SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 166
Descargar para leer sin conexión
รายงานฉบับสมบูรณ์

            โครงการศึกษาวิจย ั
แนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของประเทศไทย
          (Thailand Medical Hub)




              รศ.ดร.อัญชนา ณ ระนอง
                ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง
              รศ.นพ.ศิรชัย จินดารักษ์
       สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

                      เสนอ
        สภาทีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
             ่
             ฉบับปรับปรุง มีนาคม 2552
รายงานฉบับสมบูรณ์

             โครงการศึกษาวิจย ั
แนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของประเทศไทย
           (Thailand Medical Hub)


                      เสนอ
      สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

                  หัวหน้ าโครงการ
              รศ.ดร.อัญชนา ณ ระนอง
  คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)


                       ทีมวิจย
                             ั
                ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง
  ผูอานวยการวิจยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร
   ้ ํ         ั
         สถาบันวิจยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
                  ั
                        และ
               รศ.นพ.ศิรชัย จินดารักษ์
         คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                    สิงหาคม 2551
              แก้ไขปรับปรุง มีนาคม 2552

                           i
ii
คํานํารายงานฉบับแก้ไข

          คณะผูวจยได้นําเสนอและส่งมอบรายงานฉบับสมบูรณ์ต่อสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ
                  ้ิ ั
สังคมแห่งชาติในเดือนสิงหาคม 2551 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีความเปลียนแปลงทีสาคัญ
                                                                           ่          ่ ํ
เกิด ขึ้น หลายประการหลัง จากนัน ที่อ าจมีผ ลกระทบต่ อ การดํา เนิ น การด้า นนี้ (เช่น การปิ ด
                                  ้
สนามบินหลายแห่งของไทยรวมทังสนามบินนานาชาติ และการลุกลามของวิกฤตเศรษฐกิจไป
                                    ้
ทัวโลก) คณะผู้วจยจึงได้ปรับปรุงรายงานนี้ ให้ทนต่อเหตุ การณ์ มากขึ้น รวมทังได้นําข้อมูล
   ่                    ิ ั                    ั                                ้
บางส่วนทีหามาได้เพิมในระหว่างเดือนกันยายน 2551 ถึงเดือนมีนาคม 2552 มาประกอบการ
            ่               ่
วิเคราะห์ดวย ทังนี้ คณะผูวจยหวังว่าการปรับปรุงรายงานให้ทนต่อเหตุการณ์มากขึนจะเป็ น
              ้      ้        ้ิั                            ั                      ้
                       ่ ่ ่
ประโยชน์กบทุกฝายทีเกียวข้อง
                ั


                                                        คณะผูวจย
                                                             ้ิั
                                                        มีนาคม 2552




รายละเอียดสําหรับติดต่อคณะผูวิจย
                           ้ ั
รศ.ดร.อัญชนา ณ ระนอง (หัวหน้ าโครงการ)
คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
โทรศัพท์ : 081-259-8659 โทรสาร: 02-722-7461
E-mail: anchana@nida.ac.th
ดร.วิ โรจน์ ณ ระนอง
ผูอานวยการวิจยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร
  ้ํ            ั
สถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
           ั ่
โทรศัพท์ : 081-382-7846 โทรสาร: 02-722-7461
E-mail: viroj@tdri.or.th
รศ.นพ.ศิ รชัย จิ นดารักษ์
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โทรศัพท์ : 02-256-4117, 02-256-4120
E-mail: dr.sirachai@gmail.com




                                             iii
iv
กิตติกรรมประกาศ

         งานวิจยนี้ได้รบการสนับสนุ นทางการเงินจากสภาทีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                     ั   ั                                 ่
โดยความริเริมของคณะทํางานเศรษฐกิจภาคบริการ ซึ่งคุณภรณี ลีนุตพงษ์ ประธานคณะทํางาน
               ่
คุณชัชวาล ศรีวชิราวัฒน์ และ คุณราชันย์ วีระพันธุ์ รองประธานคณะทํางาน คุณชวลิต อาคม
ธน คุณทวี เตชะธีราวัฒน์ คุณเธียรชัย มหาศิริ คุณนิมตร สัมพันธารักษ์ คุณพนัส ไทยล้วน
                                                       ิ
คุณวันชัย วัฒนธาดากุล คุณสงวน ลิวมโนมนต์ คุณอนุ วฒน์ ธุมชัย คุณโอกาส เตพละกุล
                                       ่                 ั
คุณเกษม จันทร์น้อย คุณใยอนงค์ ทิมสุวรรณ คุณสมหมาย ปาริจฉัตต์ คุณสุวทย์ ธนียวัน       ิ
และคุณธิดา จันทร์เพ็ญ คณะทํางาน และ นพ.เจตน์ ศิรธรานนท์ คุณวิจตร ณ ระนอง คุณพนิดา
                                                                         ิ
ตังกิจจารักษ์ และคุณสงขลา วิชยขัทคะ คณะที่ปรึกษา ได้ให้ความสนใจ ความสนับสนุ น และ
    ้                            ั
คําแนะนํ ามาโดยตลอด โดยเฉพาะ นพ.เจตน์ ศิรธรานนท์ ทีรเริมโครงการนี้มาตังแต่แรกและ
                                                               ่ิ ่                    ้
หลังจากทีทานได้ลาออกจากการเป็ นทีปรึกษาคณะทํางานไปเป็ นวุฒสมาชิกแล้ว ก็ยงคงติดตาม
           ่ ่                       ่                               ิ                   ั
ความคืบหน้าของโครงการอย่างสมํ่าเสมอ คุณจุฑามาศ กุลรัตน์ และคุณจันทนา วุฒกาญจนกุล           ิ
  ่
ฝายเลขานุ การคณะทํางาน ได้ชวยเหลือในด้านการติดต่อประสานงานตลอดช่วงโครงการ
                               ่
         งานวิจยนี้จะไม่สามารถสําเร็จลุล่วงไปได้เลย ถ้าหากคณะผูวจยไม่ได้รบความช่วยเหลือ
                   ั                                                ้ิ ั         ั
และความร่วมมือ ทังในด้านข้อมูล ความเห็น และคําปรึกษาจากผู้ท่ีเกี่ยวข้องจํานวนมาก ซึ่ง
                       ้
คณะผูวจยคงไม่สามารถระบุรายชื่อทีครบถ้วน (อีกทังหลายท่านได้กรุณาให้ขอมูลและความคิดเห็น
       ้ิั                         ่                ้                         ้
โดยไม่ประสงค์ออกนามด้วย) โดยเฉพาะอย่างยิงจากผู้บริหารและเจ้าหน้ าที่โรงพยาบาลต่างๆ
                                                ่
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ และบริษทตัวแทนต่างๆ ซึงคณะผูวจยขอขอบคุณทุกท่าน
                                              ั                   ่          ้ิั
เป็ นอย่างสูง
         สุดท้าย คณะผูวจยขอขอบคุณ ศ.อัมมาร สยามวาลา ทีกรุณาให้คาปรึกษาทีเป็ นประโยชน์
                           ้ิั                               ่             ํ       ่
ต่อโครงการวิจยเป็ นอย่างมาก คุณนนทลี วุฒมานพ จากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน
                 ั                                ิ
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) และคุณพรรณลดา ไตรพิทยากุล จากสถาบันวิจยเพือการ                 ั ่
พัฒนาประเทศไทย (TDRI) มีสวนช่วยในการรวบรวมข้อมูลในช่วงแรกและช่วงท้ายของ
                                         ่
โครงการ




                                               v
vi
บทคัดย่อ
         ประเทศไทยเป็ นประเทศเปิ ดและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มช่อเสียงและเป็ นที่นิยมของ
                                                             ี ื
ชาวต่างชาติมาเป็ นเวลาค่อนศตวรรษแล้ว โรงพยาบาลเอกชนหลายแห่งของไทยได้พฒนาขึน      ั       ้
มาและได้ให้บริการคนไข้ชาวต่างชาติท่มาทํางานและท่องเที่ยวในภูมภาคนี้เพิมขึนเป็ นลําดับ
                                          ี                          ิ   ่ ้
แต่จุดเปลียนสําคัญทีก่อให้เกิดการขยายตัวของบริการทางการแพทย์สาหรับชาวต่างชาติ (หรือ
           ่               ่                                       ํ
medical tourist ซึงหมายถึงชาวต่างชาติทมจุดประสงค์หลักในการเดินทางเข้ามาเพื่อรับบริการ
                    ่                         ่ี ี
ด้านรักษาพยาบาล) ไม่ได้เป็ นแผนที่โรงพยาบาลเหล่านี้มมาตังแต่ต้น หากเกิดจากปญหาที่
                                                        ี ้                        ั
โรงพยาบาลเหล่านี้ประสบอันสืบเนื่องมาจากวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 ซึ่งทําให้โรงพยาบาล
เอกชนทีมการลงทุนอย่างมากในช่วงฟองสบู่มภาวะเตียงว่างจํานวนมาก โรงพยาบาลเอกชน
         ่ ี                                       ี
ชันนํ าของไทยจึงพยายามปรับ ตัวโดยการหาลูกค้าจากประเทศที่มกําลังซื้อสูงจากแทบทุก
  ้                                                              ี
ภูมภาคของโลก (เช่น อเมริกา ยุโรป ตะวันออกกลาง และญีปุ่น) เข้ามาทดแทน รัฐบาลเองก็มี
    ิ                                                    ่
นโยบายทีจะผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางของการบริการทางด้านสุขภาพของเอเชีย ซึง
             ่                                                                             ่
ถือได้วาประสบความสําเร็จเป็ นอย่างสูง โดยในปี พ.ศ. 2550 มีคนไข้ชาวต่างชาติทรบการรักษา
       ่                                                                    ่ี ั
ในประเทศไทย (รวมนักท่องเทียวและชาวต่างชาติทมาทํางานหรือตังถินฐานในภูมภาคนี้) มาก
                                   ่                 ่ี        ้ ่            ิ
ถึง 1.4 ล้านคน
         งานวิ จ ัย นี้ ศึ ก ษาพัฒ นาการและการขยายตัว ของบริก ารทางการแพทย์ สํ า หรับ
ชาวต่างชาติ (รวมทังนโยบายของรัฐทีจะผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางของการบริการ
                         ้              ่
ทางด้านสุขภาพ หรือทีนิยมเรียกกันในประเทศไทยว่า medical hub) และผลกระทบทีมต่อ
                              ่                                                      ่ ี
เศรษฐกิจ บุ ค ลากรทางการแพทย์ และอัต ราค่า รัก ษาพยาบาลสํา หรับ คนไข้ช าวไทย โดย
รวบรวมข้อมูลทังจากสถานพยาบาล บริษททัวร์หรือตัวแทนทีนําคนไข้มาจากต่างประเทศ และ
                  ้                         ั              ่
จากหน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้อง ่ ่
        ผลการศึกษาพบว่า ในระยะหลัง มีสถานพยาบาลเอกชนของไทยจํานวนมากได้ปรับตัว
เพือให้บริการและเจาะตลาดคนไข้ชาวต่างชาติมากขึน โดยมีจุดเน้นทีต่างกัน (ซึงส่วนหนึ่ง
    ่                                        ้                    ่            ่
ขึนกับความถนัดของสถานพยาบาลทีมมาแต่เดิม) เช่น มีทงสถานพยาบาลกลุ่มทีเน้นการรักษา
  ้                              ่ ี                  ั้                 ่
ด้วยเทคโนโลยีมาตรฐานระดับโลก กลุ่มทีเน้นการรักษาทีเป็ นความเชียวชาญเฉพาะทางของ
                                       ่                 ่          ่
สถานพยาบาล (เช่น ในด้านศัลยกรรมตกแต่ง) กลุมทีเน้นการรักษาด้วยเทคโนโลยีในระดับสูง
                                               ่ ่
แต่ยงอยูในขันทดลอง (เช่น การรักษาด้วย Stem Cell) กลุ่มทีเน้นการรักษาด้านทีสามารถรอได้
      ั ่ ้                                                  ่             ่
พอสมควร (โดยเฉพาะอย่างยิงทันตกรรม) และกลุ่มทีเน้นการให้บริการตรวจสุขภาพ หลาย
                           ่                       ่
โรงพยาบาลได้ผานการรับรองมาตรฐาน JCIA (ซึ่งเป็ นมาตรฐานสําหรับโรงพยาบาลนานาชาติ)
               ่
และได้ใช้วธการทําตลาดในต่างประเทศทีหลากหลาย ไม่วาจะเป็ นวิธใช้ตวแทนทังในประเทศ
           ิี                        ่                     ่     ี ั         ้
และในต่างประเทศ หรือการทําตลาดด้วยตนเองล้วนๆ



                                            vii
การขยายตัวของการให้บริการทางการแพทย์กบชาวต่างชาติมผลกระทบทังในด้านบวก
                                                                          ั               ี           ้
และด้านลบ โดยในด้านเศรษฐกิจนัน บริการนี้ชวยสร้างมูลค่าเพิมประมาณร้อยละ 0.4 ของ
                                              ้                    ่               ่
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) แต่การทีคนไข้ชาวต่างชาติมจานวนเพิมขึนมากก็ทาให้
                                                                 ่                       ีํ         ่ ้   ํ
  ั
ปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ (โดยเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ และพยาบาล) มี
ความรุนแรงมากขึน            ้        การทีชาวต่างชาติเข้ามาพร้อมกับกําลังซือทีสงกว่าคนไทยมากมีสวน
                                            ่                                        ้ ู่                   ่
สําคัญในการดึงดูดแพทย์ (โดยเฉพาะอย่างยิงแพทย์ผเชียวชาญ) จากทังภาคเอกชนและภาครัฐ
                                                             ่          ู้ ่                ้
รวมทังอาจารย์แพทย์และทีมงานจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยต่างๆ ไปสูโรงพยาบาลเอกชน
        ้                                                                                     ่
กลุ่มทีเน้นการรักษาคนไข้ต่างชาติมากขึน ซึงอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการผลิตแพทย์
          ่                                      ้             ่
ในระยะยาว                      ั
                              ปญหาการขาดแคลนบุคลากรมีสวนทีทาให้คารักษาพยาบาลในโรงพยาบาล
                                                                     ่ ่ ํ ่
เอกชนเพิมในอัตราทีสงขึนในระยะหลัง และมีแนวโน้มทีจะทําให้ทงสถานพยาบาลและโครงการ
             ่                ู่ ้                                           ่ ั้
ด้านหลักประกันสุขภาพต่างๆ ของรัฐ (ไม่วาจะเป็ นโครงการบัตรทอง สวัสดิการข้าราชการ หรือ
                                                         ่
โครงการประกันสังคม)                    มีตนทุนเพิมขึนในการรักษาบุคลากรไม่ให้ถูกดึงออกไปมากจนเกิด
                                          ้        ่ ้
ผลกระทบทีรนแรงต่อคุณภาพบริการของโครงการเหล่านี้
                  ุ่
            เพื่อทีจะรักษาสมดุลของผลกระทบในด้านบวกและลบ คณะผูวจยได้จดทําข้อเสนอแนะ
                     ่                                                                   ้ิั      ั
หลายประการ โดยนอกจากเสนอให้ผลิตบุคลากรทางการแพทย์เพิม (รวมทังผลิตพยาบาลให้             ่        ้
เต็มศักยภาพ) แล้ว ยังได้เสนอให้ปรับปรุงกฎระเบียบของแพทยสภาให้เอื้อกับการนํ าแพทย์
ชาวต่างชาติทมคุณภาพเข้ามาเพื่อบรรเทาผลกระทบในด้านการขาดแคลนบุคลากรซึ่งมีความ
                       ่ี ี
รุนแรงมากขึ้นจากการที่มคนไข้ต่างชาติเดินทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลในประเทศไทย
                                   ี
เพิมขึน และในกรณีท่จํานวนคนไข้ต่างชาติกลุ่มนี้ยงมีแนวโน้มเพิมขึน เสนอให้พจารณาเก็บ
    ่ ้                          ี                                    ั               ่ ้               ิ
ค่าธรรมเนียมพิเศษจากคนไข้ต่างชาติทมจุดประสงค์หลักในการเดินทางมาประเทศไทยเพื่อรับ
                                                    ่ี ี
บริการด้านรักษาพยาบาล แล้วนํ ารายได้สวนนี้มาอุดหนุ นการผลิตบุคลากรทางการแพทย์เพิม
                                                           ่                                                  ่
และช่วยเพิมแรงจูงใจในการรักษาและเพิมจํานวนอาจารย์แพทย์ผูเชียวชาญแพทย์ในโรงเรียน
                ่                                      ่                          ้ ่
แพทย์




                                                      viii
Abstract
    A Development Guideline for Thailand’s Medical Hub
                              1                       2                               3
    Anchana NaRanong, Viroj NaRanong, and Sirachai Jindarak

         Thailand has been an open country and a well-known tourist place for at least
a half century. It was not until this decade that medical tourism in Thailand has been
surging. Since the 1997 Asian economic crisis, bed occupancy in most private
hospitals has significantly declined, prompted high-end private hospitals—which
invested substantially during the economic bubble to seek out medical tourists from
abroad, mainly from North America, the European Union, the Middle East and East
Asian countries. Since then, every Thai government regime has announced various
policy measures to promote medical tourism in order to generate revenue for the
country. In 2007, 1.4 million foreign patients (including general tourists and
foreigners who work or live in Thailand) received medical treatment in Thailand,
making her a leading destination for medical tourists from almost all continents.
         This study focuses on the development of Thai medical tourism and its
impacts on the Thai economy, human resources, and medical costs for Thais. Data
have been collected from hospitals, tourist agencies, and the government.
         The study finds that more and more private hospitals have been transformed
into foreign-oriented facilities. This development appeared in many forms (partly
depending on hospitals’ specialization) such as treatments with high technology, new
treatments at experimental stages (such as treatment with stem cells), and dental care.
Several hospitals have sought accreditation and have been accredited by the Joint
Commission International (JCI), and various marketing plans have been launched to
attract international customers.
         Medical tourism has had both positive and negative impacts on Thailand. For
the Thai economy, it generates the value added that is equivalent to 0.4% of GDP.
However, the surge of medical tourists in Thailand has exacerbated the shortage of
medical personnel (especially of physicians, dentists, and nurses). The higher
purchasing power of foreigners has drawn more medical personnel, especially
specialists, from both the private and public sector (including professors in medical
schools) to foreigner-oriented hospitals, and this brain-drain will potentially affect the
availability and quality of medical training in the future. This personnel shortage has
raised medical costs in the private hospitals substantially and is likely to drive up the
costs of the public hospitals and the publicly-provided Universal Coverage Health
Insurance (including the Social Security Scheme and the Civil Servant Medical
Benefit Scheme)—which covers most of the Thai population. To strike a balance
under this dilemma, this study proposes several recommendations, including lifting
the regulation that has prevented importing qualified foreign physicians and imposing
specific taxes/fees on medical tourists whose purpose of visit is solely for medical
treatment and use such revenue to expand physician training and retain personnel in
public medical schools.




1
  School of Public Administration, National Institute of Development Administration (NIDA)
2
  Thailand Development Research Institute (TDRI)
3
  Faculty of Medicines, Chulalongkorn University

                                            ix
x
สารบัญ
                                                                                                                                          หน้ า
คํานํารายงานฉบับแก้ไขปรับปรุง ..................................................................................................... iii
กิตติกรรมประกาศ ..........................................................................................................................v
บทคัดย่อ ................................................................................................................................... vii
Abstract ..................................................................................................................................... ix
สารบัญ ...................................................................................................................................... xi
สารบัญตาราง ............................................................................................................................... xiii
สารบัญกรอบ ................................................................................................................................. xv
สารบัญรูป ..................................................................................................................................... xv
1. บทนํา ...................................................................................................................................... 1
           1.1 วัตถุประสงค์ ........................................................................................................... 3
           1.2 ขอบเขตการศึกษา .................................................................................................. 4
           1.3 ระยะเวลาศึกษา ..................................................................................................... 4
           1.4 วิธการดําเนินงาน .................................................................................................. 4
                      ี
           1.5 วิธการศึกษาโดยละเอียด......................................................................................... 4
                        ี
           1.6 ผลทีคาดว่าจะได้รบ .............................................................................................. 12
                          ่                   ั
           1.7 เนื้อหาของรายงาน .............................................................................................. 12
2. ความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ม และการดําเนินการตามนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์
           (medical hub) ............................................................................................................. 15
           2.1 ประวัตความเป็ นมา .............................................................................................. 15
                            ิ
           2.2 สถานการณ์ แนวโน้ม และการดําเนินการตามนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์
                   (medical hub) ทีผานมาของไทย ......................................................................... 18
                                             ่ ่
3. การศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศอืนทีมการ                                              ่ ่ ี
           ดําเนินการด้าน medical tourism.................................................................................. 43
           3.1 ประเทศสิงคโปร์.................................................................................................... 43
           3.2 ประเทศอินเดีย ..................................................................................................... 47
           3.3 ประเทศมาเลเซีย .................................................................................................. 50
           3.4 การเปรียบเทียบ medical hub ในแต่ละประเทศ: มุมมองของฝายต่างๆ ................ 52                  ่
           3.5 บทเรียนจากต่างประเทศ ..................................................................................... 59
4. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจของประเทศ ......................................................................................... 67
            4.1 การประมาณการรายรับและมูลค่าเพิมทีเกิดจากการให้บริการคนไข้ต่างชาติ………...…70
                                                                     ่ ่
5. ผลกระทบต่อบุคลากร ............................................................................................................... 83
           5.1 ความต้องการแพทย์สาหรับคนไข้ตางชาติ (medical hub) .................................... 83
                                                   ํ                  ่
           5.2 ความต้องการบุคลากรสําหรับคนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ............ 88
6. ผลกระทบต่อราคาค่ารักษาพยาบาลและการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของคนไทย .................... 105
                                                                                       ่ ี

                                                                       xi
6.1 ผลกระทบในด้านราคาค่ารักษาพยาบาล ............................................................ 105
          6.2 ผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของคนไทย ......................................... 113
                                                        ่ ี
7. บทสรุป แนวทางการพัฒนา และข้อเสนอแนะ.......................................................................... 123
          7.1 บทสรุป ............................................................................................................. 123
                                                      ่
          7.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของฝายต่างๆ .............................................................. 127
          7.3 แนวทางการพัฒนา ............................................................................................ 131
          7.4 ข้อเสนอของคณะผูวจย ...................................................................................... 140
                                     ้ิั
          7.5 อุปสรรคในการศึกษา ข้อจํากัด และข้อเสนอแนะเพิมเติม ..................................... 147
                                                                                    ่




                                                                 xii
สารบัญตาราง
                                                                                                                                         หน้ า
ตารางที่ 2.1 ประมาณการเป้าหมายรายได้ของแต่ละผลผลิต....................................................... 17
ตารางที่ 2.2 งบประมาณแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางสุขภาพเอเชีย
           จําแนกตามยุทธวิธแผนงาน .......................................................................................... 18
                                        ี
ตารางที่ 2.3 จํานวนชาวต่างชาติทมารับบริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนไทย
                                                   ่ี
           ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2550 .......................................................................................... 19
ตารางที่ 2.4 จํานวนชาวต่างประเทศทีรบบริการในโรงพยาบาลเอกชนไทย 55 แห่งในปี 2550 .... 20
                                                            ่ั
ตารางที่ 2.5 สัดส่วนจํานวนและรายรับจากคนไข้ชาวต่างชาติของโรงพยาบาลปิยะเวท ปี 2546-
           2550 ........................................................................................................................... 25
ตารางที่ 2.6 ตัวอย่างบริษทตัวแทนทีมบริการนําคนไข้เข้ามารับบริการด้านสุขภาพในประเทศไทย
                                     ั                  ่ ี
           .................................................................................................................................... 33
ตารางที่ 3.1 เป้าหมายจํานวนผูปวยทีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสิงคโปร์ .................................. 46
                                              ้ ่ ่
ตารางที่ 3.2 เปรียบเทียบ competitive advantage ระหว่างไทยกับคูแข่งอื่นในเอเชีย ................. 55  ่
ตารางที่ 3.3 เปรียบเทียบ medical tourism ของประเทศไทยและประเทศคูแข่งในภูมภาคนี้ โดย                            ่              ิ
           The Boston Consulting Group ................................................................................... 56
ตารางที่ 4.1 ประมาณการเป้าหมายรายได้จาก medical hub และข้อมูลจํานวนคนไข้ต่างชาติทมา                                                         ่ี
           รับการรักษาในประเทศไทย .......................................................................................... 67
ตารางที่ 4.2 ประมาณการรายได้จาก medical tourism และข้อมูลจํานวนคนไข้ต่างชาติ.............. 68
ตารางที่ 4.3 ประมาณการรายรับและมูลค่าเพิม (value added) จากคนไข้ต่างชาติและผูตดตาม.. 75
                                                                   ่                                                              ้ ิ
                                                                            ้ ่
ตารางที่ 5.1 ประมาณการความต้องการแพทย์โดยผูปวยต่างชาติ พ.ศ. 2546-2558 ..................... 84
ตารางที่ 5.2 จํานวนแพทย์ผได้รบใบอนุ ญาตฯ และจํานวนแพทย์ทถูกถอนชือจากทะเบียน
                                          ู้ ั                                                    ่ี             ่
           ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา .................................................................... 89
              ้
ตารางที่ 5.3 ข้อมูลจํานวนและการกระจายของแพทย์ รวบรวมโดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์
           กระทรวงสาธารณสุข .................................................................................................... 92
ตารางที่ 5.4 จํานวนแพทย์ในโรงพยาบาลในสังกัดสํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ...................... 93
                                                                             ้ ่
ตารางที่ 5.5 ประมาณการความต้องการแพทย์โดยผูปวยชาวไทย พ.ศ. 2546-2558 .................... 94
ตารางที่ 5.6 ประมาณการความต้องการแพทย์รวม พ.ศ. 2550-2558.......................................... 95
ตารางที่ 5.7 จํานวนและการกระจายของทันตแพทย์ รวบรวมโดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์
           กระทรวงสาธารณสุข .................................................................................................... 98
ตารางที่ 5.8 จํานวนทันตแพทย์ทขนทะเบียนเป็ นผูประกอบวิชาชีพทันตกรรม ตังแต่ปี 2537-2550
                                                 ่ี ้ ึ                   ้                                            ้
           .................................................................................................................................... 99
ตารางที่ 5.9 ข้อมูลจํานวนและการกระจายของพยาบาล รวบรวมโดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์
           กระทรวงสาธารณสุข .................................................................................................. 102
ตารางที่ 5.10 จํานวนผูสมัครสอบและขึนทะเบียนเป็ นผูประกอบวิชาชีพพยาบาล 2541-2550...... 103
                               ้                          ้                     ้


                                                                       xiii
ตารางที่ 6.1 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริงของคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล
                          ่       ่                              ่ ้                                              ่
                                              ั ั
           ก. ตังแต่ปี 2548 จนถึงปจจุบน ................................................................................... 107
                  ้
ตารางที่ 6.2 ค่าบริการเหมาจ่ายแบบเป็ นแพคเกจสําหรับคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล ก. ปี 2550-                   ่
           2551 ......................................................................................................................... 108
ตารางที่ 6.3 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริงของคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล
                            ่       ่                             ่ ้                                           ่
                                             ั ั
           ข. ตังแต่ปี 2546 จนถึงปจจุบน ................................................................................... 109
                ้
ตารางที่ 6.4 ค่าบริการเหมาจ่ายแบบเป็ นแพคเกจสําหรับคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล                                 ่
           ข. เมือต้นปี 2551....................................................................................................... 109
                      ่
ตารางที่ 6.5 ค่าบริการเหมาจ่ายแบบเป็ นแพคเกจสําหรับคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล                                   ่
           ค. เมือต้นปี 2551 ...................................................................................................... 110
                        ่
ตารางที่ 6.6 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริงทีโรงพยาบาล
                              ่       ่                            ่ ้              ่
                                          ั ั
           ง. ตังแต่ปี 2548 ถึงปจจุบน....................................................................................... 111
                    ้
ตารางที่ 6.7 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริง ทีโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต
                                ่       ่                           ่ ้               ่
           ปี 2549-2550 ............................................................................................................ 112




                                                                    xiv
สารบัญกรอบ
                                                                                                                                           หน้ า
กรอบที่ 2.1 กระบวนการดําเนินการของโรงพยาบาลทีทาตลาดเอง: กรณีศกษาโรงพยาบาล่ ํ                           ึ
           เจ้าพระยา .................................................................................................................... 26
กรอบที่ 2.2 กระบวนการตลาดของโรงพยาบาลทีผานตัวแทน (agent) เป็ นหลัก: กรณีศกษา
                                                                 ่ ่                                                       ึ
           โรงพยาบาลยันฮี .......................................................................................................... 30
กรอบที่ 6.1 “The Heart by Siriraj”: โรงพยาบาลเอกชนในโรงพยาบาลรัฐ? ................................ 117
กรอบที่ 7.1 ตัวอย่าง medical hub ของไทย: กรณีศกษาโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต .................... 146
                                                                     ึ




                                                             สารบัญรูป
                                                                                                                                            หน้ า
                                     ้ ่
รูปที่ 2.1 จํานวนและประมาณการจํานวนผูปวยชาวต่างประเทศทีมารักษาในประเทศต่างๆ โดย
                                                       ่
             รัฐบาลสิงคโปร์........................................................................................................... 23
                          ้ ่
รูปที่ 3.1 จํานวนผูปวยชาวต่างชาติทมารักษาทีสงคโปร์ในช่วงก่อนและหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540
                                                      ่ี             ่ ิ
          .......................................................................................................................................61
รูปที่ 4.1 ประมาณการรายรับจากการให้บริการคนไข้ต่างชาติ ภายใต้ Scenario ต่างๆ..................77
รูปที่ 4.2 ประมาณการมูลค่าเพิ่มจากการให้บริ การคนไข้ต่างชาติ ภายใต้ Scenario ต่างๆ……………………80


รูปที่ 7.1 บัตรขาเข้าตรวจคนเข้าเมือง……………………………………………………………...………133




                                                                        xv
xvi
1.       บทนํา

           ในช่วงทีประเทศไทยอยู่ในภาวะฟองสบู่ (ก่อนทีจะจบลงด้วยภาวะวิกฤติเศรษฐกิจหลัง
                         ่                                  ่
                                                    ั
ฟองสบู่แตกในปี พ.ศ.2540) ประเทศไทยมีปญหาขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในอัตราทีสงติดต่อกัน    ่ ู
มานานหลายปี หลังจากฟองสบู่แตก รัฐบาลก็ได้พยายามผลักดันให้มการส่งออกเพิมขึน โดย
                                                                     ี                  ่ ้
นอกจากการส่งออกสินค้า (และแรงงาน) ไปต่างประเทศแล้ว กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวง
พาณิชย์ ยังหันมาสนใจการหารายได้เข้าประเทศจากบริการด้านสาธารณสุข ซึ่งที่ผ่านมาก็มี
ชื่อเสียงเป็ นทีรูจกกันดีในระดับภูมภาคอยู่แล้ว (เช่น ในประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในแถบ
                    ่้ั                 ิ
เอเชียใต้และตะวันออกกลาง) ให้ขยายบริการในรูปของ medical tourism ทีมการนําคนไข้จาก
                                                                           ่ ี
ประเทศที่มกําลังซื้อสูงมารับบริการทางการแพทย์และสุขภาพในประเทศไทย และดึงดูดผูท่ี
               ี                                                                              ้
เกษียณอายุมาตังถินฐานในประเทศไทย ในช่วงเดียวกันนัน โรงพยาบาลเอกชนจํานวนมาก ซึง
                        ้ ่                                     ้                                 ่
                                                                  ั
มีก ารลงทุ น อย่ า งขนานใหญ่ ใ นช่ ว งฟองสบู่ ก็ ป ระสบป ญ หาภาวะเตี ย งว่ า งจํ า นวนมาก
โรงพยาบาลเอกชนทีถอได้ว่าเป็ นกลุ่ม high-end บางกลุ่ม จึงพยายามปรับตัวโดยการหาลูกค้า
                            ่ ื
                   ่ ีํ ้              ่ ุ่
จากประเทศทีมกาลังซือสูง (เช่น ญีปน ยุโรป และตะวันออกกลาง) เข้ามาด้วย ซึงก็นบว่าประสบ
                                                                               ่ ั
ความสําเร็จพอสมควร โดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ สองแห่ง (รวมทังเครือข่ายของ   ้
โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง)
           ในช่ ว งรัฐ บาลต่ อ มา (รัฐ บาลที่นํ า โดยพรรคไทยรัก ไทย) แม้ว่ า ภาวะวิก ฤติ ข อง
โรงพยาบาลเอกชนโดยรวมจะบรรเทาลง และในปี พ.ศ.2544 รัฐบาลได้ขยายหลักประกัน
สุขภาพให้ครอบคลุมคนไทยทังประเทศ ผ่านโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค” (ซึงมีผลทําให้มี
                                 ้                                                ่
การใช้บริการด้านการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ) แล้ว รัฐบาล (โดยทังกระทรวง      ้
พาณิชย์และกระทรวงสาธารณสุข) ก็มนโยบายทีจะผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางของการ
                                            ี           ่
บริการด้านการแพทย์ (medical hub) การบริการด้านสุขภาพ และผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่
ชาวต่างชาติ เพื่อดึงดูดให้คนจากทัวโลกเข้ามาใช้บริการในประเทศไทยซึงเป็ นทางหนึ่งทีจะนํ า
                                          ่                            ่                    ่
รายได้เข้าประเทศ โดยมีการกําหนดเป็ นวิสยทัศน์ ของประเทศเอาไว้ว่าประเทศไทยจะเป็ น
                                                      ั
ศูนย์กลางสุขภาพของเอเชีย (Thailand: Centre of Excellent Health Care of Asia) ภายใน
ระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2551) (กระทรวงสาธารณสุข 2546)
           ในการทีประเทศไทยจะพัฒนาขึนไปเป็ น medical hub เพื่อรองรับลูกค้าจากประเทศทีมี
                      ่                           ้                                             ่
กําลังซือสูง ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นประเทศพัฒนาแล้วนัน นอกเหนือจากจะต้องมีค่ารักษาพยาบาล
         ้       ่                                        ้
ที่ต่ํา กว่า ประเทศต้นทางอย่า งมีนัย สํา คัญ และมีศ ักยภาพที่จะรองรับ คนไข้จ ากต่ า งประเทศ
จํานวนมากแล้ว ยังมีกุญแจสําคัญที่ต้องพิจารณาอย่างน้ อยสองประการคือ (ก) มีการพัฒนา
มาตรฐานในด้านการรักษาพยาบาลทีทดเทียม (หรือใกล้เคียง) กับประเทศทีพฒนาแล้ว และ (ข)
                                              ่ ั                        ่ ั
มีระบบการคุ้มครองผูบริโภคที่มความน่ าเชื่อถือ (โดยทัวไปแล้ว ประเทศที่มมาตรฐานในการ
                              ้     ี                         ่              ี




                                                1
รักษาพยาบาลทีดมกจะมีระบบการคุมครองสิทธิของผูปวยทีดควบคู่กนไปด้วย)4 ซึงในทังสอง
                 ่ ี ั                           ้                      ้ ่ ่ ี        ั        ่   ้
ส่วนนี้ต้องอาศัยการพัฒนาทังในส่วนของโรงพยาบาลเองและในหน่ วยงานของรัฐที่ทําหน้ าที่
                                       ้
                                                         ั
กํากับดูแลสถานพยาบาลเหล่านี้ และเป็ นปจจัยสําคัญทีไม่สามารถทดแทนได้โดยการโฆษณา
                                                                           ่
ประชาสัมพันธ์ให้ชาวต่างชาติเข้ามาใช้บริการการรักษาพยาบาลของไทย
         แต่นอกจากนโยบายพัฒนาศูนย์กลางการแพทย์ (medical hub) ของประเทศไทยจะต้อง
             ั
คํานึงถึงปจจัยที่มผลต่อการเติบโตและความสามารถในการแข่งขันของตัวสถานพยาบาลเองแล้ว
                     ี
ยังมีความจําเป็ นต้องคํานึ งถึงผลกระทบทังในทางบวกและทางลบต่ อระบบสาธารณสุขของ
                                                       ้
ประเทศไทยเองด้วย ในทางบวกนัน การปรับตัวของสถานพยาบาลของไทยและหน่ วยงานที่
                                             ้
กํากับดูแลเพื่อรองรับนโยบายนี้ย่อมมีโอกาสทําให้สถานพยาบาลจํานวนหนึ่งพัฒนามาตรฐาน
ไปสูระดับสากลได้มากขึน รวมทังมีขดความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
     ่                     ้               ้ ี
ทางการแพทย์สมัยใหม่ได้ดขน แต่นโยบายนี้ก็มโอกาสที่จะสร้างผลกระทบในทางลบเช่นกัน
                                    ี ้ึ                         ี
โดยเฉพาะอย่างยิงในบริบทใหญ่ของประเทศ ซึงการเกิดขึนและการขยายตัวของ medical hub
                   ่                                       ่                 ้
มีโอกาสทีจะส่งผลกระทบด้านลบต่อนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้ในหลายด้าน
           ่
เช่น ผลกระทบในด้านการใช้ทรัพยากรและบุคลากรด้านสุขภาพ ผลกระทบต่อราคาของบริการ
ด้านสุขภาพ5 และผลกระทบในด้านการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของคนไทย เป็ นต้น ่ ี
         ด้ว ยเหตุ ผ ลที่ก ล่ า วมาข้า งต้น จะเห็น ได้ว่ า มีโ อกาสมากที่น โยบายศู น ย์ก ลางทาง
การแพทย์ (medical hub) จะส่งผลทีขดแย้งกับนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
                                                   ่ ั
(อย่างน้ อยในบางด้าน) ซึ่งย่อมทําให้การผลักดันสองนโยบายนี้แยกจากกันโดยไม่ได้พจารณา                ิ
ปฏิสมพันธ์ (interaction) ทีสองนโยบายมีต่อกันนัน จะไม่ได้ผลเท่ากับทีสามารถคาดหวังได้จาก
       ั                          ่                            ้                         ่
การเลือกผลักดันเพียงนโยบายใดนโยบายหนึ่ง (แน่นอนว่า สองนโยบายนี้อาจมีสวนทีหนุ นช่วย            ่ ่
ซึ่งกันและกันหรือ synergistic ในบางด้าน เช่น ในด้านความก้าวหน้ าทางวิชาการและการ
พัฒนามาตรฐานต่างๆ รวมทังอาจพัฒนาเป็ นศูนย์รบส่งต่อผูปวยหรือฝึ กอบรมนักศึกษาแพทย์)
                                     ้                             ั             ้ ่
แต่ในการกําหนดนโยบายสุขภาพของประเทศในภาพรวมนัน มีความจําเป็ นทีรฐจะต้องพิจารณา ้           ่ั
(หรือประเมิน) นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ในบริบทของการมีหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้า ซึงถือได้วาเป็ นนโยบายหลักด้านสุขภาพของประเทศ ไม่ใช่แยกพิจารณาและ
                       ่        ่
ผลักดันสองนโยบายทีอาจขัดแย้งกันโดยไม่สนใจผลกระทบที่นโยบายหนึ่งจะมีต่ออีกนโยบาย
                         ่
หนึ่ง (อุปมาได้เหมือนกับการขับรถโดยเหยียบทังคันเร่งและเบรคพร้อมๆ กัน) และในกรณีทจะ
                                                             ้                                        ่ี
ดําเนินสองนโยบายนี้ควบคู่กนไปนัน (หรือแม้กระทังในกรณีท่จะสนับสนุ นนโยบายเดียว แต่
                                         ั     ้                     ่               ี

4
  โดยเฉพาะอย่างยิง เมื่อคํานึงว่าผูป่วยทีรบการรักษาในต่างประเทศจะมีความเสียงบางด้านมากกว่าการรักษาใน
                  ่                ้    ่ั                                ่
ประเทศตนเอง เช่น อาจมีขอจํากัดมากกว่า (หรือบางครังก็เป็ นไปไม่ได้) ในการฟ้องร้องในกรณีท่เกิดความ
                             ้                          ้                                   ี
เสียหายที่เกิดจากการรักษาพยาบาล หรือในด้านการรักษาต่อเนื่อง (follow up) เมื่อผูป่วยเดินทางกลับไปสู่
                                                                                  ้
ประเทศตัวเองแล้ว และการมีระบบการคุ้มครองผู้ป่วยที่ดคงจะมีส่วนในการผลักดันให้สถานพยาบาลต้อง
                                                          ี
ปรับปรุงคุณภาพของตนตามไปด้วย (ดูการวิเคราะห์ประเด็นนี้ได้ใน วิโรจน์ ณ ระนอง 2541)
5
  ซึงอาจส่งผลไปถึงงบค่าใช้จายของภาครัฐด้วย
    ่                          ่

                                                   2
ยอมให้มการดําเนินการในอีกด้านหนึ่งด้วย) ก็ควรต้องมีการกําหนดเป้าหมายและมาตรการ
          ี
ควบคุมทีคํานึงถึงผลกระทบภายนอก (externality) เพื่อจํากัดผลกระทบด้านลบทีอาจเกิดขึนให้อยู่
            ่                                                                    ่       ้
ในระดับทียอมรับได้
              ่
        สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยคณะทํางานเศรษฐกิจภาคบริการ ได้
ตระหนักถึงข้อเท็จจริงและสภาพการณ์ ดงกล่าว ประกอบกับบทบาทของสภาที่ปรึกษาฯ มี
                                        ั
                                                        ั
หน้าที่ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในปญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและ
สังคม โดยเฉพาะประเด็น เกี่ย วกับ ชีวิต ความเป็ น อยู่ การประกอบอาชีพ ที่มีผ ลกระทบกับ
ประชาชนทังประเทศ จึงได้สนับสนุ นให้คณะผู้วิจยจัดทําโครงการศึกษาวิจย “แนวทางการ
                ้                                 ั                            ั
พัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของประเทศไทย (Thailand Medical Hub)” เพื่อศึกษาความสัมพันธ์
และผลกระทบของนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทยกับนโยบายด้านสุขภาพอื่นๆ ทีเกี่ยวข้อง         ่
(เช่น นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ฯลฯ) เพือนํามาเป็ นข้อมูลจัดทําแนวทางการปรับปรุง
                                                ่
นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ของไทยในบริบทที่มความสัมพันธ์และสมดุลย์กบนโยบาย
                                                      ี                            ั
หลัก ประกัน สุข ภาพถ้ว นหน้ า และนโยบายที่เ กี่ย วข้อ งอื่น ๆ เพื่อ ให้เ กิด ประโยชน์ สูงสุ ด กับ
ประเทศไทยต่อไป

1.1 วัตถุประสงค์
    1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ ม และผลการดําเนินการของนโยบายศูนย์กลางทาง
       การแพทย์ (medical hub) ของไทยตังแต่ปี พ.ศ.2546 เป็ นต้นมา
                                              ้
    2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการคนไข้ต่างชาติตามนโยบายศูนย์กลางด้านสุขภาพ
       ในประเทศไทยกับประเทศอื่นที่มการผลักดันนโยบายนี้ ในทวีปเอเชีย ทังในด้านสภาพ
                                        ี                                 ้
         ั
       ปญหา อุปสรรค และศักยภาพ เพื่อนํ ามากําหนดแนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของ
       ไทย
    3. เพื่อ ศึก ษาความสัม พัน ธ์ แ ละผลกระทบของนโยบายศู น ย์ ก ลางสุ ข ภาพของไทย
       (Thailand Medical Hub) กับนโยบายด้านสุขภาพอื่นๆ ทีเกียวข้อง ทังในด้านผลกระทบ
                                                           ่ ่       ้
       ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบต่ อบุคลากร และผลกระทบที่มีต่อราคาของ
       บริการด้านสุขภาพและการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของประชาชน
                                                   ่ ี
    4. เพื่อศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อให้ทราบถึง มุมมอง ทัศนะ และข้อเสนอในด้านแนวทางและ
                                            ั                  ่
       มาตรการปรับปรุง และ/หรือ แก้ไขปญหา จากมุมมองของฝายต่างๆ ตังแต่ผทมสวนใน
                                                                       ้     ู้ ่ี ี ่
       การกําหนดนโยบาย ไปจนถึงกลุ่มผูทมสวนได้สวนเสียต่างๆ
                                          ้ ่ี ี ่       ่
                       ้                               ่ ั       ่
    5. เพือสังเคราะห์ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เพือให้รฐบาลและฝายต่างๆ ทีเกียวข้องนําไป
           ่                                                             ่ ่
       ดําเนินการให้เกิดประโยชน์สงสุดต่อประเทศ
                                    ู




                                               3
1.2 ขอบเขตการศึกษา
        1) ศึกษาผลกระทบของนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทย (Thailand Medical Hub)
ทังในด้านผลกระทบต่ อเศรษฐกิจ ผลกระทบที่มต่อบุ คลากร และผลกระทบที่มต่อราคาของ
    ้                                             ี                        ี
บริการด้านสุขภาพและการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของประชาชน
                                         ่ ี
        2) ศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศ
  ่        ิ                                               ้           ั
คูแข่งในภูมภาคนี้ อันได้แก่ สิงคโปร์ อินเดีย และมาเลเซีย ทังในด้านสภาพปญหา อุปสรรค และ
ศักยภาพ
        3) นํ า เสนอข้อ เสนอแนะเชิง นโยบายในการพัฒ นาแนวทางการดํา เนิ น นโยบายที่
เหมาะสมสําหรับ การพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของไทย และมีความสมดุ ล กับนโยบายด้าน
สุขภาพทีเกียวข้อง โดยเฉพาะนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
         ่ ่

1.3 ระยะเวลาที่ศึกษา
       12 เดือน (กันยายน 2550 ถึง สิงหาคม 2551)

1.4 วิธีการดําเนินงาน
          1) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอมูลจากเอกสารรายงานและเอกสารการวิจย
                                                  ้                                      ั
ที่เกี่ยวกับสถานการณ์ แนวโน้ม และผลการดําเนินการของนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์
(medical hub) ของไทย
          2) ศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศ
เพือนบ้าน ทีเป็ นคูแข่งในภูมภาคนี้ อันได้แก่ สิงคโปร์ อินเดีย และมาเลเซีย
    ่        ่    ่         ิ
          3) สัมภาษณ์เชิงลึก และเก็บข้อมูลจากสถานพยาบาล และหน่วยงานทีมสวนเกียวข้อง
                                                                             ่ ี่ ่
กับการดําเนินงานตามนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทย และนโยบายทีเกียวข้องอื่นๆ่ ่
          4) จัดประชุมสัมมนาเสนอผลการศึกษา และระดมความคิดเห็นผูเกียวข้องและผูมสวน
                                                                         ้ ่        ้ ี่
ได้ส่วนเสีย เพื่อนํ าความคิดเห็น มุมมอง และข้อเสนอแนะของฝ่ายต่างๆ มาสังเคราะห์เป็ น
ข้อเสนอเชิงนโยบายสําหรับทางสภาทีปรึกษาฯ และรัฐบาลต่อไป
                                      ่

1.5 วิธีการศึกษาโดยละเอียด
        การศึกษานี้แบ่งออกเป็ น 7 ส่วนหลักๆ โดยในส่วนแรกเป็ นการศึกษาความเป็ นมา
สถานการณ์ แนวโน้ม และการดําเนินการตามนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub)
ส่วนทีสองศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทย กับประเทศอื่น
      ่
ทีมการดําเนินการด้าน medical tourism ส่วนที่ 3 ประมาณการผลกระทบของการมี medical
  ่ ี
hub ที่มต่อเศรษฐกิจของประเทศ ในด้านรายรับและมูลค่าเพิมที่เกิดจากการให้บริการทาง
          ี                                                 ่
การแพทย์ และในกิจกรรมที่ต่ อ เนื่ อง เช่น การท่องเที่ยว ส่ว นที่ 4-5 เป็ นการศึกษา


                                            4
ความสัมพันธ์และผลกระทบของนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทยกับนโยบายหลักประกัน
สุข ภาพถ้ว นหน้ า        ทังในด้า นผลกระทบที่มต่ อบุ ค ลากร และผลกระทบที่มีต่ อ ราคาค่า
                           ้                  ี
รัก ษาพยาบาลและการเข้าถึงบริการที่มคุณภาพของคนไทย และส่ว นที่ 7 เป็ นการนํ าผล
                                       ี
การศึกษาข้างต้นมาจัดเวทีแลกเปลี่ยนมุมมอง ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะฝ่ายต่างๆ และ
นํามาสังเคราะห์เป็ นข้อเสนอเชิงนโยบายสําหรับสภาทีปรึกษาฯ และรัฐบาล
                                                  ่

          ส่วนที ่ 1: ศึกษาความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ ม และการดําเนิ นการตาม
          นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ของไทย
          การศึก ษาในส่ว นนี้ ใ ช้ข้อ มูล จากสองส่ว นหลัก ๆ คือ การทบทวนข้อมูล จากเอกสาร
(content analysis) จากหน่ วยงานต่างๆ ทีเกี่ยวข้อง ทังหน่ วยงานของภาครัฐและเอกชน
                                                   ่           ้
ประกอบกับการสัมภาษณ์ เจาะลึกผู้บริหารองค์กรและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง แล้วนํ ามาสรุป
เพือให้ได้ทราบถึงประวัตความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ม และผลการดําเนินการของนโยบาย
    ่                    ิ
ศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ของไทยโดยมีจุดเน้นตังแต่ปี พ.ศ.2546 เป็ นต้นมา
                                                                   ้
          ในด้านการการทบทวนข้อมูลจากเอกสารนัน การศึกษาส่วนนี้อาศัยข้อมูลทุตยภูมจาก
                                                           ้                         ิ ิ
หน่วยงานราชการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ และ
                                              ่
กระทรวงศึกษาธิการ            (ซึงมีบทบาทกํากับโรงเรียนแพทย์)
                                ่                                    และการวิเคราะห์ขอมูลของ
                                                                                      ้
                                                                        ้ ่
โรงพยาบาลเอกชนในตลาดหลักทรัพย์ท่ี specialize ในด้านการรักษาผูปวยต่างประเทศ จาก
ข้อมูลทีโรงพยาบาลเหล่านันรายงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
        ่                  ้
          ในส่วนของการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงพยาบาลภาคเอกชนนัน ใช้วธีสมภาษณ์ เจาะลึก
                                                                      ้     ิ ั
                                          ่                              ั ั
โรงพยาบาลเอกชนสามกลุ่มคือ กลุ่มทีเน้นการให้บริการชาวต่างชาติในปจจุบน กลุ่มทีเริมขยาย่ ่
                                                                                ั ั
บริการด้านนี้ในระยะหลัง และกลุ่มที่ไม่ได้เน้ นการให้บริการชาวต่ างชาติในปจจุบน ในการ
สัมภาษณ์ส่วนนี้ นอกจากจะครอบคลุมประเด็นทีกล่าวมาในตอนต้น และพยายามเปรียบเทียบ
                                                       ่
แนวทางและวิธการดําเนินการของโรงพยาบาลทีเน้นการให้บริการชาวต่างชาติว่ามีส่วนสําคัญ
                   ี                                     ่
อะไรบ้างทีแตกต่างจากโรงพยาบาลเอกชนกลุ่มทีไม่ได้เน้นการให้บริการชาวต่างชาติแล้ว ยังได้
             ่                                       ่
สอบถามถึงอุปสรรคและความต้องการความสนับสนุ นจากภาครัฐด้วย (ตัวอย่างเช่น ที่ผ่านมา
ภาคเอกชนบางส่วนเห็นว่า ความช่วยเหลือของรัฐทีประกอบด้วยการจัดประชาสัมพันธ์ในทาง
                                                             ่
ประเทศ รวมทัง road show ทีให้เอกชนร่วมเดินทางไปประชาสัมพันธ์ และการช่วยเหลือด้าน
                 ้                  ่
ยืดอายุวซ่าให้แก่คนไข้และญาติทตามมาดูแล ยังไม่เพียงพอทีจะสนับสนุ นให้นโยบายนี้ดาเนิน
           ี                          ่ี                         ่                      ํ
ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ) การศึกษารวมไปถึงโรงพยาบาลรัฐขนาดใหญ่ทเป็ นโรงเรียนแพทย์
                                                                             ่ี
ด้วย
          สําหรับการสัมภาษณ์ผูบริหารภาครัฐนัน นอกจากจะครอบคลุมประเด็นต่างๆ ข้างต้น
                                  ้              ้
แล้ว ในส่วนของผู้บริหารหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพ (เช่น กระทรวงสาธารณสุข
ผูบริหารโรงเรียนแพทย์และคณะทันตแพทย์ และพยาบาล) ยังเชื่อมโยงไปถึงการกํากับดูแลใน
  ้
ด้ า นมาตรฐานและการคุ้ ม ครองผู้ บ ริโ ภค ด้ า นกํ า ลัง คน และผลกระทบที่มีต่ อ โครงการ


                                             5
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการประกันสังคม และภาพรวมด้านสุขภาพของประเทศ
ตลอดจนความเห็นเกียวกับทิศทางแนวทางทีเหมาะสมในการพัฒนาศูนย์กลางทางการแพทย์ท่ี
                 ่                   ่
เหมาะสมและสมดุลย์สาหรับประเทศไทยด้วย
                   ํ

        ส่วนที ่ 2: ศึกษาเปรียบเทียบการให้บริ การศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทย
        กับประเทศอืนทีประสบความสําเร็จ และทีพยายามผลักดันโครงการ medical
                       ่ ่                           ่
        hub
            ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศเดียว (หรือประเทศแรก) ในภูมภาคนี้ ทีพยายามผลักดันให้
                                                                ิ     ่
ประเทศตัวเองกลายเป็ น medical hub ตัวอย่างประเทศเพื่อนบ้านทีผลักดันเรื่องนี้มาก่อนและ
                                                                  ่
ประสบความสําเร็จพอสมควรคือ สิงคโปร์ นอกจากนี้ยงมีประเทศอื่นๆ ในภูมภาคนี้ทพยายาม
                                                   ั                     ิ    ่ี
ดันตัวเองขึนมา แต่ยงไม่ประสบความสําเร็จเท่าสิงคโปร์ เช่น อินเดีย และมาเลเซีย
             ้       ั
            บทเรียนของทังประเทศทีเคยประสบความสําเร็จมาก (เช่น สิงคโปร์) และประเทศที่
                         ้            ่
ยังไม่ประสบความสําเร็จมากน่ าจะเป็ นประโยชน์ในการกําหนดแนวทางพัฒนา medical hub
ของไทย นอกจากนี้ การทีหลายประเทศในภูมภาคพยายามดันตัวเองขึนมาเป็ น medical hub
                             ่              ิ                       ้
ย่อมหมายความว่าประเทศเหล่านี้เป็ นคู่แข่งของไทยในระดับหนึ่ง การศึกษาเปรียบเทียบการ
ให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศเหล่านี้ (โดยเฉพาะอย่างยิงในทวีป ่
                           ั
เอเชีย) ทังในด้านสภาพปญหา อุปสรรค และศักยภาพ จึงน่ าจะเป็ นประโยชน์ในการกําหนด
          ้
แนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของไทย
            การศึกษาในส่วนนี้ประกอบด้วยการศึกษาพืนฐานและผลการดําเนินการของ medical
                                                 ้
hub ในประเทศต่างๆ ในภูมภาคนี้ โดยการทบทวนจากเอกสารและทางอินเตอร์เน็ต รวมทังผล
                               ิ                                                   ้
                                 ่ี ่                  ้     ั
การประชุมสัมมนานานาชาติทเกียวข้อง เพื่อให้ได้เรียนรูสภาพปญหา อุปสรรค ศักยภาพ และ
แผนงานในอนาคตของ medical hub ในประเทศอื่นๆ เพื่อนําบทเรียนมาเสนอแนวทางการ
พัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของไทยต่อไป

       ส่วนที ่ 3: ศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิ จของประเทศ
       การศึกษาส่วนนี้ประมาณการผลกระทบของการมี medical hub ทีมต่อเศรษฐกิจของ
                                                                      ่ ี
ประเทศ ทังในด้านรายรับ (และมูล ค่า เพิ่ม) ที่เ กิดจากการให้บ ริก ารทางการแพทย์ และใน
           ้
กิจกรรมทีต่อเนื่อง เช่น การท่องเทียว ทังในส่วนของผูป่วยในช่วงก่อนและหลังการรับบริการ
         ่                       ่     ้             ้
ด้านการแพทย์ และในส่วนของญาติทเี่ ดินทางมาด้วย
       การประมาณการในส่วนของบริการด้านการแพทย์ คณะผูวจยได้พยายามหาข้อมูลปฐม
                                                            ้ิั
ภูมจากการศึกษาในส่วนอื่นๆ (เช่น ส่วนที่ 1 ในการสัมภาษณ์และขอข้อมูลจากสถานพยาบาล)
   ิ
และข้อมูลทุติยภูมจากตลาดหลักทรัพย์ สําหรับในส่วนของกิจกรรมที่ต่อเนื่องก็ได้พยายาม
                   ิ
ประยุกต์ใช้ขอมูลจากการสัมภาษณ์ผูประกอบการและข้อมูลจากหน่ วยงานรัฐทีเกี่ยวข้อง (เช่น
             ้                     ้                                      ่
                               ้          ั
ททท.) แต่การหาข้อมูลในทังสองส่วนมีปญหาค่อนข้างมาก จึงได้หนไปใช้ตวเลขของทาง
                                                                    ั       ั


                                         6
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranong

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษtaem
 
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม  แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองThira Woratanarat
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilVorawut Wongumpornpinit
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 

La actualidad más candente (20)

การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม  แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
 
Quntity sulin
Quntity sulinQuntity sulin
Quntity sulin
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็ง
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oil
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 

Destacado

IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1
IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1
IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1Nicky Narkthong
 
งานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงราย
งานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงรายงานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงราย
งานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงรายNithimar Or
 
จดหมายข่าวบ้านสนุก
จดหมายข่าวบ้านสนุกจดหมายข่าวบ้านสนุก
จดหมายข่าวบ้านสนุกNithimar Or
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858kuoil
 
วารสารทันตภูธร 1-2550
วารสารทันตภูธร 1-2550วารสารทันตภูธร 1-2550
วารสารทันตภูธร 1-2550Nithimar Or
 
NCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical CenterNCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical CenterSoranit Siltharm
 

Destacado (7)

IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1
IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1
IAH - A MEDICAL HUB OF THAILAND part 1
 
งานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงราย
งานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงรายงานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงราย
งานทันตสุขภาพคนพิการ สสจ.เชียงราย
 
จดหมายข่าวบ้านสนุก
จดหมายข่าวบ้านสนุกจดหมายข่าวบ้านสนุก
จดหมายข่าวบ้านสนุก
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858
 
วารสารทันตภูธร 1-2550
วารสารทันตภูธร 1-2550วารสารทันตภูธร 1-2550
วารสารทันตภูธร 1-2550
 
ระบาด
ระบาดระบาด
ระบาด
 
NCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical CenterNCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical Center
 

Similar a Medhub 3 4 52 anchana na ranong

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2Watcharin Chongkonsatit
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
27มค
27มค27มค
27มคohmchit
 
27มค
27มค27มค
27มคohmchit
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...jitisak poonsrisawat, M.D.
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 

Similar a Medhub 3 4 52 anchana na ranong (20)

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
 
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Nstda 55 final
Nstda 55 finalNstda 55 final
Nstda 55 final
 
20150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-201520150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-2015
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors prevention
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
27มค
27มค27มค
27มค
 
27มค
27มค27มค
27มค
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
V 279
V 279V 279
V 279
 

Más de Nithimar Or

Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Nithimar Or
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Nithimar Or
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Nithimar Or
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospitalNithimar Or
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistryNithimar Or
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ CopyNithimar Or
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานNithimar Or
 

Más de Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 

Medhub 3 4 52 anchana na ranong

  • 1. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจย ั แนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของประเทศไทย (Thailand Medical Hub) รศ.ดร.อัญชนา ณ ระนอง ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง รศ.นพ.ศิรชัย จินดารักษ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เสนอ สภาทีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ่ ฉบับปรับปรุง มีนาคม 2552
  • 2.
  • 3. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจย ั แนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของประเทศไทย (Thailand Medical Hub) เสนอ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หัวหน้ าโครงการ รศ.ดร.อัญชนา ณ ระนอง คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ทีมวิจย ั ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง ผูอานวยการวิจยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร ้ ํ ั สถาบันวิจยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ั และ รศ.นพ.ศิรชัย จินดารักษ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สิงหาคม 2551 แก้ไขปรับปรุง มีนาคม 2552 i
  • 4. ii
  • 5. คํานํารายงานฉบับแก้ไข คณะผูวจยได้นําเสนอและส่งมอบรายงานฉบับสมบูรณ์ต่อสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ ้ิ ั สังคมแห่งชาติในเดือนสิงหาคม 2551 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีความเปลียนแปลงทีสาคัญ ่ ่ ํ เกิด ขึ้น หลายประการหลัง จากนัน ที่อ าจมีผ ลกระทบต่ อ การดํา เนิ น การด้า นนี้ (เช่น การปิ ด ้ สนามบินหลายแห่งของไทยรวมทังสนามบินนานาชาติ และการลุกลามของวิกฤตเศรษฐกิจไป ้ ทัวโลก) คณะผู้วจยจึงได้ปรับปรุงรายงานนี้ ให้ทนต่อเหตุ การณ์ มากขึ้น รวมทังได้นําข้อมูล ่ ิ ั ั ้ บางส่วนทีหามาได้เพิมในระหว่างเดือนกันยายน 2551 ถึงเดือนมีนาคม 2552 มาประกอบการ ่ ่ วิเคราะห์ดวย ทังนี้ คณะผูวจยหวังว่าการปรับปรุงรายงานให้ทนต่อเหตุการณ์มากขึนจะเป็ น ้ ้ ้ิั ั ้ ่ ่ ่ ประโยชน์กบทุกฝายทีเกียวข้อง ั คณะผูวจย ้ิั มีนาคม 2552 รายละเอียดสําหรับติดต่อคณะผูวิจย ้ ั รศ.ดร.อัญชนา ณ ระนอง (หัวหน้ าโครงการ) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โทรศัพท์ : 081-259-8659 โทรสาร: 02-722-7461 E-mail: anchana@nida.ac.th ดร.วิ โรจน์ ณ ระนอง ผูอานวยการวิจยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการเกษตร ้ํ ั สถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ั ่ โทรศัพท์ : 081-382-7846 โทรสาร: 02-722-7461 E-mail: viroj@tdri.or.th รศ.นพ.ศิ รชัย จิ นดารักษ์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ : 02-256-4117, 02-256-4120 E-mail: dr.sirachai@gmail.com iii
  • 6. iv
  • 7. กิตติกรรมประกาศ งานวิจยนี้ได้รบการสนับสนุ นทางการเงินจากสภาทีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ั ั ่ โดยความริเริมของคณะทํางานเศรษฐกิจภาคบริการ ซึ่งคุณภรณี ลีนุตพงษ์ ประธานคณะทํางาน ่ คุณชัชวาล ศรีวชิราวัฒน์ และ คุณราชันย์ วีระพันธุ์ รองประธานคณะทํางาน คุณชวลิต อาคม ธน คุณทวี เตชะธีราวัฒน์ คุณเธียรชัย มหาศิริ คุณนิมตร สัมพันธารักษ์ คุณพนัส ไทยล้วน ิ คุณวันชัย วัฒนธาดากุล คุณสงวน ลิวมโนมนต์ คุณอนุ วฒน์ ธุมชัย คุณโอกาส เตพละกุล ่ ั คุณเกษม จันทร์น้อย คุณใยอนงค์ ทิมสุวรรณ คุณสมหมาย ปาริจฉัตต์ คุณสุวทย์ ธนียวัน ิ และคุณธิดา จันทร์เพ็ญ คณะทํางาน และ นพ.เจตน์ ศิรธรานนท์ คุณวิจตร ณ ระนอง คุณพนิดา ิ ตังกิจจารักษ์ และคุณสงขลา วิชยขัทคะ คณะที่ปรึกษา ได้ให้ความสนใจ ความสนับสนุ น และ ้ ั คําแนะนํ ามาโดยตลอด โดยเฉพาะ นพ.เจตน์ ศิรธรานนท์ ทีรเริมโครงการนี้มาตังแต่แรกและ ่ิ ่ ้ หลังจากทีทานได้ลาออกจากการเป็ นทีปรึกษาคณะทํางานไปเป็ นวุฒสมาชิกแล้ว ก็ยงคงติดตาม ่ ่ ่ ิ ั ความคืบหน้าของโครงการอย่างสมํ่าเสมอ คุณจุฑามาศ กุลรัตน์ และคุณจันทนา วุฒกาญจนกุล ิ ่ ฝายเลขานุ การคณะทํางาน ได้ชวยเหลือในด้านการติดต่อประสานงานตลอดช่วงโครงการ ่ งานวิจยนี้จะไม่สามารถสําเร็จลุล่วงไปได้เลย ถ้าหากคณะผูวจยไม่ได้รบความช่วยเหลือ ั ้ิ ั ั และความร่วมมือ ทังในด้านข้อมูล ความเห็น และคําปรึกษาจากผู้ท่ีเกี่ยวข้องจํานวนมาก ซึ่ง ้ คณะผูวจยคงไม่สามารถระบุรายชื่อทีครบถ้วน (อีกทังหลายท่านได้กรุณาให้ขอมูลและความคิดเห็น ้ิั ่ ้ ้ โดยไม่ประสงค์ออกนามด้วย) โดยเฉพาะอย่างยิงจากผู้บริหารและเจ้าหน้ าที่โรงพยาบาลต่างๆ ่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ และบริษทตัวแทนต่างๆ ซึงคณะผูวจยขอขอบคุณทุกท่าน ั ่ ้ิั เป็ นอย่างสูง สุดท้าย คณะผูวจยขอขอบคุณ ศ.อัมมาร สยามวาลา ทีกรุณาให้คาปรึกษาทีเป็ นประโยชน์ ้ิั ่ ํ ่ ต่อโครงการวิจยเป็ นอย่างมาก คุณนนทลี วุฒมานพ จากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน ั ิ บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) และคุณพรรณลดา ไตรพิทยากุล จากสถาบันวิจยเพือการ ั ่ พัฒนาประเทศไทย (TDRI) มีสวนช่วยในการรวบรวมข้อมูลในช่วงแรกและช่วงท้ายของ ่ โครงการ v
  • 8. vi
  • 9. บทคัดย่อ ประเทศไทยเป็ นประเทศเปิ ดและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มช่อเสียงและเป็ นที่นิยมของ ี ื ชาวต่างชาติมาเป็ นเวลาค่อนศตวรรษแล้ว โรงพยาบาลเอกชนหลายแห่งของไทยได้พฒนาขึน ั ้ มาและได้ให้บริการคนไข้ชาวต่างชาติท่มาทํางานและท่องเที่ยวในภูมภาคนี้เพิมขึนเป็ นลําดับ ี ิ ่ ้ แต่จุดเปลียนสําคัญทีก่อให้เกิดการขยายตัวของบริการทางการแพทย์สาหรับชาวต่างชาติ (หรือ ่ ่ ํ medical tourist ซึงหมายถึงชาวต่างชาติทมจุดประสงค์หลักในการเดินทางเข้ามาเพื่อรับบริการ ่ ่ี ี ด้านรักษาพยาบาล) ไม่ได้เป็ นแผนที่โรงพยาบาลเหล่านี้มมาตังแต่ต้น หากเกิดจากปญหาที่ ี ้ ั โรงพยาบาลเหล่านี้ประสบอันสืบเนื่องมาจากวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 ซึ่งทําให้โรงพยาบาล เอกชนทีมการลงทุนอย่างมากในช่วงฟองสบู่มภาวะเตียงว่างจํานวนมาก โรงพยาบาลเอกชน ่ ี ี ชันนํ าของไทยจึงพยายามปรับ ตัวโดยการหาลูกค้าจากประเทศที่มกําลังซื้อสูงจากแทบทุก ้ ี ภูมภาคของโลก (เช่น อเมริกา ยุโรป ตะวันออกกลาง และญีปุ่น) เข้ามาทดแทน รัฐบาลเองก็มี ิ ่ นโยบายทีจะผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางของการบริการทางด้านสุขภาพของเอเชีย ซึง ่ ่ ถือได้วาประสบความสําเร็จเป็ นอย่างสูง โดยในปี พ.ศ. 2550 มีคนไข้ชาวต่างชาติทรบการรักษา ่ ่ี ั ในประเทศไทย (รวมนักท่องเทียวและชาวต่างชาติทมาทํางานหรือตังถินฐานในภูมภาคนี้) มาก ่ ่ี ้ ่ ิ ถึง 1.4 ล้านคน งานวิ จ ัย นี้ ศึ ก ษาพัฒ นาการและการขยายตัว ของบริก ารทางการแพทย์ สํ า หรับ ชาวต่างชาติ (รวมทังนโยบายของรัฐทีจะผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางของการบริการ ้ ่ ทางด้านสุขภาพ หรือทีนิยมเรียกกันในประเทศไทยว่า medical hub) และผลกระทบทีมต่อ ่ ่ ี เศรษฐกิจ บุ ค ลากรทางการแพทย์ และอัต ราค่า รัก ษาพยาบาลสํา หรับ คนไข้ช าวไทย โดย รวบรวมข้อมูลทังจากสถานพยาบาล บริษททัวร์หรือตัวแทนทีนําคนไข้มาจากต่างประเทศ และ ้ ั ่ จากหน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้อง ่ ่ ผลการศึกษาพบว่า ในระยะหลัง มีสถานพยาบาลเอกชนของไทยจํานวนมากได้ปรับตัว เพือให้บริการและเจาะตลาดคนไข้ชาวต่างชาติมากขึน โดยมีจุดเน้นทีต่างกัน (ซึงส่วนหนึ่ง ่ ้ ่ ่ ขึนกับความถนัดของสถานพยาบาลทีมมาแต่เดิม) เช่น มีทงสถานพยาบาลกลุ่มทีเน้นการรักษา ้ ่ ี ั้ ่ ด้วยเทคโนโลยีมาตรฐานระดับโลก กลุ่มทีเน้นการรักษาทีเป็ นความเชียวชาญเฉพาะทางของ ่ ่ ่ สถานพยาบาล (เช่น ในด้านศัลยกรรมตกแต่ง) กลุมทีเน้นการรักษาด้วยเทคโนโลยีในระดับสูง ่ ่ แต่ยงอยูในขันทดลอง (เช่น การรักษาด้วย Stem Cell) กลุ่มทีเน้นการรักษาด้านทีสามารถรอได้ ั ่ ้ ่ ่ พอสมควร (โดยเฉพาะอย่างยิงทันตกรรม) และกลุ่มทีเน้นการให้บริการตรวจสุขภาพ หลาย ่ ่ โรงพยาบาลได้ผานการรับรองมาตรฐาน JCIA (ซึ่งเป็ นมาตรฐานสําหรับโรงพยาบาลนานาชาติ) ่ และได้ใช้วธการทําตลาดในต่างประเทศทีหลากหลาย ไม่วาจะเป็ นวิธใช้ตวแทนทังในประเทศ ิี ่ ่ ี ั ้ และในต่างประเทศ หรือการทําตลาดด้วยตนเองล้วนๆ vii
  • 10. การขยายตัวของการให้บริการทางการแพทย์กบชาวต่างชาติมผลกระทบทังในด้านบวก ั ี ้ และด้านลบ โดยในด้านเศรษฐกิจนัน บริการนี้ชวยสร้างมูลค่าเพิมประมาณร้อยละ 0.4 ของ ้ ่ ่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) แต่การทีคนไข้ชาวต่างชาติมจานวนเพิมขึนมากก็ทาให้ ่ ีํ ่ ้ ํ ั ปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ (โดยเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ และพยาบาล) มี ความรุนแรงมากขึน ้ การทีชาวต่างชาติเข้ามาพร้อมกับกําลังซือทีสงกว่าคนไทยมากมีสวน ่ ้ ู่ ่ สําคัญในการดึงดูดแพทย์ (โดยเฉพาะอย่างยิงแพทย์ผเชียวชาญ) จากทังภาคเอกชนและภาครัฐ ่ ู้ ่ ้ รวมทังอาจารย์แพทย์และทีมงานจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยต่างๆ ไปสูโรงพยาบาลเอกชน ้ ่ กลุ่มทีเน้นการรักษาคนไข้ต่างชาติมากขึน ซึงอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการผลิตแพทย์ ่ ้ ่ ในระยะยาว ั ปญหาการขาดแคลนบุคลากรมีสวนทีทาให้คารักษาพยาบาลในโรงพยาบาล ่ ่ ํ ่ เอกชนเพิมในอัตราทีสงขึนในระยะหลัง และมีแนวโน้มทีจะทําให้ทงสถานพยาบาลและโครงการ ่ ู่ ้ ่ ั้ ด้านหลักประกันสุขภาพต่างๆ ของรัฐ (ไม่วาจะเป็ นโครงการบัตรทอง สวัสดิการข้าราชการ หรือ ่ โครงการประกันสังคม) มีตนทุนเพิมขึนในการรักษาบุคลากรไม่ให้ถูกดึงออกไปมากจนเกิด ้ ่ ้ ผลกระทบทีรนแรงต่อคุณภาพบริการของโครงการเหล่านี้ ุ่ เพื่อทีจะรักษาสมดุลของผลกระทบในด้านบวกและลบ คณะผูวจยได้จดทําข้อเสนอแนะ ่ ้ิั ั หลายประการ โดยนอกจากเสนอให้ผลิตบุคลากรทางการแพทย์เพิม (รวมทังผลิตพยาบาลให้ ่ ้ เต็มศักยภาพ) แล้ว ยังได้เสนอให้ปรับปรุงกฎระเบียบของแพทยสภาให้เอื้อกับการนํ าแพทย์ ชาวต่างชาติทมคุณภาพเข้ามาเพื่อบรรเทาผลกระทบในด้านการขาดแคลนบุคลากรซึ่งมีความ ่ี ี รุนแรงมากขึ้นจากการที่มคนไข้ต่างชาติเดินทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลในประเทศไทย ี เพิมขึน และในกรณีท่จํานวนคนไข้ต่างชาติกลุ่มนี้ยงมีแนวโน้มเพิมขึน เสนอให้พจารณาเก็บ ่ ้ ี ั ่ ้ ิ ค่าธรรมเนียมพิเศษจากคนไข้ต่างชาติทมจุดประสงค์หลักในการเดินทางมาประเทศไทยเพื่อรับ ่ี ี บริการด้านรักษาพยาบาล แล้วนํ ารายได้สวนนี้มาอุดหนุ นการผลิตบุคลากรทางการแพทย์เพิม ่ ่ และช่วยเพิมแรงจูงใจในการรักษาและเพิมจํานวนอาจารย์แพทย์ผูเชียวชาญแพทย์ในโรงเรียน ่ ่ ้ ่ แพทย์ viii
  • 11. Abstract A Development Guideline for Thailand’s Medical Hub 1 2 3 Anchana NaRanong, Viroj NaRanong, and Sirachai Jindarak Thailand has been an open country and a well-known tourist place for at least a half century. It was not until this decade that medical tourism in Thailand has been surging. Since the 1997 Asian economic crisis, bed occupancy in most private hospitals has significantly declined, prompted high-end private hospitals—which invested substantially during the economic bubble to seek out medical tourists from abroad, mainly from North America, the European Union, the Middle East and East Asian countries. Since then, every Thai government regime has announced various policy measures to promote medical tourism in order to generate revenue for the country. In 2007, 1.4 million foreign patients (including general tourists and foreigners who work or live in Thailand) received medical treatment in Thailand, making her a leading destination for medical tourists from almost all continents. This study focuses on the development of Thai medical tourism and its impacts on the Thai economy, human resources, and medical costs for Thais. Data have been collected from hospitals, tourist agencies, and the government. The study finds that more and more private hospitals have been transformed into foreign-oriented facilities. This development appeared in many forms (partly depending on hospitals’ specialization) such as treatments with high technology, new treatments at experimental stages (such as treatment with stem cells), and dental care. Several hospitals have sought accreditation and have been accredited by the Joint Commission International (JCI), and various marketing plans have been launched to attract international customers. Medical tourism has had both positive and negative impacts on Thailand. For the Thai economy, it generates the value added that is equivalent to 0.4% of GDP. However, the surge of medical tourists in Thailand has exacerbated the shortage of medical personnel (especially of physicians, dentists, and nurses). The higher purchasing power of foreigners has drawn more medical personnel, especially specialists, from both the private and public sector (including professors in medical schools) to foreigner-oriented hospitals, and this brain-drain will potentially affect the availability and quality of medical training in the future. This personnel shortage has raised medical costs in the private hospitals substantially and is likely to drive up the costs of the public hospitals and the publicly-provided Universal Coverage Health Insurance (including the Social Security Scheme and the Civil Servant Medical Benefit Scheme)—which covers most of the Thai population. To strike a balance under this dilemma, this study proposes several recommendations, including lifting the regulation that has prevented importing qualified foreign physicians and imposing specific taxes/fees on medical tourists whose purpose of visit is solely for medical treatment and use such revenue to expand physician training and retain personnel in public medical schools. 1 School of Public Administration, National Institute of Development Administration (NIDA) 2 Thailand Development Research Institute (TDRI) 3 Faculty of Medicines, Chulalongkorn University ix
  • 12. x
  • 13. สารบัญ หน้ า คํานํารายงานฉบับแก้ไขปรับปรุง ..................................................................................................... iii กิตติกรรมประกาศ ..........................................................................................................................v บทคัดย่อ ................................................................................................................................... vii Abstract ..................................................................................................................................... ix สารบัญ ...................................................................................................................................... xi สารบัญตาราง ............................................................................................................................... xiii สารบัญกรอบ ................................................................................................................................. xv สารบัญรูป ..................................................................................................................................... xv 1. บทนํา ...................................................................................................................................... 1 1.1 วัตถุประสงค์ ........................................................................................................... 3 1.2 ขอบเขตการศึกษา .................................................................................................. 4 1.3 ระยะเวลาศึกษา ..................................................................................................... 4 1.4 วิธการดําเนินงาน .................................................................................................. 4 ี 1.5 วิธการศึกษาโดยละเอียด......................................................................................... 4 ี 1.6 ผลทีคาดว่าจะได้รบ .............................................................................................. 12 ่ ั 1.7 เนื้อหาของรายงาน .............................................................................................. 12 2. ความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ม และการดําเนินการตามนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ............................................................................................................. 15 2.1 ประวัตความเป็ นมา .............................................................................................. 15 ิ 2.2 สถานการณ์ แนวโน้ม และการดําเนินการตามนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ทีผานมาของไทย ......................................................................... 18 ่ ่ 3. การศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศอืนทีมการ ่ ่ ี ดําเนินการด้าน medical tourism.................................................................................. 43 3.1 ประเทศสิงคโปร์.................................................................................................... 43 3.2 ประเทศอินเดีย ..................................................................................................... 47 3.3 ประเทศมาเลเซีย .................................................................................................. 50 3.4 การเปรียบเทียบ medical hub ในแต่ละประเทศ: มุมมองของฝายต่างๆ ................ 52 ่ 3.5 บทเรียนจากต่างประเทศ ..................................................................................... 59 4. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจของประเทศ ......................................................................................... 67 4.1 การประมาณการรายรับและมูลค่าเพิมทีเกิดจากการให้บริการคนไข้ต่างชาติ………...…70 ่ ่ 5. ผลกระทบต่อบุคลากร ............................................................................................................... 83 5.1 ความต้องการแพทย์สาหรับคนไข้ตางชาติ (medical hub) .................................... 83 ํ ่ 5.2 ความต้องการบุคลากรสําหรับคนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ............ 88 6. ผลกระทบต่อราคาค่ารักษาพยาบาลและการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของคนไทย .................... 105 ่ ี xi
  • 14. 6.1 ผลกระทบในด้านราคาค่ารักษาพยาบาล ............................................................ 105 6.2 ผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของคนไทย ......................................... 113 ่ ี 7. บทสรุป แนวทางการพัฒนา และข้อเสนอแนะ.......................................................................... 123 7.1 บทสรุป ............................................................................................................. 123 ่ 7.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของฝายต่างๆ .............................................................. 127 7.3 แนวทางการพัฒนา ............................................................................................ 131 7.4 ข้อเสนอของคณะผูวจย ...................................................................................... 140 ้ิั 7.5 อุปสรรคในการศึกษา ข้อจํากัด และข้อเสนอแนะเพิมเติม ..................................... 147 ่ xii
  • 15. สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 2.1 ประมาณการเป้าหมายรายได้ของแต่ละผลผลิต....................................................... 17 ตารางที่ 2.2 งบประมาณแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางสุขภาพเอเชีย จําแนกตามยุทธวิธแผนงาน .......................................................................................... 18 ี ตารางที่ 2.3 จํานวนชาวต่างชาติทมารับบริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนไทย ่ี ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2550 .......................................................................................... 19 ตารางที่ 2.4 จํานวนชาวต่างประเทศทีรบบริการในโรงพยาบาลเอกชนไทย 55 แห่งในปี 2550 .... 20 ่ั ตารางที่ 2.5 สัดส่วนจํานวนและรายรับจากคนไข้ชาวต่างชาติของโรงพยาบาลปิยะเวท ปี 2546- 2550 ........................................................................................................................... 25 ตารางที่ 2.6 ตัวอย่างบริษทตัวแทนทีมบริการนําคนไข้เข้ามารับบริการด้านสุขภาพในประเทศไทย ั ่ ี .................................................................................................................................... 33 ตารางที่ 3.1 เป้าหมายจํานวนผูปวยทีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสิงคโปร์ .................................. 46 ้ ่ ่ ตารางที่ 3.2 เปรียบเทียบ competitive advantage ระหว่างไทยกับคูแข่งอื่นในเอเชีย ................. 55 ่ ตารางที่ 3.3 เปรียบเทียบ medical tourism ของประเทศไทยและประเทศคูแข่งในภูมภาคนี้ โดย ่ ิ The Boston Consulting Group ................................................................................... 56 ตารางที่ 4.1 ประมาณการเป้าหมายรายได้จาก medical hub และข้อมูลจํานวนคนไข้ต่างชาติทมา ่ี รับการรักษาในประเทศไทย .......................................................................................... 67 ตารางที่ 4.2 ประมาณการรายได้จาก medical tourism และข้อมูลจํานวนคนไข้ต่างชาติ.............. 68 ตารางที่ 4.3 ประมาณการรายรับและมูลค่าเพิม (value added) จากคนไข้ต่างชาติและผูตดตาม.. 75 ่ ้ ิ ้ ่ ตารางที่ 5.1 ประมาณการความต้องการแพทย์โดยผูปวยต่างชาติ พ.ศ. 2546-2558 ..................... 84 ตารางที่ 5.2 จํานวนแพทย์ผได้รบใบอนุ ญาตฯ และจํานวนแพทย์ทถูกถอนชือจากทะเบียน ู้ ั ่ี ่ ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา .................................................................... 89 ้ ตารางที่ 5.3 ข้อมูลจํานวนและการกระจายของแพทย์ รวบรวมโดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข .................................................................................................... 92 ตารางที่ 5.4 จํานวนแพทย์ในโรงพยาบาลในสังกัดสํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ...................... 93 ้ ่ ตารางที่ 5.5 ประมาณการความต้องการแพทย์โดยผูปวยชาวไทย พ.ศ. 2546-2558 .................... 94 ตารางที่ 5.6 ประมาณการความต้องการแพทย์รวม พ.ศ. 2550-2558.......................................... 95 ตารางที่ 5.7 จํานวนและการกระจายของทันตแพทย์ รวบรวมโดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข .................................................................................................... 98 ตารางที่ 5.8 จํานวนทันตแพทย์ทขนทะเบียนเป็ นผูประกอบวิชาชีพทันตกรรม ตังแต่ปี 2537-2550 ่ี ้ ึ ้ ้ .................................................................................................................................... 99 ตารางที่ 5.9 ข้อมูลจํานวนและการกระจายของพยาบาล รวบรวมโดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข .................................................................................................. 102 ตารางที่ 5.10 จํานวนผูสมัครสอบและขึนทะเบียนเป็ นผูประกอบวิชาชีพพยาบาล 2541-2550...... 103 ้ ้ ้ xiii
  • 16. ตารางที่ 6.1 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริงของคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล ่ ่ ่ ้ ่ ั ั ก. ตังแต่ปี 2548 จนถึงปจจุบน ................................................................................... 107 ้ ตารางที่ 6.2 ค่าบริการเหมาจ่ายแบบเป็ นแพคเกจสําหรับคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล ก. ปี 2550- ่ 2551 ......................................................................................................................... 108 ตารางที่ 6.3 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริงของคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล ่ ่ ่ ้ ่ ั ั ข. ตังแต่ปี 2546 จนถึงปจจุบน ................................................................................... 109 ้ ตารางที่ 6.4 ค่าบริการเหมาจ่ายแบบเป็ นแพคเกจสําหรับคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล ่ ข. เมือต้นปี 2551....................................................................................................... 109 ่ ตารางที่ 6.5 ค่าบริการเหมาจ่ายแบบเป็ นแพคเกจสําหรับคนไข้ชาวไทยทีโรงพยาบาล ่ ค. เมือต้นปี 2551 ...................................................................................................... 110 ่ ตารางที่ 6.6 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริงทีโรงพยาบาล ่ ่ ่ ้ ่ ั ั ง. ตังแต่ปี 2548 ถึงปจจุบน....................................................................................... 111 ้ ตารางที่ 6.7 ค่าใช้จายเฉลียต่อรายจาก case ทีเกิดขึนจริง ทีโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต ่ ่ ่ ้ ่ ปี 2549-2550 ............................................................................................................ 112 xiv
  • 17. สารบัญกรอบ หน้ า กรอบที่ 2.1 กระบวนการดําเนินการของโรงพยาบาลทีทาตลาดเอง: กรณีศกษาโรงพยาบาล่ ํ ึ เจ้าพระยา .................................................................................................................... 26 กรอบที่ 2.2 กระบวนการตลาดของโรงพยาบาลทีผานตัวแทน (agent) เป็ นหลัก: กรณีศกษา ่ ่ ึ โรงพยาบาลยันฮี .......................................................................................................... 30 กรอบที่ 6.1 “The Heart by Siriraj”: โรงพยาบาลเอกชนในโรงพยาบาลรัฐ? ................................ 117 กรอบที่ 7.1 ตัวอย่าง medical hub ของไทย: กรณีศกษาโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต .................... 146 ึ สารบัญรูป หน้ า ้ ่ รูปที่ 2.1 จํานวนและประมาณการจํานวนผูปวยชาวต่างประเทศทีมารักษาในประเทศต่างๆ โดย ่ รัฐบาลสิงคโปร์........................................................................................................... 23 ้ ่ รูปที่ 3.1 จํานวนผูปวยชาวต่างชาติทมารักษาทีสงคโปร์ในช่วงก่อนและหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ่ี ่ ิ .......................................................................................................................................61 รูปที่ 4.1 ประมาณการรายรับจากการให้บริการคนไข้ต่างชาติ ภายใต้ Scenario ต่างๆ..................77 รูปที่ 4.2 ประมาณการมูลค่าเพิ่มจากการให้บริ การคนไข้ต่างชาติ ภายใต้ Scenario ต่างๆ……………………80 รูปที่ 7.1 บัตรขาเข้าตรวจคนเข้าเมือง……………………………………………………………...………133 xv
  • 18. xvi
  • 19. 1. บทนํา ในช่วงทีประเทศไทยอยู่ในภาวะฟองสบู่ (ก่อนทีจะจบลงด้วยภาวะวิกฤติเศรษฐกิจหลัง ่ ่ ั ฟองสบู่แตกในปี พ.ศ.2540) ประเทศไทยมีปญหาขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในอัตราทีสงติดต่อกัน ่ ู มานานหลายปี หลังจากฟองสบู่แตก รัฐบาลก็ได้พยายามผลักดันให้มการส่งออกเพิมขึน โดย ี ่ ้ นอกจากการส่งออกสินค้า (และแรงงาน) ไปต่างประเทศแล้ว กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวง พาณิชย์ ยังหันมาสนใจการหารายได้เข้าประเทศจากบริการด้านสาธารณสุข ซึ่งที่ผ่านมาก็มี ชื่อเสียงเป็ นทีรูจกกันดีในระดับภูมภาคอยู่แล้ว (เช่น ในประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในแถบ ่้ั ิ เอเชียใต้และตะวันออกกลาง) ให้ขยายบริการในรูปของ medical tourism ทีมการนําคนไข้จาก ่ ี ประเทศที่มกําลังซื้อสูงมารับบริการทางการแพทย์และสุขภาพในประเทศไทย และดึงดูดผูท่ี ี ้ เกษียณอายุมาตังถินฐานในประเทศไทย ในช่วงเดียวกันนัน โรงพยาบาลเอกชนจํานวนมาก ซึง ้ ่ ้ ่ ั มีก ารลงทุ น อย่ า งขนานใหญ่ ใ นช่ ว งฟองสบู่ ก็ ป ระสบป ญ หาภาวะเตี ย งว่ า งจํ า นวนมาก โรงพยาบาลเอกชนทีถอได้ว่าเป็ นกลุ่ม high-end บางกลุ่ม จึงพยายามปรับตัวโดยการหาลูกค้า ่ ื ่ ีํ ้ ่ ุ่ จากประเทศทีมกาลังซือสูง (เช่น ญีปน ยุโรป และตะวันออกกลาง) เข้ามาด้วย ซึงก็นบว่าประสบ ่ ั ความสําเร็จพอสมควร โดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ สองแห่ง (รวมทังเครือข่ายของ ้ โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง) ในช่ ว งรัฐ บาลต่ อ มา (รัฐ บาลที่นํ า โดยพรรคไทยรัก ไทย) แม้ว่ า ภาวะวิก ฤติ ข อง โรงพยาบาลเอกชนโดยรวมจะบรรเทาลง และในปี พ.ศ.2544 รัฐบาลได้ขยายหลักประกัน สุขภาพให้ครอบคลุมคนไทยทังประเทศ ผ่านโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค” (ซึงมีผลทําให้มี ้ ่ การใช้บริการด้านการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ) แล้ว รัฐบาล (โดยทังกระทรวง ้ พาณิชย์และกระทรวงสาธารณสุข) ก็มนโยบายทีจะผลักดันให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางของการ ี ่ บริการด้านการแพทย์ (medical hub) การบริการด้านสุขภาพ และผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ ชาวต่างชาติ เพื่อดึงดูดให้คนจากทัวโลกเข้ามาใช้บริการในประเทศไทยซึงเป็ นทางหนึ่งทีจะนํ า ่ ่ ่ รายได้เข้าประเทศ โดยมีการกําหนดเป็ นวิสยทัศน์ ของประเทศเอาไว้ว่าประเทศไทยจะเป็ น ั ศูนย์กลางสุขภาพของเอเชีย (Thailand: Centre of Excellent Health Care of Asia) ภายใน ระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2551) (กระทรวงสาธารณสุข 2546) ในการทีประเทศไทยจะพัฒนาขึนไปเป็ น medical hub เพื่อรองรับลูกค้าจากประเทศทีมี ่ ้ ่ กําลังซือสูง ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นประเทศพัฒนาแล้วนัน นอกเหนือจากจะต้องมีค่ารักษาพยาบาล ้ ่ ้ ที่ต่ํา กว่า ประเทศต้นทางอย่า งมีนัย สํา คัญ และมีศ ักยภาพที่จะรองรับ คนไข้จ ากต่ า งประเทศ จํานวนมากแล้ว ยังมีกุญแจสําคัญที่ต้องพิจารณาอย่างน้ อยสองประการคือ (ก) มีการพัฒนา มาตรฐานในด้านการรักษาพยาบาลทีทดเทียม (หรือใกล้เคียง) กับประเทศทีพฒนาแล้ว และ (ข) ่ ั ่ ั มีระบบการคุ้มครองผูบริโภคที่มความน่ าเชื่อถือ (โดยทัวไปแล้ว ประเทศที่มมาตรฐานในการ ้ ี ่ ี 1
  • 20. รักษาพยาบาลทีดมกจะมีระบบการคุมครองสิทธิของผูปวยทีดควบคู่กนไปด้วย)4 ซึงในทังสอง ่ ี ั ้ ้ ่ ่ ี ั ่ ้ ส่วนนี้ต้องอาศัยการพัฒนาทังในส่วนของโรงพยาบาลเองและในหน่ วยงานของรัฐที่ทําหน้ าที่ ้ ั กํากับดูแลสถานพยาบาลเหล่านี้ และเป็ นปจจัยสําคัญทีไม่สามารถทดแทนได้โดยการโฆษณา ่ ประชาสัมพันธ์ให้ชาวต่างชาติเข้ามาใช้บริการการรักษาพยาบาลของไทย แต่นอกจากนโยบายพัฒนาศูนย์กลางการแพทย์ (medical hub) ของประเทศไทยจะต้อง ั คํานึงถึงปจจัยที่มผลต่อการเติบโตและความสามารถในการแข่งขันของตัวสถานพยาบาลเองแล้ว ี ยังมีความจําเป็ นต้องคํานึ งถึงผลกระทบทังในทางบวกและทางลบต่ อระบบสาธารณสุขของ ้ ประเทศไทยเองด้วย ในทางบวกนัน การปรับตัวของสถานพยาบาลของไทยและหน่ วยงานที่ ้ กํากับดูแลเพื่อรองรับนโยบายนี้ย่อมมีโอกาสทําให้สถานพยาบาลจํานวนหนึ่งพัฒนามาตรฐาน ไปสูระดับสากลได้มากขึน รวมทังมีขดความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ่ ้ ้ ี ทางการแพทย์สมัยใหม่ได้ดขน แต่นโยบายนี้ก็มโอกาสที่จะสร้างผลกระทบในทางลบเช่นกัน ี ้ึ ี โดยเฉพาะอย่างยิงในบริบทใหญ่ของประเทศ ซึงการเกิดขึนและการขยายตัวของ medical hub ่ ่ ้ มีโอกาสทีจะส่งผลกระทบด้านลบต่อนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้ในหลายด้าน ่ เช่น ผลกระทบในด้านการใช้ทรัพยากรและบุคลากรด้านสุขภาพ ผลกระทบต่อราคาของบริการ ด้านสุขภาพ5 และผลกระทบในด้านการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของคนไทย เป็ นต้น ่ ี ด้ว ยเหตุ ผ ลที่ก ล่ า วมาข้า งต้น จะเห็น ได้ว่ า มีโ อกาสมากที่น โยบายศู น ย์ก ลางทาง การแพทย์ (medical hub) จะส่งผลทีขดแย้งกับนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ่ ั (อย่างน้ อยในบางด้าน) ซึ่งย่อมทําให้การผลักดันสองนโยบายนี้แยกจากกันโดยไม่ได้พจารณา ิ ปฏิสมพันธ์ (interaction) ทีสองนโยบายมีต่อกันนัน จะไม่ได้ผลเท่ากับทีสามารถคาดหวังได้จาก ั ่ ้ ่ การเลือกผลักดันเพียงนโยบายใดนโยบายหนึ่ง (แน่นอนว่า สองนโยบายนี้อาจมีสวนทีหนุ นช่วย ่ ่ ซึ่งกันและกันหรือ synergistic ในบางด้าน เช่น ในด้านความก้าวหน้ าทางวิชาการและการ พัฒนามาตรฐานต่างๆ รวมทังอาจพัฒนาเป็ นศูนย์รบส่งต่อผูปวยหรือฝึ กอบรมนักศึกษาแพทย์) ้ ั ้ ่ แต่ในการกําหนดนโยบายสุขภาพของประเทศในภาพรวมนัน มีความจําเป็ นทีรฐจะต้องพิจารณา ้ ่ั (หรือประเมิน) นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ในบริบทของการมีหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า ซึงถือได้วาเป็ นนโยบายหลักด้านสุขภาพของประเทศ ไม่ใช่แยกพิจารณาและ ่ ่ ผลักดันสองนโยบายทีอาจขัดแย้งกันโดยไม่สนใจผลกระทบที่นโยบายหนึ่งจะมีต่ออีกนโยบาย ่ หนึ่ง (อุปมาได้เหมือนกับการขับรถโดยเหยียบทังคันเร่งและเบรคพร้อมๆ กัน) และในกรณีทจะ ้ ่ี ดําเนินสองนโยบายนี้ควบคู่กนไปนัน (หรือแม้กระทังในกรณีท่จะสนับสนุ นนโยบายเดียว แต่ ั ้ ่ ี 4 โดยเฉพาะอย่างยิง เมื่อคํานึงว่าผูป่วยทีรบการรักษาในต่างประเทศจะมีความเสียงบางด้านมากกว่าการรักษาใน ่ ้ ่ั ่ ประเทศตนเอง เช่น อาจมีขอจํากัดมากกว่า (หรือบางครังก็เป็ นไปไม่ได้) ในการฟ้องร้องในกรณีท่เกิดความ ้ ้ ี เสียหายที่เกิดจากการรักษาพยาบาล หรือในด้านการรักษาต่อเนื่อง (follow up) เมื่อผูป่วยเดินทางกลับไปสู่ ้ ประเทศตัวเองแล้ว และการมีระบบการคุ้มครองผู้ป่วยที่ดคงจะมีส่วนในการผลักดันให้สถานพยาบาลต้อง ี ปรับปรุงคุณภาพของตนตามไปด้วย (ดูการวิเคราะห์ประเด็นนี้ได้ใน วิโรจน์ ณ ระนอง 2541) 5 ซึงอาจส่งผลไปถึงงบค่าใช้จายของภาครัฐด้วย ่ ่ 2
  • 21. ยอมให้มการดําเนินการในอีกด้านหนึ่งด้วย) ก็ควรต้องมีการกําหนดเป้าหมายและมาตรการ ี ควบคุมทีคํานึงถึงผลกระทบภายนอก (externality) เพื่อจํากัดผลกระทบด้านลบทีอาจเกิดขึนให้อยู่ ่ ่ ้ ในระดับทียอมรับได้ ่ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยคณะทํางานเศรษฐกิจภาคบริการ ได้ ตระหนักถึงข้อเท็จจริงและสภาพการณ์ ดงกล่าว ประกอบกับบทบาทของสภาที่ปรึกษาฯ มี ั ั หน้าที่ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในปญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและ สังคม โดยเฉพาะประเด็น เกี่ย วกับ ชีวิต ความเป็ น อยู่ การประกอบอาชีพ ที่มีผ ลกระทบกับ ประชาชนทังประเทศ จึงได้สนับสนุ นให้คณะผู้วิจยจัดทําโครงการศึกษาวิจย “แนวทางการ ้ ั ั พัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของประเทศไทย (Thailand Medical Hub)” เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ และผลกระทบของนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทยกับนโยบายด้านสุขภาพอื่นๆ ทีเกี่ยวข้อง ่ (เช่น นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ฯลฯ) เพือนํามาเป็ นข้อมูลจัดทําแนวทางการปรับปรุง ่ นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ของไทยในบริบทที่มความสัมพันธ์และสมดุลย์กบนโยบาย ี ั หลัก ประกัน สุข ภาพถ้ว นหน้ า และนโยบายที่เ กี่ย วข้อ งอื่น ๆ เพื่อ ให้เ กิด ประโยชน์ สูงสุ ด กับ ประเทศไทยต่อไป 1.1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ ม และผลการดําเนินการของนโยบายศูนย์กลางทาง การแพทย์ (medical hub) ของไทยตังแต่ปี พ.ศ.2546 เป็ นต้นมา ้ 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการคนไข้ต่างชาติตามนโยบายศูนย์กลางด้านสุขภาพ ในประเทศไทยกับประเทศอื่นที่มการผลักดันนโยบายนี้ ในทวีปเอเชีย ทังในด้านสภาพ ี ้ ั ปญหา อุปสรรค และศักยภาพ เพื่อนํ ามากําหนดแนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของ ไทย 3. เพื่อ ศึก ษาความสัม พัน ธ์ แ ละผลกระทบของนโยบายศู น ย์ ก ลางสุ ข ภาพของไทย (Thailand Medical Hub) กับนโยบายด้านสุขภาพอื่นๆ ทีเกียวข้อง ทังในด้านผลกระทบ ่ ่ ้ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบต่ อบุคลากร และผลกระทบที่มีต่อราคาของ บริการด้านสุขภาพและการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของประชาชน ่ ี 4. เพื่อศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อให้ทราบถึง มุมมอง ทัศนะ และข้อเสนอในด้านแนวทางและ ั ่ มาตรการปรับปรุง และ/หรือ แก้ไขปญหา จากมุมมองของฝายต่างๆ ตังแต่ผทมสวนใน ้ ู้ ่ี ี ่ การกําหนดนโยบาย ไปจนถึงกลุ่มผูทมสวนได้สวนเสียต่างๆ ้ ่ี ี ่ ่ ้ ่ ั ่ 5. เพือสังเคราะห์ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เพือให้รฐบาลและฝายต่างๆ ทีเกียวข้องนําไป ่ ่ ่ ดําเนินการให้เกิดประโยชน์สงสุดต่อประเทศ ู 3
  • 22. 1.2 ขอบเขตการศึกษา 1) ศึกษาผลกระทบของนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทย (Thailand Medical Hub) ทังในด้านผลกระทบต่ อเศรษฐกิจ ผลกระทบที่มต่อบุ คลากร และผลกระทบที่มต่อราคาของ ้ ี ี บริการด้านสุขภาพและการเข้าถึงบริการทีมคุณภาพของประชาชน ่ ี 2) ศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศ ่ ิ ้ ั คูแข่งในภูมภาคนี้ อันได้แก่ สิงคโปร์ อินเดีย และมาเลเซีย ทังในด้านสภาพปญหา อุปสรรค และ ศักยภาพ 3) นํ า เสนอข้อ เสนอแนะเชิง นโยบายในการพัฒ นาแนวทางการดํา เนิ น นโยบายที่ เหมาะสมสําหรับ การพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของไทย และมีความสมดุ ล กับนโยบายด้าน สุขภาพทีเกียวข้อง โดยเฉพาะนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ่ ่ 1.3 ระยะเวลาที่ศึกษา 12 เดือน (กันยายน 2550 ถึง สิงหาคม 2551) 1.4 วิธีการดําเนินงาน 1) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอมูลจากเอกสารรายงานและเอกสารการวิจย ้ ั ที่เกี่ยวกับสถานการณ์ แนวโน้ม และผลการดําเนินการของนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ของไทย 2) ศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศ เพือนบ้าน ทีเป็ นคูแข่งในภูมภาคนี้ อันได้แก่ สิงคโปร์ อินเดีย และมาเลเซีย ่ ่ ่ ิ 3) สัมภาษณ์เชิงลึก และเก็บข้อมูลจากสถานพยาบาล และหน่วยงานทีมสวนเกียวข้อง ่ ี่ ่ กับการดําเนินงานตามนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทย และนโยบายทีเกียวข้องอื่นๆ่ ่ 4) จัดประชุมสัมมนาเสนอผลการศึกษา และระดมความคิดเห็นผูเกียวข้องและผูมสวน ้ ่ ้ ี่ ได้ส่วนเสีย เพื่อนํ าความคิดเห็น มุมมอง และข้อเสนอแนะของฝ่ายต่างๆ มาสังเคราะห์เป็ น ข้อเสนอเชิงนโยบายสําหรับทางสภาทีปรึกษาฯ และรัฐบาลต่อไป ่ 1.5 วิธีการศึกษาโดยละเอียด การศึกษานี้แบ่งออกเป็ น 7 ส่วนหลักๆ โดยในส่วนแรกเป็ นการศึกษาความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ม และการดําเนินการตามนโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ส่วนทีสองศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทย กับประเทศอื่น ่ ทีมการดําเนินการด้าน medical tourism ส่วนที่ 3 ประมาณการผลกระทบของการมี medical ่ ี hub ที่มต่อเศรษฐกิจของประเทศ ในด้านรายรับและมูลค่าเพิมที่เกิดจากการให้บริการทาง ี ่ การแพทย์ และในกิจกรรมที่ต่ อ เนื่ อง เช่น การท่องเที่ยว ส่ว นที่ 4-5 เป็ นการศึกษา 4
  • 23. ความสัมพันธ์และผลกระทบของนโยบายศูนย์กลางสุขภาพของไทยกับนโยบายหลักประกัน สุข ภาพถ้ว นหน้ า ทังในด้า นผลกระทบที่มต่ อบุ ค ลากร และผลกระทบที่มีต่ อ ราคาค่า ้ ี รัก ษาพยาบาลและการเข้าถึงบริการที่มคุณภาพของคนไทย และส่ว นที่ 7 เป็ นการนํ าผล ี การศึกษาข้างต้นมาจัดเวทีแลกเปลี่ยนมุมมอง ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะฝ่ายต่างๆ และ นํามาสังเคราะห์เป็ นข้อเสนอเชิงนโยบายสําหรับสภาทีปรึกษาฯ และรัฐบาล ่ ส่วนที ่ 1: ศึกษาความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ ม และการดําเนิ นการตาม นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ของไทย การศึก ษาในส่ว นนี้ ใ ช้ข้อ มูล จากสองส่ว นหลัก ๆ คือ การทบทวนข้อมูล จากเอกสาร (content analysis) จากหน่ วยงานต่างๆ ทีเกี่ยวข้อง ทังหน่ วยงานของภาครัฐและเอกชน ่ ้ ประกอบกับการสัมภาษณ์ เจาะลึกผู้บริหารองค์กรและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง แล้วนํ ามาสรุป เพือให้ได้ทราบถึงประวัตความเป็ นมา สถานการณ์ แนวโน้ม และผลการดําเนินการของนโยบาย ่ ิ ศูนย์กลางทางการแพทย์ (medical hub) ของไทยโดยมีจุดเน้นตังแต่ปี พ.ศ.2546 เป็ นต้นมา ้ ในด้านการการทบทวนข้อมูลจากเอกสารนัน การศึกษาส่วนนี้อาศัยข้อมูลทุตยภูมจาก ้ ิ ิ หน่วยงานราชการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ และ ่ กระทรวงศึกษาธิการ (ซึงมีบทบาทกํากับโรงเรียนแพทย์) ่ และการวิเคราะห์ขอมูลของ ้ ้ ่ โรงพยาบาลเอกชนในตลาดหลักทรัพย์ท่ี specialize ในด้านการรักษาผูปวยต่างประเทศ จาก ข้อมูลทีโรงพยาบาลเหล่านันรายงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ่ ้ ในส่วนของการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงพยาบาลภาคเอกชนนัน ใช้วธีสมภาษณ์ เจาะลึก ้ ิ ั ่ ั ั โรงพยาบาลเอกชนสามกลุ่มคือ กลุ่มทีเน้นการให้บริการชาวต่างชาติในปจจุบน กลุ่มทีเริมขยาย่ ่ ั ั บริการด้านนี้ในระยะหลัง และกลุ่มที่ไม่ได้เน้ นการให้บริการชาวต่ างชาติในปจจุบน ในการ สัมภาษณ์ส่วนนี้ นอกจากจะครอบคลุมประเด็นทีกล่าวมาในตอนต้น และพยายามเปรียบเทียบ ่ แนวทางและวิธการดําเนินการของโรงพยาบาลทีเน้นการให้บริการชาวต่างชาติว่ามีส่วนสําคัญ ี ่ อะไรบ้างทีแตกต่างจากโรงพยาบาลเอกชนกลุ่มทีไม่ได้เน้นการให้บริการชาวต่างชาติแล้ว ยังได้ ่ ่ สอบถามถึงอุปสรรคและความต้องการความสนับสนุ นจากภาครัฐด้วย (ตัวอย่างเช่น ที่ผ่านมา ภาคเอกชนบางส่วนเห็นว่า ความช่วยเหลือของรัฐทีประกอบด้วยการจัดประชาสัมพันธ์ในทาง ่ ประเทศ รวมทัง road show ทีให้เอกชนร่วมเดินทางไปประชาสัมพันธ์ และการช่วยเหลือด้าน ้ ่ ยืดอายุวซ่าให้แก่คนไข้และญาติทตามมาดูแล ยังไม่เพียงพอทีจะสนับสนุ นให้นโยบายนี้ดาเนิน ี ่ี ่ ํ ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ) การศึกษารวมไปถึงโรงพยาบาลรัฐขนาดใหญ่ทเป็ นโรงเรียนแพทย์ ่ี ด้วย สําหรับการสัมภาษณ์ผูบริหารภาครัฐนัน นอกจากจะครอบคลุมประเด็นต่างๆ ข้างต้น ้ ้ แล้ว ในส่วนของผู้บริหารหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพ (เช่น กระทรวงสาธารณสุข ผูบริหารโรงเรียนแพทย์และคณะทันตแพทย์ และพยาบาล) ยังเชื่อมโยงไปถึงการกํากับดูแลใน ้ ด้ า นมาตรฐานและการคุ้ ม ครองผู้ บ ริโ ภค ด้ า นกํ า ลัง คน และผลกระทบที่มีต่ อ โครงการ 5
  • 24. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการประกันสังคม และภาพรวมด้านสุขภาพของประเทศ ตลอดจนความเห็นเกียวกับทิศทางแนวทางทีเหมาะสมในการพัฒนาศูนย์กลางทางการแพทย์ท่ี ่ ่ เหมาะสมและสมดุลย์สาหรับประเทศไทยด้วย ํ ส่วนที ่ 2: ศึกษาเปรียบเทียบการให้บริ การศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทย กับประเทศอืนทีประสบความสําเร็จ และทีพยายามผลักดันโครงการ medical ่ ่ ่ hub ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศเดียว (หรือประเทศแรก) ในภูมภาคนี้ ทีพยายามผลักดันให้ ิ ่ ประเทศตัวเองกลายเป็ น medical hub ตัวอย่างประเทศเพื่อนบ้านทีผลักดันเรื่องนี้มาก่อนและ ่ ประสบความสําเร็จพอสมควรคือ สิงคโปร์ นอกจากนี้ยงมีประเทศอื่นๆ ในภูมภาคนี้ทพยายาม ั ิ ่ี ดันตัวเองขึนมา แต่ยงไม่ประสบความสําเร็จเท่าสิงคโปร์ เช่น อินเดีย และมาเลเซีย ้ ั บทเรียนของทังประเทศทีเคยประสบความสําเร็จมาก (เช่น สิงคโปร์) และประเทศที่ ้ ่ ยังไม่ประสบความสําเร็จมากน่ าจะเป็ นประโยชน์ในการกําหนดแนวทางพัฒนา medical hub ของไทย นอกจากนี้ การทีหลายประเทศในภูมภาคพยายามดันตัวเองขึนมาเป็ น medical hub ่ ิ ้ ย่อมหมายความว่าประเทศเหล่านี้เป็ นคู่แข่งของไทยในระดับหนึ่ง การศึกษาเปรียบเทียบการ ให้บริการศูนย์กลางด้านสุขภาพในประเทศไทยกับประเทศเหล่านี้ (โดยเฉพาะอย่างยิงในทวีป ่ ั เอเชีย) ทังในด้านสภาพปญหา อุปสรรค และศักยภาพ จึงน่ าจะเป็ นประโยชน์ในการกําหนด ้ แนวทางการพัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของไทย การศึกษาในส่วนนี้ประกอบด้วยการศึกษาพืนฐานและผลการดําเนินการของ medical ้ hub ในประเทศต่างๆ ในภูมภาคนี้ โดยการทบทวนจากเอกสารและทางอินเตอร์เน็ต รวมทังผล ิ ้ ่ี ่ ้ ั การประชุมสัมมนานานาชาติทเกียวข้อง เพื่อให้ได้เรียนรูสภาพปญหา อุปสรรค ศักยภาพ และ แผนงานในอนาคตของ medical hub ในประเทศอื่นๆ เพื่อนําบทเรียนมาเสนอแนวทางการ พัฒนาศูนย์กลางสุขภาพของไทยต่อไป ส่วนที ่ 3: ศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิ จของประเทศ การศึกษาส่วนนี้ประมาณการผลกระทบของการมี medical hub ทีมต่อเศรษฐกิจของ ่ ี ประเทศ ทังในด้านรายรับ (และมูล ค่า เพิ่ม) ที่เ กิดจากการให้บ ริก ารทางการแพทย์ และใน ้ กิจกรรมทีต่อเนื่อง เช่น การท่องเทียว ทังในส่วนของผูป่วยในช่วงก่อนและหลังการรับบริการ ่ ่ ้ ้ ด้านการแพทย์ และในส่วนของญาติทเี่ ดินทางมาด้วย การประมาณการในส่วนของบริการด้านการแพทย์ คณะผูวจยได้พยายามหาข้อมูลปฐม ้ิั ภูมจากการศึกษาในส่วนอื่นๆ (เช่น ส่วนที่ 1 ในการสัมภาษณ์และขอข้อมูลจากสถานพยาบาล) ิ และข้อมูลทุติยภูมจากตลาดหลักทรัพย์ สําหรับในส่วนของกิจกรรมที่ต่อเนื่องก็ได้พยายาม ิ ประยุกต์ใช้ขอมูลจากการสัมภาษณ์ผูประกอบการและข้อมูลจากหน่ วยงานรัฐทีเกี่ยวข้อง (เช่น ้ ้ ่ ้ ั ททท.) แต่การหาข้อมูลในทังสองส่วนมีปญหาค่อนข้างมาก จึงได้หนไปใช้ตวเลขของทาง ั ั 6