SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 47
Descargar para leer sin conexión
1 
การใช้งานโปรแกรม ArcGIS เบื้องต้น 
1. การเข้าสู่โปรแกรม ArcGIS 
หลังจากติดตั้งโปรแกรม ArcGIS เรียบเร้อยแล้ว สามารถเรียกใช้งานได้ด้วยวิธีการต่อไปนี้ 
1 คลิกเมาส์ที่ปุ่ม 
2 เลื่อนเมาส์เลือกคาสั่ง Program > ArcGIS > ArcMap 
3 โปรแกรมจะแสดงผลการทางานหน้าแรก 
2 3 
รูปที่ 1 การเข้าโปรแกรม ArcGIS 
1 
2. ระบบการทางานของโปรแกรม ArcGIS 
หน้าต่างแรกที่โปรแกรมแสดงเป็นการเลือกการใช้งานครั้งแรก ผู้ใช้สามารถเลือกใช้งานตาม 
ต้องการโดยมีเงื่อนไขการใช้ดังนี้ 
2.1 A new empty map สร้าง Project แล้วกด OK 
2.2 Browse for maps.. เป็นการเปิดแฟ้ม Project ที่มีอยู่แล้วขึ้นมาใช้งาน
2 
หน้าต่างแรก 
สร้าง Project 
เปิดใช้ Project ที่มีอยู่ 
รูปที่ 2 หน้าต่างแรกของโปรแกรม ArcGIS 
เมนูหลัก 
รายการเครื่องมือหลักของ Project 
รูปที่ 3 หน้าต่างการทางานหลักของโปรแกรม ArcGIS
3 
3. ไอคอนหรือปุ่ม ( button) คาสั่ง ซึ่งมีกลุ่มคาสั่งที่สาคัญ คือ 
Zoom In ใช้ขยายภาพออกโดยการกาหนดขอบเขตพื้นที่ที่ต้องการ 
Zoom Out ใช้ย่อภาพเข้าโดยการกาหนดขอบเขตพื้นที่ที่ต้องการ 
Zoom In ขยายแผนที่จากหน้าจอทีละสเต็ป 
Zoom Out ย่อแผนที่จากหน้าจอทีละสเต็ป 
Pan ใช้เมาส์จับเลื่อนแผนที่เคลื่อนย้ายไปตาแหน่งที่ต้องการ 
Full Extent ขยายแผนที่เต็มพื้นที่ของหน้าต่าง View 
Go Back Previous Extent ใช้ย้อนกลับไปแสดงภาพก่อนหน้านี้ 
Go To Next Extent ใช้แสดงภาพในหน้าถัดไป 
Select Features ใช้สาหรับเลือกข้อมูล 
Clear Selected Features ยกเลิกบริเวณที่ได้วาดแนวเขตไว้ 
Select Elements การใช้เมาส์เลือกตาแหน่งของวัตถุในแผนที่ 
Identify ใช้สาหรับดูคาอธิบายใน Theme ต่างๆ ที่แสดง 
Find ใช้สาหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการ 
Go To XY การกาหนดค่าพิกัดที่แสดงตาแหน่งในแผนที่ 
Measure ใช้สาหรับวัดระยะในแผนที่ โดยผลการวัดแสดงเป็น 2 ส่วน คือ 
1. ส่วน Segment Length คือ ความยาวของจุดสุดท้ายที่ 
ลากมายังจุดสุดท้ายที่ต้องการวัด 
2. ส่วน Length คือ ความยาวของเส้นทั้งหมดที่ลากใน 
การวัดระยะทางครั้งนั้น 
Hot Link ใช้สาหรับเชื่อมโยงข้อมูลแผนที่กับข้อมูลอื่นๆ เช่น 
โปรแกรม Script ข้อมูลภาพ และข้อมูลที่เป็นคาอธิบาย 
Menu Bar เมนูหลัก เป็นเมนูคาสั่ง 
ที่ควบคุมการทางานของ Project 
Button Bar คือ ส่วนที่อยู่ใต้ Menu bar เป็นปุ่มที่ใช้เพื่อให้สะดวก 
ต่อการเข้าถึงคาสั่งต่างๆ อย่างรวดเร็ว
4 
Tools Bar คือ ส่วนที่อยู่ด้านล่าง Button Bar ที่บรรจุรูปภาพต่างๆ เพื่อให้สะดวกต่อการ 
ใช้งาน โดยสารบัญของ Tools Bar จะเปลี่ยนไปตามสิ่งที่อยู่ในหน้าต่าง View ที่ Active 
อยู่ถ้าต้องการทราบว่าปุ่มไหนใช้ทาอะไรก็ให้ใช้ลูกศรชี้ไปยังเครื่องมือนั้นก็จะปรากฏ 
คาอธิบายสั้นๆ ด้านล่าง 
Status Bar คือ ส่วนที่อยู่ด้านล่างสุด ของโปรแกรม ArcMap ซึ่งจะบอกสถานการณ์ 
ทางานของโปรแกรมในขณะนั้น 
Table คือ เป็นส่วนที่ทางานเกี่ยวกับ 
ข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute data) 
View คือ ส่วนที่แสดงภาพข้อมูล 
เชิงพื้นที่ (Spatial data)
5 
4. เมนูคาสั่งหลัก (main menu) 
4.1 เมนูคาสั่งแฟ้ม (File) เป็นคาสั่งใช้งานเกี่ยวกับการจัดการ Project เช่น การสร้างใหม่ การ 
เปิดใช้ การปิด การจัดเก็บ และการจัดเก็บเป็นชื่ออื่น ดังรูปที่ 4 
สร้าง Project ใหม่ 
เปิด Project ที่มีอยู่ 
จัดเก็บ Project ที่มีอยู่ 
จัดเก็บ Project ที่มีอยู่เป็นชื่ออื่น 
การเพิ่มชั้นข้อมูล 
การแปลงข้อมูลออกเป็นแบบรูปภาพ 
รูปที่ 4 รายการคาสั่งย่อยของเมนูคาสั่งแฟ้ม (File) 
4.2 เมนูคาสั่งวินโดร์ ( Window) เป็นรายการคาสั่งควบคุมการทางานของหน้าต่างที่เปิดใช้งาน 
ประกอบด้วยคาสั่ง ดังรูปที่ 5 
การทางานของพื้นที่ว่าอยู่ส่วนไหน 
การ Zoom พื้นที่โดยการกาหนดเปอร์เซ็นต์ได้ 
การกาหนดมาตราส่วนโดยการเลือก 
การปิด-เปิดขอบหน้าต่างของ Layers 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ 
เครื่องมือในการวิเคราะห์โดยใช้คาสั่งจากการพิมพ์ 
รูปที่ 5 รายการคาสั่งย่อยของเมนูคาสั่งวินโดว์ (Window)
6 
5. การเปิดใช้ข้อมูลแผนที่ 
กรณีแฟ้มข้อมูลที่เป็น Shapefile (คือ ชั้นข้อมูลที่มีนามสกุล .shp) ที่ใช้งานทั่วไปอาจอยู่ในหรือ 
นอกไฟล์ Project ก็สามารถที่จะนาเข้าโปรแกรมได้ ที่สาคัญ ข้อมูลแฟ้มต่างๆ ที่จะใช้งานควรสร้าง 
โฟลเดอร์ใหม่แล้วคัดลอกแฟ้มต่างๆ ที่จะใช้งานมาเก็บไว้โดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการนาข้อมูล 
ไปใช้กับเครื่องอื่นๆ ในตัวอย่างจะใช้ข้อมูลของตาบลสวนหลวง ซึ่งมีขั้นตอนการทางาน ได้ 2 วิธี ดังนี้ 
วิธีที่ 1 
1. เข้าโปรแกรม ArcMap เลือก A new empty map คลิก OK 
2. เลือกไอคอนคาสั่ง Add Data 
3. เลือกเปิดแฟ้ม 48364.img ซึ่งเป็นแฟ้มข้อมูล แผนที่ L7018 ระวาง 48364 แล้ว คลิก Add 
ข้อมูลขอบเขตหมู่บ้านก็จะปรากฏขึ้น ดังรูปที่ 6 
4. การออกจากโปรแกรม เลือกเมนู File เลือก Exit หรือ คลิกเครื่องหมาย บนโปรแกรม 
วิธีที่ 2 
1. เปิด ArcCatalog ที่อยู่บนเมนูของโปรแกรม ArcMap ขึ้นมา 
2. คลิกเมาส์ซ้าย ชั้นข้อมูล ที่ต้องการเลือก (48367.img) ค้างไว้ แล้วทาการลากข้อมูลที่ 
เราต้องการมาไว้ใน Layers ของ ArcMap แล้ว กด OK ดังรูปที่ 6 
3. การออกจากโปรแกรม เลือกเมนFู ile เลือก Exit หรือ คลิกเครื่องหมาย บนโปรแกรม หรือ 
คลิกเครื่องหมาย เพื่อย่อหน้าจอโปรแกรมลง และถ้าจะใช้งานอีกก็สามารถเปิดขึ้นมาใช้งานให ม่ได้ 
การเปิดใช้ข้อมูลแผนที่ วิธีที่ 1 การเปิดใช้ข้อมูลแผนที่ วิธีที่ 2 
รูปที่ 6 การเปิดแฟ้ม 48364.img 
3 
2 
4 
1 
2 
4
7 
6. การเปิดชั้นข้อข้อมูลเพิ่ม 
ในกรณีที่มีการเพิ่มชั้นข้อมูลเข้ามาใน Layer แล้วไม่สามารถ มองเห็นชั้นข้อมูลนั้น สามารถทา 
ได้โดย ดังรูปที่ 7 
1. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ 
2. ลากชั้นข้อมูลที่ต้องการขึ้นไปอยู่ด้านบนลาดับแรกใน Layers ชั้นข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏ 
2 
รูปที่ 7 การเลื่อนชั้นข้อมูลให้อยู่บนสุด 
1 
7. การปรับเปลี่ยนสีให้แผนที่ ( Layer Properties) 
เป็นเครื่องมือแก้ไขปรับแต่งข้อมูลกรา ฟฟิกแผนที่ (Point, Line, Polygon) ให้มีรูปแบบแสดงผลที่ 
ต้องการ เช่น พื้นสีของพื้นที่ ขนาดของเส้น และสีของเส้นและจุด มีขั้นตอนดังนี้ 
1. เลือกดับเบิ้ลคลิกที่ ชั้นข้อมูล หรือคลิกขวา เลือก Layer Properties 
2. ที่ Layer Properties เลือก Symbology 
3. คลิกที่ช่องสี Symbol หน้าต่างข้อมูลการแก้ไขต่างๆ จะปรากฏขึ้นS (ymbol Selector) ดังรูปที่ 8 
4. ถ้าต้องการแก้ไขพื้นสี ( Symbol Selector) ให้เลือกสีที่ต้องการ ขนาดเส้นขอบเขตตาบล 
(Outline Width) สีของเส้นขอบเขตตาบล (Outline Color) แล้ว กด OK แล้วปิดหน้าต่าง ถ้าต้องการ 
จัดเก็บข้อมูลที่กาหนด ก็ทาได้โดยการเลือกคาสั่ง Save ที่ Menu File จะได้รูปแบบข้อมูล ซึ่งนามสกุลจะ 
เป็น . Avl 
5. ถ้าต้องการตรวจสอบพื้นสีที่แก้ไข ให้เลือกคาสั่ง Apply ถ้าไม่ต้องการแก้ไขพื้นที่สีแล้ว ให้ 
กด OK แต่ถ้าต้องการแก้ไขใหม่อีก ก็ทาตามขั้นตอน 3 และ 4
8 
รูปที่ 8 การแก้ไขพื้นสีของข้อมูลแผนที่ 
8. การแสดงชื่อหรือข้อความ (Label) ให้ Feature ต่างๆ ดังนี้ 
1. ดับเบิ้ลคลิกที่ ชั้นข้อมูลที่ต้องการ (ชั้นข้อมูลขอบเขตหมู่บ้าน) 
2. เลือกเมนู Labels 
3. คลิกเครื่องหมาย  ที่ Label Features in this Layer 
4. ทาการเลือก TAM_NAM_T ในช่อง Label Field 
5. เปลี่ยนตัวหนังสือ ขนาด สี ตามความต้องการ 
6. กด OK (ถ้าต้องการลบชื่อหรือข้อความในแผนที่ให้คลิกเครื่องหมาย  ที่ Label Features 
in this Layer ออก) หมายเหตุ : ในกรณีที่ต้องการปรับแต่งตัวหนังสือให้เป็นเงา และนูนขึ้นมา สามารถ 
ทาได้ดังนี้ 
7. เลือก Symbol 
8. ดับเบิ้ลคลิกที่ Perview ตรงกรอบสี่เหลี่ยม 
9. เลือก Mask ทาการการคลิกที่ Halo แล้วคลิกที่ Symbol ทาการเลือกสี ขนาด และตัวอักษรได้ 
ตามความต้องการ กด OK 
1 
2 
3 
4
9 
1 3 
2 
4 5 
6 
7 
5 
รูปที่ 9 การแสดงชื่อหรือข้อความให้แผนที่ และการปรับแต่ตัวหนังสือ 
9 การ Zoom แผนที่ (การย่อ-ขยายส่วนที่ต้องการ) 
1. คลิก Zoom In ที่ Tool Bar เพื่อขยายดูส่วนที่ต้องการได้เมื่อเลื่อน Cursor ไปที่ View 
Cursor จะเปลี่ยนเป็นรูปแว่นขยายให้เลื่อน Cursor ไปที่บริเวณที่ต้องการขยายภาพ 
2. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ และลากกรอบบริเวณที่ต้องการ เมื่อปล่อยปุ่ม Mouse ภาพใน View จะ 
ถูกขยายขึ้น ดังรูปที่ 10 
8 
7 
5 
9
10 
รูปที่ 10 การย่อ-ขยาย ส่วนที่ต้องการในแผนที่ 
3. คลิก Zoom out ที่ Tool bar ต้องการย่อภาพให้เล็กลง 
4. ถ้าต้องการเคลื่อนย้ายภาพ คลิก Pan ที่ Tool Bar แล้วเลื่อน Cursor เข้าไปใน View ที่ 
บริเวณกลางภาพ Cursor จะเปลี่ยนเป็นรูปมือ (การเคลื่อนย้ายภาพ ซ้าย – ขวา – บน - ล่าง) 
5. ถ้าต้องการจะ Save Project คลิก File menu ที่ Menu bar เลือก Save Asจะปรากฏหน้าต่าง 
Save As ซึ่งจะเป็นการระบุ Directory ที่จะเก็บ Project ของคุณ 
6. ดับเบิ้ลคลิกเข้าไปที่ E:ตามด้วยไดร์ที่เราต้องการเก็บข้อมูล แล้วพิมพ์ชื่อ File name 
7. คลิกที่ Save ดังรูปที่ 1 1 
รูปที่ 11 การ Save Project
11 
10. การหาพิกัดตาแหน่ง ( X,Y) ในแผนที่ 
1. คลิกตาแหน่งที่ View เพื่อดูค่าพิกัด แล้วทาการจดค่าพิกัดไว้ 
2. คลิก ที่เครื่องหมาย go to XY 
3. คลิกเครื่องหมาย Units เลือกคลิก  ที่ Meters (ในกรณีที่ แถบ Units ตัวหนังสือเป็น 
สีเทา โดยปกติตัวหนังสือจะขึ้นเป็นสีดา เพราะข้อมูลยังไม่ได้ทาการแก้ไขจาก Unknown Units ให้เป็น 
Meters ทั้งสองช่อง เราสามารถทาการแก้ไขโดย 
3.1 ดับเบิ้ลคลิกที่ Layers 
3.2 คลิกที่ General ทาการเปลี่ยน Map : Meters และ Display : Meters 
4. ทาการพิมพ์ค่าพิกัดที่ได้ทาการจดไว้ลงในช่อง X และ Y 
5. คลิกที่ปุ่ม 
6. คลิกที่ปุ่ม Pan เพื่อดูตาแหน่งที่เราได้ใส่ค่าพิกัด 
7. ตาแหน่งที่ได้ทาการหาโดยการใส่ค่าพิกัด X,Y 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
รูปที่ 12 การค้นหาพิกัดตาแหน่ง X,Y ในแผนที่ 
2 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
3 
2 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
3.1 
321 
654 
321 
4 
3 
2 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
5 
3 
2 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
6 
5 
3 
2 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
7 
5 
3 
2 
1 
6 
5 
4 
3 
2 
1
12 
11. การสร้างและแก้ไขข้อมูล 
11.1 การนาเข้าข้อมูล แบบจุด ( Point) , แบบพื้นที่ปิด (Polygon) และ แบบเส้น (Polyline) 
 เปิดโปรแกรม ArcCatalog ขึ้นมา ดังรูปที่ 13 
1. ลาก แผนที่ L7018 ระวาง 48364 มาวางไว้ที่ ArcMap 
2. ทาการสร้าง ShapeFile ใหม่ โดย คลิกขวา เลือก New เลือก ShapeFile 
3. เปลี่ยนชื่อ Name 
4. Feature Type เป็น Point หรือ แบบ Polygon หรือ แบบ Polyline 
5. คลิก Edit 
6. เลือก Import 
7. ไปยังไดร์ที่เราเก็บแผนที่ L7018 แล้วคลิกเลือกภาพแผนที่ แล้วคลิก Add 
8. ก็จะทราบค่าภาพนี้อยู่ที่พิกัดเท่าไหร่ และโซนอะไร กด OK 
หมายเหตุ : ขั้นตอนการนาเข้าข้อมูลแบบจุด (Point) สามารถนาไปใช้กับการนาเข้าข้อมูล 
แบบพื้นที่ปิด (Polygon) และ แบบเส้น (Polyline) 
1 
2
13 
3 
4 
5 
6 
รูปที่13 การเปิดแผนที่และการสร้าง ShapeFile ใหม่ 
9. ทาการลาก ShapeFile ที่เราสร้างขึ้นมาใหม่มาวางไว้ที่โปรแกรม ArcMap 
10. สามารถเปลี่ยนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจุดได้ โดยเลือกดับเบิ้ลคลิกที่ ชั้นข้อมูล เลือก 
Symbol หรือคลิกตรงจุด จากนั้นเลือกสัญลักษณ์และขนาด ( Size) ที่ต้องการ จากนั้น กดปุ่ม OK 
ดังรูปที่ 14 
รูปที่ 14 การทางาน ShapeFile และการเปลี่ยนสัญลักษณ์ ขนาด และสี 
7 
8 
9 10
14 
11.2 วิธีการ Digitize Point (การนาเข้าข้อมูลแบบจุด) 
1. คลิกที่ Editor เลือก Start Editing 
2. เลือกรูปเครื่องมือ ที่เป็นรูปดินสอปากกา 
3. แล้วทาการ Digitize ข้อมูลที่เราต้องการได้เลย ดังรูปที่ 15 
1 2 
รูปที่ 15 การ Digitize Point 
11.3 การ Digitize Polygon (การนาเข้าข้อมูลแบบพื้นที่ปิด) 
3 
การนาเข้าข้อมูลที่เป็น โพลีกอน วิธีการตอนแรกจะคล้ายกับการนาเข้าแบบจุด Point 
จะมีแต่วิธีการนาเข้าจะไม่เหมือนกัน โดยการเปลี่ยนชื่อและเปลี่ยนชนิดของชั้นข้อมูล (ดูวิธีการนาเข้าใน 
หัวข้อที่ 11.1) การนาเข้าแบบ Polygon มีวิธีการ ดังรูปที่ 16 
1. เปิด ArcCatalog ทาการลาก Shape File ที่เราได้สร้างไว้มาที่ ArcMap 
2. คลิก Editor เลือก Start Editing 
3. ทาการขยายภาพให้ใหญ่ขั้นและเห็นพื้นที่ได้ชัดเจน โดยเลือกเลือกมือ Zoon In 
4. เลือกเครื่อง มือ ที่เป็นรูปดินสอ 
5. ทาการ Digitize ข้อมูลที่เราต้องการได้เลย พอใกล้จุดที่จะปิดใหD้ ouble Click
15 
รูปที่ 16 การ Digitize Polygon (การนาเข้าข้อมูลแบบพื้นที่ปิด) 
6. การเปลี่ยนสี Polygon ให้ Double Click ที่ Theme หรือ พื้นที่สี่เหลี่ยม ที่ต้องการจะ 
เปลี่ยนสี 
7. คลิก Symbology จากนั้นให้ Double Click ที่กรอบสี่เหลี่ยมในช่อง Symbol ก็จะ 
ขึ้นหน้า Symbol Selector 
8. เลือก Hollow คือ ไม่เติมสีลงไป ที่หน้าต่าง Preview จะได้ Polygon ที่ไม่มีสี 
9. ถ้าต้องการใส่สีของเส้นขอบ Polygon ให้เลือกที่ Outline Color แล้วเลือกขนาดของ 
เส้น กด OK และ กด OK อีกครั้ง 
10. ผลลัพธ์ที่ได้จากการเปลี่ยนสีเส้นขอบ 
รูปที่ 17 การเปลี่ยนสีเส้นขอบของ Polygon 
2 
5 
3 
2 
5 
4 
3 
2 
5 
5 
3 
2 
5 
6 
5 
3 
2 
5 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
9 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
10
16 
การแก้ไข Polygon (พื้นที่แบบปิด) 
1. คลิกที่เครื่องมือ Edit Tool 
2. แล้วมา Double Click ที่ Polygon เพื่อให้ขึ้นจุด 
3. ทาการเคลื่อนลากเส้นที่เป็นจุดเพื่อแก้ไข 
4. ถ้าจะเพิ่มจุดให้ คลิกขวาที่เส้น เลือก Insert Vertex และ ถ้าจะทาการลบจุดออกให้ คลิก 
ขวาที่จุด แล้วเลือก Delete Vertex 
5. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ไปที่ Editor เลือก Stop Editing 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
4 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
รูปที่ 18 การแก้ไข Polygon 
11.5 การ Digitize Polyline (การนาเข้าข้อมูลแบบเส้น) 
การนาเข้าข้อมูลที่เป็น โพลีลาย วิธีการตอนแรกจะคล้ายกับการนาเข้าแบบจุด Point 
จะมีแต่วิธีการนาเข้าจะไม่เหมือนกัน โดยการเปลี่ยนชื่อและเปลี่ยนชนิดของชั้นข้อมูล (ดูวิธีการนาเข้าใน 
หัวข้อที่ 11.1) การนาเข้าแบบ Polyline มีวิธีการ ดังรูปที่ 19 
1. เปิด ArcCatalog ทาการลาก Shape File ที่เราได้สร้างไว้มาที่ ArcMap 
2. คลิก Editor เลือก Start Editing 
3. ทาการเปลี่ยนสีเส้น โดย Double Click ที่ Theme หรือ Click ที่เส้นโดยตรง เพื่อให้ 
หน้าที่ Layer Priorities แสดงขึ้นมา จากนั้น Double Click ไปที่ Symbol เลือกประเภทเส้น ทาการเปลี่ยน 
สีที่ Color และขนาด ที่ Width กด OK และ กด OK อีกครั้ง
17 
3 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
รูปที่ 19 การเปลี่ยนสี Polyline (แบบเส้น) 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
4. ทาการตั้งระยะ Snap (ระยะที่ทาให้ Feature ติดกัน) คลิก Editor เลือก Snapping 
5. ทาการ คลิกเครื่องหมาย  ที่ช่องสี่เหลี่ยมของ layer (Theme ที่เรากาลังทางานอยู่) ให้ 
คลิกที่สี่เหลี่ยมทุกช่อง 
6. ทาการปิดเครื่องหมาย 
5 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
6 
5 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
รูปที่ 20 การตั้งระยะ Snap 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
7. ทาการขยายภาพให้ใหญ่ขั้นและเห็นพื้นที่ได้ชัดเจน โดยเลือกเลือกมือ Z o o n In 
8. เลือกเครื่อง มือ ที่เป็นรูปดินสอ 
9. ทาการ Digitize ไปเรื่อยๆ พอเสร็จให้ Double Click
18 
10. การแก้ไขเพื่อย้าย Vertex ให้คลิกที่เมนู Edit Tool จากนั้นคลิกที่ต้องการ แล้วลาก 
ดึง Vertex ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ 
รูปที่ 21 การ Digitize แบบเส้น (Potyline) 
7 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
วิธีการลบเส้นที่เราไม่ต้องการ 
8 
7 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
9 
7 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
1. คลิกที่เครื่องมือ Edit Tool แล้วก็ไปคลิกตรงจุดที่จะตัดออก 
2. เมื่อทาการคลิกที่เส้น เส้นจะขึ้นเป็นสีฟ้า 
3. จากนั้นก็กดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์ได้เลย ดังรูปที่ 22 
10
19 
รูปที่ 22 การลบเส้นที่เราไม่ต้องการ 
12. การคานวณพื้นที่ 
12.1 การคานวณหาพื้นที่เป็น ตารางเมตร 
ในกรณีที่ต้องการหาพื้นที่ของขอบเขต โครงการก่อสร้างว่าในแต่ละโครงการมีพื้นที่เท่าไหร่นั้น มี 
ขั้นตอนการทา ดังรูปที่ 23 
1. เปิดชั้นข้อมูล พื้นที่โครงการก่อสร้างขึ้นมา 
2. คลิกขวา พื้นที่โครงการก่อสร้าง เลือก Open Attribute Table 
3. คลิก Options ที่ตาราง Attribute พื้นที่โครงการก่อสร้าง เลือก Add Field 
4. ช่อง Name ตั้งชื่อ area ช่อง Type เป็น Double (หน่วยคานวณออกมาจะเป็น ตารางเมตร) 
รูปที่ 23 การเพิ่ม Field เพื่อคานวณหาพื้นที่เป็นหน่วยตารางเมตร 
1 
7 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
2 
7 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
3 
7 
4 
2 
3 
2 
1 
8 
7 
6 
5 
3 
2 
5 
2 
3 
4
20 
5. คลิกขวาบน Feield area เลือก Calculate Geometry 
6. เลือก Use coordinate system of the data frame: ช่อง Unit เลือก square Meters [sq m] กด ok 
รูปที่ 24 การคานวณหาพื้นที่เป็นหน่วยตารางเมตร 
5 
12.2 การคานวณพื้นที่ เป็น ไร่ 
การหาพื้นที่ เป็น area โดยเอาค่าตัวเลขใน Field Area ที่อยู่ในตาราง Attribute พื้นที่โครงการ 
ก่อสร้าง มาหารด้วย 1600 (Area/1600) 
1. สร้าง Field ขึ้นมาใหม่ ช่อง Name ตั้งชื่อเป็น ไร่ ช่อง Type ตั้งชื่อเป็น Double ให้สร้าง 
Field ไว้ 3 Field เลย คือ ในตารางจะมี Field ของ ไร่ , งาน , วา (ขั้นตอนการ Add Field เหมือนกับการ 
สร้างตารางของ area) 
2. คลิกขวา ที่ Field ไร่ เลือก Properties 
3. เลือก Numeric 
4. ทาการเปลี่ยนตัวเลขทศนิยมให้เป็น 2 ตาแหน่ง กด OK 
5. คลิกขวาที่ Field ไร่ เลือก Field Calculator ตอบ Yes 
6. ใส่สูตรการคานวณหาพื้นที่ไร่ [area] /1600 กด OK 
6
21 
รูปที่ 25 ขั้นตอนการคานวณพื้นที่ เป็น ไร่ 
5 
4 
6 
2 
3
22 
12.3 การคานวณพื้นที่เป็น งาน 
ทาเช่นเดียวกับการหาพื้นที่ของ area (โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2-4 ) การหาพื้นที่ เป็น งาน 
โดยเอาเศษทศนิยมของพื้นที่ไร่ มาคูณด้วย 4 ดังรูปที่ 26 
1. คลิกขวาที่ Field งาน เลือก Field Calculator ตอบ Yes 
2. ใส่สูตรการคานวณหาพื้นที่งาน ([ไร่]- Int ( [ไร่] ))*4 
2.1 คลิกเลือก ไร่ แล้วใส่เครื่องหมาย - 
2.2 เลือกคาสั่ง Int( ) ในช่อง Functions 
2.3 คลิกเลือก ไร่ (ใส่ใน () คาสั่ง Int) 
2.4 .ใส่เครื่องหมาย วงเล็บ() ครอบปิดทั้งหมด 
2.5 พิมพ์ *4 ด้านหลังสุดของวงเล็บ 
3. กด ok 
1 
รูปที่ 26 ขั้นตอนการคานวณพื้นที่ เป็น งาน 
2 
5. คลิกขวาบน Feield area เลือก Calculate Geometry 
6. เลือก Use coordinate system of the data frame: ช่อง Unit เลือก square Meters [sq m] กด ok 
3
23 
12.4 การคานวณพื้นที่เป็น วา 
ทาเช่นเดียวกับการหาพื้นที่ของ area(เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2-4 ) การหาพื้นที่ เป็น วา โดย 
เอาเศษทศนิยมของพื้นที่งาน มาคูณด้วย 100 ดังรูปที่ 27 
1. คลิกขวาที่ Field วา เลือก Field Calculator ตอบ Yes 
2. ใส่สูตรการคานวณหาพื้นที่วา ([งาน]- Int ( [งาน] ))*100 
2.1 คลิกเลือก งาน แล้วใส่เครื่องหมาย - 
2.2 เลือกคาสั่ง Int( ) ในช่อง Functions 
2.3 คลิกเลือก งาน (ใส่ใน () คาสั่ง Int) 
2.4 .ใส่เครื่องหมาย วงเล็บ() ครอบปิดทั้งหมด 
2.5 พิมพ์ *100 ด้านหลังสุดของวงเล็บ 
3. กด ok 
1 
รูปที่ 27 ขั้นตอนการคานวณพื้นที่ เป็น วา 
2 
3
24 
13. การคานวณหาระยะความยาวของเส้น 
ในกรณีที่ต้องการหาความยาวของระยะทางว่าในแต่ละระยะมีความยาวเท่าไหร่นั้น มีขั้นตอนการ 
ทา ดังรูปที่ 28 
1. เปิดชั้นข้อมูล ระยะทางขึ้นมา 
2. คลิกขวา ข้อมูลระยะทาง เลือก Open Attribute Table 
3. คลิก Options ที่ตาราง Attribute พื้นที่โครงการก่อสร้าง เลือก Add Field 
4. ช่อง Name ตั้งชื่อ ความยาว ช่อง Type เป็น Double (หน่วยคานวณออกมาจะเป็น เมตร) 
รูปที่ 28 การเพิ่ม Field เพื่อคานวณหาระยะความยาวหน่วยเป็นเมตร 
2 
3 
4
25 
5. คลิกขวาบน Feield area เลือก Calculate Geometry 
6. ช่อง Propertry เลือก Length กด ok 
รูปที่ 29 ขั้นตอนการคานวณหาระยะความยาวเป็นเมตร 
5 
6
วิธีการลงโปรแกรม ArcGIS 9.3 
1. ไปที่ Folder เก็บโปรแกรม Double Click ที่ Folder ชื่อ arc 9.3 
2. Double Click ที่ ESRI
3. Click เลือก ArcView 
4. Click ที่ Install ArcGIS Desktop
5. Click เลือก Next 
6. Clik เลือก I accept the license agreement แล้ว Click ที่ Next
7. Click เลือก Complete แล้ว Click ที่ Next 
8. Click เลือก Next
9. Click เลือก Next และรอจน Install เสร็จ 
10. Click เลือก Register Later
11. ไปที่ Folder เก็บโปรแกรม Double Click ที่ Folder ชื่อ Crack 
12. Double Click ที่ Folder ชื่อ License_Server_setup
13. Double Click ที่ไฟล์ LMSetup 
14. Click เลือก I received the license file by fax แล้ว Click ที่ Create
15. Click ที่ Edit 
16. พิมพ์อะไรก็ได้ลงไป แล้ว Click ที่ OK
17. Click ที่ OK 
18. Click ที่ Next
19. Click ที่ Install 
20. Click เลือก Yes, I will to restart my computer now แล้ว Click Finish เครื่องจะทาการ Restart 
ใหม่
21. ไปที่ Folder เก็บโปรแกรม Double Click ที่ Folder ชื่อ ESRI 
22. Click ขวาที่ Folder ชื่อ License แล้วเลือก Copy นาไปวางที่ C:Program FilesESRI (วางทับ 
ของเดิม)
23. ไปที่ Start เลือก program หาโปรแกรมชื่อ ArcGIS เมื่อเจอแล้วเลือก LicenseManage(9x) และ 
เลือก Licens Manager Tools 
24. เลือก Tab ชื่อ service/License และเลือกตัวที่ 2 คือ Configuration using services
25. Click เลือก Tab ชื่อ Configure Services 
26. 1. Click เลือก Browse แถวที่ 1 
2. Click ไฟล์ชื่อ lmgrd 
3. Click ที่ Open 
1 
2 
3
27. 1. Click เลือก Browse แถวที่ 2 
2. เลือกไฟล์ชื่อ 37102011.lic แล้วเปิดด้วยโปรแกรม Notepad 
1 
2
28. Click ขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties เลือก Tab ที่ชื่อ Computer Name แล้วคลิกขวา 
เลือก copy ชื่อตรง Full computer name
29. เอาชื่อที่ได้ทาการ Copy ที่ My Computer มา Paste วางทับตรงคาว่า this_host 
30. Click คาว่า File เลือก Save แล้วปิดโปรแกรม Notepad
31. 1. Click เลือก Browse ตัวที่ 2 อีกรอบ 
2. แล้วเลือกไฟล์ 37102011.lic 
3. Click ที่ Open 
32. 1. Click เลือกแถวที่ 3 
2. เลือกไฟล์ชื่อ License 
3. Click ที่ Open 
1 
2 
3 
2 
3 
1
33. 1. Click เลือก Save Service 
2. Click ตอบ Yes 
34. Click เลือก Tab ชื่อ start/stop/reread 
1 
2
35. 1. Click ให้เป็นเครื่องหมายถูกในช่อง Force shutdown 
2. Click ที่ Stop Server 
3. Click ที่ Start Server 
4. แล้วทาการปิด 
3 2 
1 
36. Click ที่ start เลือก Program หาโปรแกรมชื่อ ArcGIS เมื่อเจอแล้วเลือก Desktop Administrator 
4
37. 1. Click เลือก License Manager ทางด้านซ้ายมือ 
2. Click ที่ Change ทางด้านขวามือ 
1 2 
38. Click ขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties เลือก Tab ชื่อ Computer Name แล้วคลิกขวา 
เลือก copy ชื่อตรง Full computer name
39. เอาชื่อที่ได้ทาการ Copy ที่ My Computer มา Paste วางทับตรงคาว่า Not_Set แล้ว Click ที่ OK 
40. 1. Click เลือก Software Product ทางด้านขวามือ 
2. เลือก ArcInfo (Floating) ทางด้านขวามือ 
1 2
41. 1. Click เลือก Availability ทางด้านซ้ายมือ 
2. Click ที่ Software Praduct ทางด้านขวามือ เลือก ArcInfo Desktop (Floating) 
3. Click ที่ Apply 
4. Click ที่ OK (เสร็จสิ้นการลงโปรแกรม) 
1 
2 
4 3

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียน
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียนแนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียน
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียน
yana54
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
Kittiphat Chitsawang
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
Palm Jutamas
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
Natthawut Sutthi
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
Sirirat Pongpid
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
กำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อ
กำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อกำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อ
กำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อ
สเตฟาน เจมส์
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
Dhanee Chant
 

La actualidad más candente (20)

ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียน
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียนแนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียน
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงโทษนักเรียน
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
กำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อ
กำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อกำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อ
กำหนดการศึกษาดูงาน ของ อบต.ย่านซื่อ
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
ศัพท์ภาษาอังกฤษเตรียมสอบภาค ก. ท้องถิ่น / ก.พ. และส่วนราชการอื่นๆ
ศัพท์ภาษาอังกฤษเตรียมสอบภาค ก. ท้องถิ่น / ก.พ. และส่วนราชการอื่นๆศัพท์ภาษาอังกฤษเตรียมสอบภาค ก. ท้องถิ่น / ก.พ. และส่วนราชการอื่นๆ
ศัพท์ภาษาอังกฤษเตรียมสอบภาค ก. ท้องถิ่น / ก.พ. และส่วนราชการอื่นๆ
 

Destacado

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
Pichamon Sudecha
 

Destacado (19)

เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 fileเอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
 
876211 20140917154114 2
876211 20140917154114 2876211 20140917154114 2
876211 20140917154114 2
 
876211 20140917154302(1)
876211 20140917154302(1)876211 20140917154302(1)
876211 20140917154302(1)
 
876211 20140917154132 2
876211 20140917154132 2876211 20140917154132 2
876211 20140917154132 2
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)
 
Remote Sensing
Remote SensingRemote Sensing
Remote Sensing
 
zoom mrs8
zoom mrs8zoom mrs8
zoom mrs8
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง
 
OpenForest -portal and Case of Bark Bread
OpenForest -portal and Case of Bark Bread OpenForest -portal and Case of Bark Bread
OpenForest -portal and Case of Bark Bread
 
Mezcla
MezclaMezcla
Mezcla
 
Ykone Insights #5 Silicon Switzerland
Ykone Insights #5 Silicon Switzerland Ykone Insights #5 Silicon Switzerland
Ykone Insights #5 Silicon Switzerland
 
Antikythera mechanism UCLDH seminar
Antikythera mechanism UCLDH seminarAntikythera mechanism UCLDH seminar
Antikythera mechanism UCLDH seminar
 
Curriculum Vitae
Curriculum VitaeCurriculum Vitae
Curriculum Vitae
 
Expo, la grande sfida italiana - LA COSA BLU
Expo, la grande sfida italiana -  LA COSA BLUExpo, la grande sfida italiana -  LA COSA BLU
Expo, la grande sfida italiana - LA COSA BLU
 
Speech Presentation
Speech PresentationSpeech Presentation
Speech Presentation
 
Codes and Conventions
Codes and Conventions Codes and Conventions
Codes and Conventions
 
Revisi pid klmpk 1
Revisi pid klmpk 1Revisi pid klmpk 1
Revisi pid klmpk 1
 
OSHA Certificates
OSHA CertificatesOSHA Certificates
OSHA Certificates
 
MIMA Monthly January 2016 - “Social Broadcasting for Business”
MIMA Monthly January 2016 - “Social Broadcasting for Business” MIMA Monthly January 2016 - “Social Broadcasting for Business”
MIMA Monthly January 2016 - “Social Broadcasting for Business”
 

Similar a คู่มือ Arc gis

ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
Kriangx Ch
 
Power point5
Power point5Power point5
Power point5
thongtaw
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
samnaknit
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Errorrrrr
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
kruthanyaporn
 
กูเกิลเอิร์ธ1
กูเกิลเอิร์ธ1กูเกิลเอิร์ธ1
กูเกิลเอิร์ธ1
DuanSIRI MoEy
 
กูเกิลเอิร์ธ
กูเกิลเอิร์ธกูเกิลเอิร์ธ
กูเกิลเอิร์ธ
DuanSIRI MoEy
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
Meaw Sukee
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
กชพร มณีพงษ์
 

Similar a คู่มือ Arc gis (20)

ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
Power point5
Power point5Power point5
Power point5
 
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
 
Power point5
Power point5Power point5
Power point5
 
DIA - Diagram
DIA - DiagramDIA - Diagram
DIA - Diagram
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
 
คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
Animation flash
Animation flashAnimation flash
Animation flash
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
กูเกิลเอิร์ธ1
กูเกิลเอิร์ธ1กูเกิลเอิร์ธ1
กูเกิลเอิร์ธ1
 
กูเกิลเอิร์ธ
กูเกิลเอิร์ธกูเกิลเอิร์ธ
กูเกิลเอิร์ธ
 
Land use(lab)
Land use(lab)Land use(lab)
Land use(lab)
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
 
Map windowgismanual
Map windowgismanualMap windowgismanual
Map windowgismanual
 
Flash8
Flash8Flash8
Flash8
 

คู่มือ Arc gis

  • 1. 1 การใช้งานโปรแกรม ArcGIS เบื้องต้น 1. การเข้าสู่โปรแกรม ArcGIS หลังจากติดตั้งโปรแกรม ArcGIS เรียบเร้อยแล้ว สามารถเรียกใช้งานได้ด้วยวิธีการต่อไปนี้ 1 คลิกเมาส์ที่ปุ่ม 2 เลื่อนเมาส์เลือกคาสั่ง Program > ArcGIS > ArcMap 3 โปรแกรมจะแสดงผลการทางานหน้าแรก 2 3 รูปที่ 1 การเข้าโปรแกรม ArcGIS 1 2. ระบบการทางานของโปรแกรม ArcGIS หน้าต่างแรกที่โปรแกรมแสดงเป็นการเลือกการใช้งานครั้งแรก ผู้ใช้สามารถเลือกใช้งานตาม ต้องการโดยมีเงื่อนไขการใช้ดังนี้ 2.1 A new empty map สร้าง Project แล้วกด OK 2.2 Browse for maps.. เป็นการเปิดแฟ้ม Project ที่มีอยู่แล้วขึ้นมาใช้งาน
  • 2. 2 หน้าต่างแรก สร้าง Project เปิดใช้ Project ที่มีอยู่ รูปที่ 2 หน้าต่างแรกของโปรแกรม ArcGIS เมนูหลัก รายการเครื่องมือหลักของ Project รูปที่ 3 หน้าต่างการทางานหลักของโปรแกรม ArcGIS
  • 3. 3 3. ไอคอนหรือปุ่ม ( button) คาสั่ง ซึ่งมีกลุ่มคาสั่งที่สาคัญ คือ Zoom In ใช้ขยายภาพออกโดยการกาหนดขอบเขตพื้นที่ที่ต้องการ Zoom Out ใช้ย่อภาพเข้าโดยการกาหนดขอบเขตพื้นที่ที่ต้องการ Zoom In ขยายแผนที่จากหน้าจอทีละสเต็ป Zoom Out ย่อแผนที่จากหน้าจอทีละสเต็ป Pan ใช้เมาส์จับเลื่อนแผนที่เคลื่อนย้ายไปตาแหน่งที่ต้องการ Full Extent ขยายแผนที่เต็มพื้นที่ของหน้าต่าง View Go Back Previous Extent ใช้ย้อนกลับไปแสดงภาพก่อนหน้านี้ Go To Next Extent ใช้แสดงภาพในหน้าถัดไป Select Features ใช้สาหรับเลือกข้อมูล Clear Selected Features ยกเลิกบริเวณที่ได้วาดแนวเขตไว้ Select Elements การใช้เมาส์เลือกตาแหน่งของวัตถุในแผนที่ Identify ใช้สาหรับดูคาอธิบายใน Theme ต่างๆ ที่แสดง Find ใช้สาหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการ Go To XY การกาหนดค่าพิกัดที่แสดงตาแหน่งในแผนที่ Measure ใช้สาหรับวัดระยะในแผนที่ โดยผลการวัดแสดงเป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วน Segment Length คือ ความยาวของจุดสุดท้ายที่ ลากมายังจุดสุดท้ายที่ต้องการวัด 2. ส่วน Length คือ ความยาวของเส้นทั้งหมดที่ลากใน การวัดระยะทางครั้งนั้น Hot Link ใช้สาหรับเชื่อมโยงข้อมูลแผนที่กับข้อมูลอื่นๆ เช่น โปรแกรม Script ข้อมูลภาพ และข้อมูลที่เป็นคาอธิบาย Menu Bar เมนูหลัก เป็นเมนูคาสั่ง ที่ควบคุมการทางานของ Project Button Bar คือ ส่วนที่อยู่ใต้ Menu bar เป็นปุ่มที่ใช้เพื่อให้สะดวก ต่อการเข้าถึงคาสั่งต่างๆ อย่างรวดเร็ว
  • 4. 4 Tools Bar คือ ส่วนที่อยู่ด้านล่าง Button Bar ที่บรรจุรูปภาพต่างๆ เพื่อให้สะดวกต่อการ ใช้งาน โดยสารบัญของ Tools Bar จะเปลี่ยนไปตามสิ่งที่อยู่ในหน้าต่าง View ที่ Active อยู่ถ้าต้องการทราบว่าปุ่มไหนใช้ทาอะไรก็ให้ใช้ลูกศรชี้ไปยังเครื่องมือนั้นก็จะปรากฏ คาอธิบายสั้นๆ ด้านล่าง Status Bar คือ ส่วนที่อยู่ด้านล่างสุด ของโปรแกรม ArcMap ซึ่งจะบอกสถานการณ์ ทางานของโปรแกรมในขณะนั้น Table คือ เป็นส่วนที่ทางานเกี่ยวกับ ข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute data) View คือ ส่วนที่แสดงภาพข้อมูล เชิงพื้นที่ (Spatial data)
  • 5. 5 4. เมนูคาสั่งหลัก (main menu) 4.1 เมนูคาสั่งแฟ้ม (File) เป็นคาสั่งใช้งานเกี่ยวกับการจัดการ Project เช่น การสร้างใหม่ การ เปิดใช้ การปิด การจัดเก็บ และการจัดเก็บเป็นชื่ออื่น ดังรูปที่ 4 สร้าง Project ใหม่ เปิด Project ที่มีอยู่ จัดเก็บ Project ที่มีอยู่ จัดเก็บ Project ที่มีอยู่เป็นชื่ออื่น การเพิ่มชั้นข้อมูล การแปลงข้อมูลออกเป็นแบบรูปภาพ รูปที่ 4 รายการคาสั่งย่อยของเมนูคาสั่งแฟ้ม (File) 4.2 เมนูคาสั่งวินโดร์ ( Window) เป็นรายการคาสั่งควบคุมการทางานของหน้าต่างที่เปิดใช้งาน ประกอบด้วยคาสั่ง ดังรูปที่ 5 การทางานของพื้นที่ว่าอยู่ส่วนไหน การ Zoom พื้นที่โดยการกาหนดเปอร์เซ็นต์ได้ การกาหนดมาตราส่วนโดยการเลือก การปิด-เปิดขอบหน้าต่างของ Layers เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ เครื่องมือในการวิเคราะห์โดยใช้คาสั่งจากการพิมพ์ รูปที่ 5 รายการคาสั่งย่อยของเมนูคาสั่งวินโดว์ (Window)
  • 6. 6 5. การเปิดใช้ข้อมูลแผนที่ กรณีแฟ้มข้อมูลที่เป็น Shapefile (คือ ชั้นข้อมูลที่มีนามสกุล .shp) ที่ใช้งานทั่วไปอาจอยู่ในหรือ นอกไฟล์ Project ก็สามารถที่จะนาเข้าโปรแกรมได้ ที่สาคัญ ข้อมูลแฟ้มต่างๆ ที่จะใช้งานควรสร้าง โฟลเดอร์ใหม่แล้วคัดลอกแฟ้มต่างๆ ที่จะใช้งานมาเก็บไว้โดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการนาข้อมูล ไปใช้กับเครื่องอื่นๆ ในตัวอย่างจะใช้ข้อมูลของตาบลสวนหลวง ซึ่งมีขั้นตอนการทางาน ได้ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 1. เข้าโปรแกรม ArcMap เลือก A new empty map คลิก OK 2. เลือกไอคอนคาสั่ง Add Data 3. เลือกเปิดแฟ้ม 48364.img ซึ่งเป็นแฟ้มข้อมูล แผนที่ L7018 ระวาง 48364 แล้ว คลิก Add ข้อมูลขอบเขตหมู่บ้านก็จะปรากฏขึ้น ดังรูปที่ 6 4. การออกจากโปรแกรม เลือกเมนู File เลือก Exit หรือ คลิกเครื่องหมาย บนโปรแกรม วิธีที่ 2 1. เปิด ArcCatalog ที่อยู่บนเมนูของโปรแกรม ArcMap ขึ้นมา 2. คลิกเมาส์ซ้าย ชั้นข้อมูล ที่ต้องการเลือก (48367.img) ค้างไว้ แล้วทาการลากข้อมูลที่ เราต้องการมาไว้ใน Layers ของ ArcMap แล้ว กด OK ดังรูปที่ 6 3. การออกจากโปรแกรม เลือกเมนFู ile เลือก Exit หรือ คลิกเครื่องหมาย บนโปรแกรม หรือ คลิกเครื่องหมาย เพื่อย่อหน้าจอโปรแกรมลง และถ้าจะใช้งานอีกก็สามารถเปิดขึ้นมาใช้งานให ม่ได้ การเปิดใช้ข้อมูลแผนที่ วิธีที่ 1 การเปิดใช้ข้อมูลแผนที่ วิธีที่ 2 รูปที่ 6 การเปิดแฟ้ม 48364.img 3 2 4 1 2 4
  • 7. 7 6. การเปิดชั้นข้อข้อมูลเพิ่ม ในกรณีที่มีการเพิ่มชั้นข้อมูลเข้ามาใน Layer แล้วไม่สามารถ มองเห็นชั้นข้อมูลนั้น สามารถทา ได้โดย ดังรูปที่ 7 1. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ 2. ลากชั้นข้อมูลที่ต้องการขึ้นไปอยู่ด้านบนลาดับแรกใน Layers ชั้นข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏ 2 รูปที่ 7 การเลื่อนชั้นข้อมูลให้อยู่บนสุด 1 7. การปรับเปลี่ยนสีให้แผนที่ ( Layer Properties) เป็นเครื่องมือแก้ไขปรับแต่งข้อมูลกรา ฟฟิกแผนที่ (Point, Line, Polygon) ให้มีรูปแบบแสดงผลที่ ต้องการ เช่น พื้นสีของพื้นที่ ขนาดของเส้น และสีของเส้นและจุด มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกดับเบิ้ลคลิกที่ ชั้นข้อมูล หรือคลิกขวา เลือก Layer Properties 2. ที่ Layer Properties เลือก Symbology 3. คลิกที่ช่องสี Symbol หน้าต่างข้อมูลการแก้ไขต่างๆ จะปรากฏขึ้นS (ymbol Selector) ดังรูปที่ 8 4. ถ้าต้องการแก้ไขพื้นสี ( Symbol Selector) ให้เลือกสีที่ต้องการ ขนาดเส้นขอบเขตตาบล (Outline Width) สีของเส้นขอบเขตตาบล (Outline Color) แล้ว กด OK แล้วปิดหน้าต่าง ถ้าต้องการ จัดเก็บข้อมูลที่กาหนด ก็ทาได้โดยการเลือกคาสั่ง Save ที่ Menu File จะได้รูปแบบข้อมูล ซึ่งนามสกุลจะ เป็น . Avl 5. ถ้าต้องการตรวจสอบพื้นสีที่แก้ไข ให้เลือกคาสั่ง Apply ถ้าไม่ต้องการแก้ไขพื้นที่สีแล้ว ให้ กด OK แต่ถ้าต้องการแก้ไขใหม่อีก ก็ทาตามขั้นตอน 3 และ 4
  • 8. 8 รูปที่ 8 การแก้ไขพื้นสีของข้อมูลแผนที่ 8. การแสดงชื่อหรือข้อความ (Label) ให้ Feature ต่างๆ ดังนี้ 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ ชั้นข้อมูลที่ต้องการ (ชั้นข้อมูลขอบเขตหมู่บ้าน) 2. เลือกเมนู Labels 3. คลิกเครื่องหมาย  ที่ Label Features in this Layer 4. ทาการเลือก TAM_NAM_T ในช่อง Label Field 5. เปลี่ยนตัวหนังสือ ขนาด สี ตามความต้องการ 6. กด OK (ถ้าต้องการลบชื่อหรือข้อความในแผนที่ให้คลิกเครื่องหมาย  ที่ Label Features in this Layer ออก) หมายเหตุ : ในกรณีที่ต้องการปรับแต่งตัวหนังสือให้เป็นเงา และนูนขึ้นมา สามารถ ทาได้ดังนี้ 7. เลือก Symbol 8. ดับเบิ้ลคลิกที่ Perview ตรงกรอบสี่เหลี่ยม 9. เลือก Mask ทาการการคลิกที่ Halo แล้วคลิกที่ Symbol ทาการเลือกสี ขนาด และตัวอักษรได้ ตามความต้องการ กด OK 1 2 3 4
  • 9. 9 1 3 2 4 5 6 7 5 รูปที่ 9 การแสดงชื่อหรือข้อความให้แผนที่ และการปรับแต่ตัวหนังสือ 9 การ Zoom แผนที่ (การย่อ-ขยายส่วนที่ต้องการ) 1. คลิก Zoom In ที่ Tool Bar เพื่อขยายดูส่วนที่ต้องการได้เมื่อเลื่อน Cursor ไปที่ View Cursor จะเปลี่ยนเป็นรูปแว่นขยายให้เลื่อน Cursor ไปที่บริเวณที่ต้องการขยายภาพ 2. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ และลากกรอบบริเวณที่ต้องการ เมื่อปล่อยปุ่ม Mouse ภาพใน View จะ ถูกขยายขึ้น ดังรูปที่ 10 8 7 5 9
  • 10. 10 รูปที่ 10 การย่อ-ขยาย ส่วนที่ต้องการในแผนที่ 3. คลิก Zoom out ที่ Tool bar ต้องการย่อภาพให้เล็กลง 4. ถ้าต้องการเคลื่อนย้ายภาพ คลิก Pan ที่ Tool Bar แล้วเลื่อน Cursor เข้าไปใน View ที่ บริเวณกลางภาพ Cursor จะเปลี่ยนเป็นรูปมือ (การเคลื่อนย้ายภาพ ซ้าย – ขวา – บน - ล่าง) 5. ถ้าต้องการจะ Save Project คลิก File menu ที่ Menu bar เลือก Save Asจะปรากฏหน้าต่าง Save As ซึ่งจะเป็นการระบุ Directory ที่จะเก็บ Project ของคุณ 6. ดับเบิ้ลคลิกเข้าไปที่ E:ตามด้วยไดร์ที่เราต้องการเก็บข้อมูล แล้วพิมพ์ชื่อ File name 7. คลิกที่ Save ดังรูปที่ 1 1 รูปที่ 11 การ Save Project
  • 11. 11 10. การหาพิกัดตาแหน่ง ( X,Y) ในแผนที่ 1. คลิกตาแหน่งที่ View เพื่อดูค่าพิกัด แล้วทาการจดค่าพิกัดไว้ 2. คลิก ที่เครื่องหมาย go to XY 3. คลิกเครื่องหมาย Units เลือกคลิก  ที่ Meters (ในกรณีที่ แถบ Units ตัวหนังสือเป็น สีเทา โดยปกติตัวหนังสือจะขึ้นเป็นสีดา เพราะข้อมูลยังไม่ได้ทาการแก้ไขจาก Unknown Units ให้เป็น Meters ทั้งสองช่อง เราสามารถทาการแก้ไขโดย 3.1 ดับเบิ้ลคลิกที่ Layers 3.2 คลิกที่ General ทาการเปลี่ยน Map : Meters และ Display : Meters 4. ทาการพิมพ์ค่าพิกัดที่ได้ทาการจดไว้ลงในช่อง X และ Y 5. คลิกที่ปุ่ม 6. คลิกที่ปุ่ม Pan เพื่อดูตาแหน่งที่เราได้ใส่ค่าพิกัด 7. ตาแหน่งที่ได้ทาการหาโดยการใส่ค่าพิกัด X,Y 1 6 5 4 3 2 1 รูปที่ 12 การค้นหาพิกัดตาแหน่ง X,Y ในแผนที่ 2 1 6 5 4 3 2 1 3 2 1 6 5 4 3 2 1 3.1 321 654 321 4 3 2 1 6 5 4 3 2 1 5 3 2 1 6 5 4 3 2 1 6 5 3 2 1 6 5 4 3 2 1 7 5 3 2 1 6 5 4 3 2 1
  • 12. 12 11. การสร้างและแก้ไขข้อมูล 11.1 การนาเข้าข้อมูล แบบจุด ( Point) , แบบพื้นที่ปิด (Polygon) และ แบบเส้น (Polyline)  เปิดโปรแกรม ArcCatalog ขึ้นมา ดังรูปที่ 13 1. ลาก แผนที่ L7018 ระวาง 48364 มาวางไว้ที่ ArcMap 2. ทาการสร้าง ShapeFile ใหม่ โดย คลิกขวา เลือก New เลือก ShapeFile 3. เปลี่ยนชื่อ Name 4. Feature Type เป็น Point หรือ แบบ Polygon หรือ แบบ Polyline 5. คลิก Edit 6. เลือก Import 7. ไปยังไดร์ที่เราเก็บแผนที่ L7018 แล้วคลิกเลือกภาพแผนที่ แล้วคลิก Add 8. ก็จะทราบค่าภาพนี้อยู่ที่พิกัดเท่าไหร่ และโซนอะไร กด OK หมายเหตุ : ขั้นตอนการนาเข้าข้อมูลแบบจุด (Point) สามารถนาไปใช้กับการนาเข้าข้อมูล แบบพื้นที่ปิด (Polygon) และ แบบเส้น (Polyline) 1 2
  • 13. 13 3 4 5 6 รูปที่13 การเปิดแผนที่และการสร้าง ShapeFile ใหม่ 9. ทาการลาก ShapeFile ที่เราสร้างขึ้นมาใหม่มาวางไว้ที่โปรแกรม ArcMap 10. สามารถเปลี่ยนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจุดได้ โดยเลือกดับเบิ้ลคลิกที่ ชั้นข้อมูล เลือก Symbol หรือคลิกตรงจุด จากนั้นเลือกสัญลักษณ์และขนาด ( Size) ที่ต้องการ จากนั้น กดปุ่ม OK ดังรูปที่ 14 รูปที่ 14 การทางาน ShapeFile และการเปลี่ยนสัญลักษณ์ ขนาด และสี 7 8 9 10
  • 14. 14 11.2 วิธีการ Digitize Point (การนาเข้าข้อมูลแบบจุด) 1. คลิกที่ Editor เลือก Start Editing 2. เลือกรูปเครื่องมือ ที่เป็นรูปดินสอปากกา 3. แล้วทาการ Digitize ข้อมูลที่เราต้องการได้เลย ดังรูปที่ 15 1 2 รูปที่ 15 การ Digitize Point 11.3 การ Digitize Polygon (การนาเข้าข้อมูลแบบพื้นที่ปิด) 3 การนาเข้าข้อมูลที่เป็น โพลีกอน วิธีการตอนแรกจะคล้ายกับการนาเข้าแบบจุด Point จะมีแต่วิธีการนาเข้าจะไม่เหมือนกัน โดยการเปลี่ยนชื่อและเปลี่ยนชนิดของชั้นข้อมูล (ดูวิธีการนาเข้าใน หัวข้อที่ 11.1) การนาเข้าแบบ Polygon มีวิธีการ ดังรูปที่ 16 1. เปิด ArcCatalog ทาการลาก Shape File ที่เราได้สร้างไว้มาที่ ArcMap 2. คลิก Editor เลือก Start Editing 3. ทาการขยายภาพให้ใหญ่ขั้นและเห็นพื้นที่ได้ชัดเจน โดยเลือกเลือกมือ Zoon In 4. เลือกเครื่อง มือ ที่เป็นรูปดินสอ 5. ทาการ Digitize ข้อมูลที่เราต้องการได้เลย พอใกล้จุดที่จะปิดใหD้ ouble Click
  • 15. 15 รูปที่ 16 การ Digitize Polygon (การนาเข้าข้อมูลแบบพื้นที่ปิด) 6. การเปลี่ยนสี Polygon ให้ Double Click ที่ Theme หรือ พื้นที่สี่เหลี่ยม ที่ต้องการจะ เปลี่ยนสี 7. คลิก Symbology จากนั้นให้ Double Click ที่กรอบสี่เหลี่ยมในช่อง Symbol ก็จะ ขึ้นหน้า Symbol Selector 8. เลือก Hollow คือ ไม่เติมสีลงไป ที่หน้าต่าง Preview จะได้ Polygon ที่ไม่มีสี 9. ถ้าต้องการใส่สีของเส้นขอบ Polygon ให้เลือกที่ Outline Color แล้วเลือกขนาดของ เส้น กด OK และ กด OK อีกครั้ง 10. ผลลัพธ์ที่ได้จากการเปลี่ยนสีเส้นขอบ รูปที่ 17 การเปลี่ยนสีเส้นขอบของ Polygon 2 5 3 2 5 4 3 2 5 5 3 2 5 6 5 3 2 5 7 6 5 3 2 5 8 7 6 5 3 2 5 9 8 7 6 5 3 2 5 10
  • 16. 16 การแก้ไข Polygon (พื้นที่แบบปิด) 1. คลิกที่เครื่องมือ Edit Tool 2. แล้วมา Double Click ที่ Polygon เพื่อให้ขึ้นจุด 3. ทาการเคลื่อนลากเส้นที่เป็นจุดเพื่อแก้ไข 4. ถ้าจะเพิ่มจุดให้ คลิกขวาที่เส้น เลือก Insert Vertex และ ถ้าจะทาการลบจุดออกให้ คลิก ขวาที่จุด แล้วเลือก Delete Vertex 5. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ไปที่ Editor เลือก Stop Editing 1 8 7 6 5 3 2 5 2 1 8 7 6 5 3 2 5 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 4 2 1 8 7 6 5 3 2 5 รูปที่ 18 การแก้ไข Polygon 11.5 การ Digitize Polyline (การนาเข้าข้อมูลแบบเส้น) การนาเข้าข้อมูลที่เป็น โพลีลาย วิธีการตอนแรกจะคล้ายกับการนาเข้าแบบจุด Point จะมีแต่วิธีการนาเข้าจะไม่เหมือนกัน โดยการเปลี่ยนชื่อและเปลี่ยนชนิดของชั้นข้อมูล (ดูวิธีการนาเข้าใน หัวข้อที่ 11.1) การนาเข้าแบบ Polyline มีวิธีการ ดังรูปที่ 19 1. เปิด ArcCatalog ทาการลาก Shape File ที่เราได้สร้างไว้มาที่ ArcMap 2. คลิก Editor เลือก Start Editing 3. ทาการเปลี่ยนสีเส้น โดย Double Click ที่ Theme หรือ Click ที่เส้นโดยตรง เพื่อให้ หน้าที่ Layer Priorities แสดงขึ้นมา จากนั้น Double Click ไปที่ Symbol เลือกประเภทเส้น ทาการเปลี่ยน สีที่ Color และขนาด ที่ Width กด OK และ กด OK อีกครั้ง
  • 17. 17 3 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 รูปที่ 19 การเปลี่ยนสี Polyline (แบบเส้น) 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 4. ทาการตั้งระยะ Snap (ระยะที่ทาให้ Feature ติดกัน) คลิก Editor เลือก Snapping 5. ทาการ คลิกเครื่องหมาย  ที่ช่องสี่เหลี่ยมของ layer (Theme ที่เรากาลังทางานอยู่) ให้ คลิกที่สี่เหลี่ยมทุกช่อง 6. ทาการปิดเครื่องหมาย 5 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 6 5 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 รูปที่ 20 การตั้งระยะ Snap 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 7. ทาการขยายภาพให้ใหญ่ขั้นและเห็นพื้นที่ได้ชัดเจน โดยเลือกเลือกมือ Z o o n In 8. เลือกเครื่อง มือ ที่เป็นรูปดินสอ 9. ทาการ Digitize ไปเรื่อยๆ พอเสร็จให้ Double Click
  • 18. 18 10. การแก้ไขเพื่อย้าย Vertex ให้คลิกที่เมนู Edit Tool จากนั้นคลิกที่ต้องการ แล้วลาก ดึง Vertex ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ รูปที่ 21 การ Digitize แบบเส้น (Potyline) 7 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 วิธีการลบเส้นที่เราไม่ต้องการ 8 7 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 9 7 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 1. คลิกที่เครื่องมือ Edit Tool แล้วก็ไปคลิกตรงจุดที่จะตัดออก 2. เมื่อทาการคลิกที่เส้น เส้นจะขึ้นเป็นสีฟ้า 3. จากนั้นก็กดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์ได้เลย ดังรูปที่ 22 10
  • 19. 19 รูปที่ 22 การลบเส้นที่เราไม่ต้องการ 12. การคานวณพื้นที่ 12.1 การคานวณหาพื้นที่เป็น ตารางเมตร ในกรณีที่ต้องการหาพื้นที่ของขอบเขต โครงการก่อสร้างว่าในแต่ละโครงการมีพื้นที่เท่าไหร่นั้น มี ขั้นตอนการทา ดังรูปที่ 23 1. เปิดชั้นข้อมูล พื้นที่โครงการก่อสร้างขึ้นมา 2. คลิกขวา พื้นที่โครงการก่อสร้าง เลือก Open Attribute Table 3. คลิก Options ที่ตาราง Attribute พื้นที่โครงการก่อสร้าง เลือก Add Field 4. ช่อง Name ตั้งชื่อ area ช่อง Type เป็น Double (หน่วยคานวณออกมาจะเป็น ตารางเมตร) รูปที่ 23 การเพิ่ม Field เพื่อคานวณหาพื้นที่เป็นหน่วยตารางเมตร 1 7 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 2 7 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 3 7 4 2 3 2 1 8 7 6 5 3 2 5 2 3 4
  • 20. 20 5. คลิกขวาบน Feield area เลือก Calculate Geometry 6. เลือก Use coordinate system of the data frame: ช่อง Unit เลือก square Meters [sq m] กด ok รูปที่ 24 การคานวณหาพื้นที่เป็นหน่วยตารางเมตร 5 12.2 การคานวณพื้นที่ เป็น ไร่ การหาพื้นที่ เป็น area โดยเอาค่าตัวเลขใน Field Area ที่อยู่ในตาราง Attribute พื้นที่โครงการ ก่อสร้าง มาหารด้วย 1600 (Area/1600) 1. สร้าง Field ขึ้นมาใหม่ ช่อง Name ตั้งชื่อเป็น ไร่ ช่อง Type ตั้งชื่อเป็น Double ให้สร้าง Field ไว้ 3 Field เลย คือ ในตารางจะมี Field ของ ไร่ , งาน , วา (ขั้นตอนการ Add Field เหมือนกับการ สร้างตารางของ area) 2. คลิกขวา ที่ Field ไร่ เลือก Properties 3. เลือก Numeric 4. ทาการเปลี่ยนตัวเลขทศนิยมให้เป็น 2 ตาแหน่ง กด OK 5. คลิกขวาที่ Field ไร่ เลือก Field Calculator ตอบ Yes 6. ใส่สูตรการคานวณหาพื้นที่ไร่ [area] /1600 กด OK 6
  • 21. 21 รูปที่ 25 ขั้นตอนการคานวณพื้นที่ เป็น ไร่ 5 4 6 2 3
  • 22. 22 12.3 การคานวณพื้นที่เป็น งาน ทาเช่นเดียวกับการหาพื้นที่ของ area (โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2-4 ) การหาพื้นที่ เป็น งาน โดยเอาเศษทศนิยมของพื้นที่ไร่ มาคูณด้วย 4 ดังรูปที่ 26 1. คลิกขวาที่ Field งาน เลือก Field Calculator ตอบ Yes 2. ใส่สูตรการคานวณหาพื้นที่งาน ([ไร่]- Int ( [ไร่] ))*4 2.1 คลิกเลือก ไร่ แล้วใส่เครื่องหมาย - 2.2 เลือกคาสั่ง Int( ) ในช่อง Functions 2.3 คลิกเลือก ไร่ (ใส่ใน () คาสั่ง Int) 2.4 .ใส่เครื่องหมาย วงเล็บ() ครอบปิดทั้งหมด 2.5 พิมพ์ *4 ด้านหลังสุดของวงเล็บ 3. กด ok 1 รูปที่ 26 ขั้นตอนการคานวณพื้นที่ เป็น งาน 2 5. คลิกขวาบน Feield area เลือก Calculate Geometry 6. เลือก Use coordinate system of the data frame: ช่อง Unit เลือก square Meters [sq m] กด ok 3
  • 23. 23 12.4 การคานวณพื้นที่เป็น วา ทาเช่นเดียวกับการหาพื้นที่ของ area(เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2-4 ) การหาพื้นที่ เป็น วา โดย เอาเศษทศนิยมของพื้นที่งาน มาคูณด้วย 100 ดังรูปที่ 27 1. คลิกขวาที่ Field วา เลือก Field Calculator ตอบ Yes 2. ใส่สูตรการคานวณหาพื้นที่วา ([งาน]- Int ( [งาน] ))*100 2.1 คลิกเลือก งาน แล้วใส่เครื่องหมาย - 2.2 เลือกคาสั่ง Int( ) ในช่อง Functions 2.3 คลิกเลือก งาน (ใส่ใน () คาสั่ง Int) 2.4 .ใส่เครื่องหมาย วงเล็บ() ครอบปิดทั้งหมด 2.5 พิมพ์ *100 ด้านหลังสุดของวงเล็บ 3. กด ok 1 รูปที่ 27 ขั้นตอนการคานวณพื้นที่ เป็น วา 2 3
  • 24. 24 13. การคานวณหาระยะความยาวของเส้น ในกรณีที่ต้องการหาความยาวของระยะทางว่าในแต่ละระยะมีความยาวเท่าไหร่นั้น มีขั้นตอนการ ทา ดังรูปที่ 28 1. เปิดชั้นข้อมูล ระยะทางขึ้นมา 2. คลิกขวา ข้อมูลระยะทาง เลือก Open Attribute Table 3. คลิก Options ที่ตาราง Attribute พื้นที่โครงการก่อสร้าง เลือก Add Field 4. ช่อง Name ตั้งชื่อ ความยาว ช่อง Type เป็น Double (หน่วยคานวณออกมาจะเป็น เมตร) รูปที่ 28 การเพิ่ม Field เพื่อคานวณหาระยะความยาวหน่วยเป็นเมตร 2 3 4
  • 25. 25 5. คลิกขวาบน Feield area เลือก Calculate Geometry 6. ช่อง Propertry เลือก Length กด ok รูปที่ 29 ขั้นตอนการคานวณหาระยะความยาวเป็นเมตร 5 6
  • 26. วิธีการลงโปรแกรม ArcGIS 9.3 1. ไปที่ Folder เก็บโปรแกรม Double Click ที่ Folder ชื่อ arc 9.3 2. Double Click ที่ ESRI
  • 27. 3. Click เลือก ArcView 4. Click ที่ Install ArcGIS Desktop
  • 28. 5. Click เลือก Next 6. Clik เลือก I accept the license agreement แล้ว Click ที่ Next
  • 29. 7. Click เลือก Complete แล้ว Click ที่ Next 8. Click เลือก Next
  • 30. 9. Click เลือก Next และรอจน Install เสร็จ 10. Click เลือก Register Later
  • 31. 11. ไปที่ Folder เก็บโปรแกรม Double Click ที่ Folder ชื่อ Crack 12. Double Click ที่ Folder ชื่อ License_Server_setup
  • 32. 13. Double Click ที่ไฟล์ LMSetup 14. Click เลือก I received the license file by fax แล้ว Click ที่ Create
  • 33. 15. Click ที่ Edit 16. พิมพ์อะไรก็ได้ลงไป แล้ว Click ที่ OK
  • 34. 17. Click ที่ OK 18. Click ที่ Next
  • 35. 19. Click ที่ Install 20. Click เลือก Yes, I will to restart my computer now แล้ว Click Finish เครื่องจะทาการ Restart ใหม่
  • 36. 21. ไปที่ Folder เก็บโปรแกรม Double Click ที่ Folder ชื่อ ESRI 22. Click ขวาที่ Folder ชื่อ License แล้วเลือก Copy นาไปวางที่ C:Program FilesESRI (วางทับ ของเดิม)
  • 37. 23. ไปที่ Start เลือก program หาโปรแกรมชื่อ ArcGIS เมื่อเจอแล้วเลือก LicenseManage(9x) และ เลือก Licens Manager Tools 24. เลือก Tab ชื่อ service/License และเลือกตัวที่ 2 คือ Configuration using services
  • 38. 25. Click เลือก Tab ชื่อ Configure Services 26. 1. Click เลือก Browse แถวที่ 1 2. Click ไฟล์ชื่อ lmgrd 3. Click ที่ Open 1 2 3
  • 39. 27. 1. Click เลือก Browse แถวที่ 2 2. เลือกไฟล์ชื่อ 37102011.lic แล้วเปิดด้วยโปรแกรม Notepad 1 2
  • 40. 28. Click ขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties เลือก Tab ที่ชื่อ Computer Name แล้วคลิกขวา เลือก copy ชื่อตรง Full computer name
  • 41. 29. เอาชื่อที่ได้ทาการ Copy ที่ My Computer มา Paste วางทับตรงคาว่า this_host 30. Click คาว่า File เลือก Save แล้วปิดโปรแกรม Notepad
  • 42. 31. 1. Click เลือก Browse ตัวที่ 2 อีกรอบ 2. แล้วเลือกไฟล์ 37102011.lic 3. Click ที่ Open 32. 1. Click เลือกแถวที่ 3 2. เลือกไฟล์ชื่อ License 3. Click ที่ Open 1 2 3 2 3 1
  • 43. 33. 1. Click เลือก Save Service 2. Click ตอบ Yes 34. Click เลือก Tab ชื่อ start/stop/reread 1 2
  • 44. 35. 1. Click ให้เป็นเครื่องหมายถูกในช่อง Force shutdown 2. Click ที่ Stop Server 3. Click ที่ Start Server 4. แล้วทาการปิด 3 2 1 36. Click ที่ start เลือก Program หาโปรแกรมชื่อ ArcGIS เมื่อเจอแล้วเลือก Desktop Administrator 4
  • 45. 37. 1. Click เลือก License Manager ทางด้านซ้ายมือ 2. Click ที่ Change ทางด้านขวามือ 1 2 38. Click ขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties เลือก Tab ชื่อ Computer Name แล้วคลิกขวา เลือก copy ชื่อตรง Full computer name
  • 46. 39. เอาชื่อที่ได้ทาการ Copy ที่ My Computer มา Paste วางทับตรงคาว่า Not_Set แล้ว Click ที่ OK 40. 1. Click เลือก Software Product ทางด้านขวามือ 2. เลือก ArcInfo (Floating) ทางด้านขวามือ 1 2
  • 47. 41. 1. Click เลือก Availability ทางด้านซ้ายมือ 2. Click ที่ Software Praduct ทางด้านขวามือ เลือก ArcInfo Desktop (Floating) 3. Click ที่ Apply 4. Click ที่ OK (เสร็จสิ้นการลงโปรแกรม) 1 2 4 3