บริ ก ารเมื่ อ ต้ อ งการค าปรึ ก ษาหรื อ เจ็ บ ป่ วย เกิ ด เครื อ ข่ า ยการ ้ ดาเนินงานในชุมชนอย่างยั่งยืน องค์การสะพานปลาให้ การสนับสนุนงบประมาณดาเนินการอย่าง ต่อเนื่องนาอาสาสมัครขยายผลการให้ ความรู้ แจกถุงยางอนามัยให้ กบลูกเรื อประมง และชุมชนอย่าง ั ต่อเนื่อง การพัฒ นารู ปแบบการจัดบริ การเชิงรุ กโดยการจัดตังศูนย์สุขภาพบ้ านลูกเรื อเพื่อให้ ความรู้ ้ ข่าวสารและบริ การคาปรึกษาปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ บริการถุงยางอนามัย และ อื่นๆ ที่จาเป็ นต่อคุณภาพชีวิตลูกเรื อประมง รวมทังการรวมกลุ่มทากิจกรรมนันทนาการและกิจกรรม ้ ระหว่างลูกเรื อประมงและชุมชน
  • 10. ข้ อเสนอแนะในการทาวิจัย 1. ในการท าวิจัยครัง ต่อไปควรกาหนดกลุ่ม ของประชากรให้ มี ค วามครอบคลุม กว่านี ้ เพื่ อ ้ ผลการวิจยที่สารมารถเห็นผลได้ อย่างชัดเจน ั 2. การสุ่มเก็บตัวอย่างในการวิจยครังนี ้อาจยังมีข้อกาหนดในส่วนของระยะเวลา ทังนี ้ในการ ั ้ ้ วิจยครังต่อไปอาจขยายช่วงเวลาในการเก็บข้ อมูลในกว้ างกว่าเดิม ั ้ 3. การวิจยครังนี ้มีเครื่ องมือทางสถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์อาจยังไม่ครอบคลุมมากนัก ทังนี ้การ ั ้ ้ วิจยในครังต่อไปควรนาหลักทางสถิตเิ ข้ ามาพิจารณาให้ มากกว่านี ้ ั ้