SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
อาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการทางด้ านสั งคม
๑)   โครงสร้างทางสังคมไทย
     โครงสร้างสังคมไทยในสมัยอยุธยา มีการแบ่งชนชั้นออกเป็ น
     ลาดับ ตั้งแต่ช้ นสูงสุ ด คือ พระมหากษัตริ ย ์ ถึงชั้นล่างสุ ด คือ
                     ั
     ทาส และมีชนชั้นพิเศษอีกชนชั้น ได้แก่ พระสงฆ์ ซึ่งเป็ นผู้
     สื บทอดศาสนา และเป็ นที่พ่ ึงพิงทางจิตใจและให้การศึกษาแก่
     ประชาชน
๑.   กลุ่มคนในสังคม แบ่งเป็ น 6 กลุ่ม ดังนี้

                           พระมหากษัคริ ย ์



พระบรมวงศานุวงศ์      ขุนนาง                  ไพร่   ทาส


                            นักบวชทางศาสนา
พระมหากษัตริย์
เป็ นผูมีอานาจสูงสุ ดในอาณาจักร มีฐานะเป็ นสมมติเทพ มีพระราชอานาจ
       ้
  เหนือทุกคนในแผ่นดิน
พระบรมวงศานุวงศ์
คือ ผูที่มีเชื้อสายร่ วมกับกษัตริ ย ์ มีหน้าที่ช่วยเหลือราชการแทนกษัตริ ย ์
      ้
 โดยกษัตริ ยจะส่ งไปปกครองหัวเมืองสาคัญต่าง ๆ เช่น พระราชโอรส
                ์
 พระราชธิดา
ขุนนาง
คือ ผูที่ปฏิบติหน้าที่ในการดูแลบ้านเมือง ปกครองคนตามพระบรมราช
      ้      ั
  โองการของกษัตริ ย ์ มีฐานะแตกต่างกันไปตามหน้าที่และรับ
  พระราชทานที่ดินและไพร่ ไว้ใช้งาน
ไพร่
คือ ราษฎรสามัญชนทัวไป มีอิสรเสรี ในการดารงชีวิต และจะถูกเกณฑ์
                      ่
   แรงงานโดยขุนนางเป็ นครั้งคราว
   ไพร่ แบ่งออกเป็ น ๓ ประเภท
   ๑) ไพร่ หลวง ทางานให้ราชการแทนการเสี ยภาษี ปี ละ ๖ เดือน เรี ยกว่า
   “เข้าเดือนออกเดือน”
   ๒) ไพร่ สม ทางานรับใช้เจ้านายที่ตนสังกัด และออกรบเมื่อเกิดสงคราม
   เหมือนกับไพร่ หลวง
   ๓) ไพร่ ส่วย เป็ นไพร่ ท่ีส่งเงินหรื อสิ่ งของเข้ามาแทนการเกณฑ์แรงงาน
ทาส
คือ ผูไม่มีกรรมสิ ทธิ์ในแรงงานและชีวตของตน ไม่มีอิสรภาพ ต้องทา
      ้                             ิ
  ตามความต้องการของนายเงิน
นักบวชทางศาสนา
คือ พระสงฆ์ พราหมณ์ มีหน้าที่ในการอบรมสังสอนและประกอบ
                                         ่
  พิธีกรรมทางศาสนาภายใต้การอุปถัมภ์ของกษัตริ ย ์
พัฒนาการทางด้ านศิลปวัฒนธรรม
      วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของคนในสังคม เช่น ชีวิตความ
เป็ นอยู่ อาหารการกิน ภาษาพูด ความเชื่อ มักแสดงในรู ปของธรรม
เนียมประเพณี โดยเฉพาะด้านศิลปะ จึงเรี ยกรวมกันว่า
“ศิลปวัฒนธรรม”
      การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ.๑๘๙๓ นับเป็ นการเริ่ มต้น
ศิลปวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยาซึ่งมีรากฐานมาจากสถาบัน
                                    ่
พระมหากษัตริ ยและสถาบันศาสนา ไม่วาจะเป็ นทางด้านศิลปกรรม
                ์
วรรณกรรมประเพณี รวมทั้งพระพุทธศาสนา ซึ่งคนไทยศรัทธาและยึด
มันเป็ นสรณะมาโดยตลอด
  ่
ศิลปวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยาเกิดจากการผสมผสานระหว่าง
ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของคนไทย และ ศิลปวัฒนธรรมที่รับมาจาก
ภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิงศิลปวัฒนธรรมจากอินเดียที่อยุธยารับมาจาก
                       ่
เขมรและจากอินเดียโดยตรง
นอกจากนี้ อยุธยายังรับศิลปวัฒนธรรมไทยจากสุ โขทัยเข้ามาผสม
เข้ากับวัฒนธรรมของอยุธยา จนกลายเป็ นศิลปวัฒนธรรมของอยุธยาใน
ที่สุด และในระยะต่อมาได้กลายเป็ นรากฐานของศิลปวัฒนธรรมไทยใน
สมัยต่างๆจนถึงปัจจุบน ซึ่งมีท้ งทางด้านศิลปกรรม อันประกอบด้วย
                      ั        ั
สถาปัตยกรรม ประติมากรรมจิตรกรรม ประณี ตศิลป์ และ
ศิลปะการแสดง เป็ นต้น
๑. ด้ านสถาปัตยกรรม
     แสดงให้เห็นผ่านรู ปแบบเจดียตามอารามต่าง ๆ ซึ่งได้รับอิทธิพล
                                 ์
จากดินแดนรอบข้าง เช่น เจดียทรงมะปราง ได้รับอิทธิพลจากศิลปะ
                             ์
ลพบุรี เจดียทรงลังกา ได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุ โขทัย เป็ นต้น
            ์
                                                            ์่
     ต่อมามีการสร้างศิลปกรรมที่เป็ นของอยุธยาเอง เช่น เจดียยอมุม
ไม้สิบสอง ต่อมาได้รับอิทธิพลชาติตะวันตก ได้สร้างสถาปัตยกรรม
เช่น พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี เป็ นต้น
เจดีย์ย่อมุมไม้ สิบสอง
                             ่
    วัดไชยวัฒนาราม ตั้งอยูริมแม่น้ าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกนอกเกาะเมือง เป็ นวัดที่
    พระเจ้าปราสาททอง กษัตริ ยกรุ งศรี อยุธยาองค์ที่ 24 (พ.ศ. 2173-2198) โปรด
                                   ์
    ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2173 ได้ชื่อว่าเป็ นวัดที่มีความงดงามมากแห่ งหนึ่ งในกรุ ง
    ศรี อยุธยา ความสาคัญอีกประการหนึ่ งคือ วัดนี้เป็ นที่ฝังพระศพของเจ้าฟ้ า
                           ้
    ธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ ากุง) กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลายกับเจ้าฟ้ าสังวาลย์ซ่ ึ งต้อง
    พระราชอาญาโบยจนสิ้ นพระชนม์ในรัชสมัยของพระเจ้าอยูหวบรมโกศ    ่ ั
ด้ านประติมากรรม
ในสมัยอยุธยาตอนต้นนิยมสร้างพระพุทธรู ปตามแบบศิลปะอู่ทอง
ต่อมามีการรับอิทธิพลศิลปะสุ โขทัยผสมผสานเป็ นศิลปะอยุธยา เช่น
พระมงคลบพิธที่วิหารพระมงคลมหาบพิธ
นอกจากนี้มีการสร้างพระพุทธรู ปทรงเครื่ อง เช่น ที่วดหน้าพระเมรุ
                                                   ั
ด้ านวรรณกรรม
วรรณกรรมสาคัญ ได้แก่ บทร้อยกรอง เช่น ลิลิตโองการแช่งน้ า เป็ น
วรรณคดีเรื่ องแรกสมัยอยุธยา
ยุคทองแห่งวรรณกรรม ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ ่ ั
วรรณกรรมที่มีชื่อเสี ยง คือ กาพย์เห่เรื อ ของเจ้าฟ้ าธรรมธิเบศ (เจ้าฟ้ า
  ้
กุง)
ด้ านจิตรกรรม
ส่ วนใหญ่นิยมวาดภาพพุทธประวัติ ภาพไตรภูมิ ระยะแรกได้รับอิทธิพล
    จากศิลปะลพบุรีและสุ โขทัย ต่อมาพัฒนาเป็ นแบบอยุธยา คือมีการนาสี
    ที่ทาให้ภาพแลดูสว่างขึ้น เช่น สี ดา ขาว เหลือง และแดง
พัฒนาการด้ านความสั มพันธ์ กบต่ างประเทศ
                                  ั
๑.                    ั
     ความสัมพันธ์กบเขมร เขมรมีบทบาทด้านวัฒนธรรมต่ออยุธยาใน
     ระยะแรกเริ่ ม เนื่องจากเป็ นดินแดนที่ส่งผ่านอารยธรรมอินเดียเข้า
     มายังลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยา
๒.                      ั
     ความสัมพันธ์กบมอญ มอญมักถูกพม่าและอยุธยาเข้ารุ กรานเพื่อชิง
     ความเป็ นใหญ่เหนือหัวเมืองมอญ เพื่อให้หวเมืองมอญเป็ นเมือง
                                                ั
     ท่าทางการค้า
๓.                   ั                         ั
      ความสัมพันธ์กบล้านช้าง มีความสัมพันธ์กนแบบฉันท์มิตร
      เนื่องจากล้านช้างจะส่ งเครื่ องราชบรรณาการมาอยุธยาสม่าเสมอ และ
      ราษฏรทั้งสองฝั่งก็มีวฒนธรรมคล้ายคลึงกัน
                            ั
๔.                     ั
      ความสัมพันธ์กบหัวเมืองมลายู อยุธยาขยายอาณาเขตลงทางใต้เพื่อ
      ผลประโยชน์ทางการค้า แต่ไม่สามารถควบคุมมะละกาได้อย่าง
      เด็ดขาด
      ส่ วนหัวเมืองมลายูอื่น ๆ เช่น ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน และ
     ตรังกานู เป็ นประเทศราชที่ควบคุมโดยนครศรี ธรรมราช
๕.                       ั
     ความสัมพันธ์กบพม่า ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องความขัดแย้ง เพราะต่าง
     ต้องการขยายอานาจไปยังหัวเมืองมอญและล้านช้าง จึงมีการทา
     สงครามรวม ๒๔ ครั้ง
         สงครามครั้งแรก คือ ศึกเมืองเชียงกราน พ.ศ. ๒๐๘๑ และ
     สงครามครั้งสาคัญเกิดขึ้นใน พ.ศ. ๒๑๑๒ ตรงกับสมัยสมเด็จพระมหิ
     นทราธิราช ทาให้อยุธยาตกเป็ นของพม่าครั้งแรก จนกระทังสมเด็จ
                                                             ่
     พระนเรศวรมหาราช ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ และใน พ.ศ. ๒๓๑๐ สมัย
     สมเด็จพระที่นงสุ ริยาศน์อมริ นทร์ อยุธยาตกเป็ นของพม่าอีกครั้ง และ
                      ่ั
     เป็ นการสิ้ นสุ ดการเป็ นราชธานีของไทย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Nattha Namm
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
sandzii
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Pracha Wongsrida
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Pracha Wongsrida
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 

La actualidad más candente (20)

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 

Destacado

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
sangworn
 
Экспресс Документ
Экспресс ДокументЭкспресс Документ
Экспресс Документ
Andrey Paoukov
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
sangworn
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
sangworn
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
sangworn
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
sangworn
 
Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3
Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3
Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3
Daniel Augustyn
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
sangworn
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
sangworn
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
sangworn
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
 

Destacado (19)

소셜커머스
소셜커머스소셜커머스
소셜커머스
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Demo hieu ung
Demo hieu ungDemo hieu ung
Demo hieu ung
 
Tap N Share
Tap N ShareTap N Share
Tap N Share
 
Экспресс Документ
Экспресс ДокументЭкспресс Документ
Экспресс Документ
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
Maxartists Ppt V2.2
Maxartists Ppt V2.2Maxartists Ppt V2.2
Maxartists Ppt V2.2
 
Pewarisan sifat
Pewarisan sifatPewarisan sifat
Pewarisan sifat
 
Form on1
Form on1Form on1
Form on1
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3
Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3
Storyboard-design-thinking-museum-by-night-Laurea-SID-group-3
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
Form on1
Form on1Form on1
Form on1
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 

Similar a อาณาจักรอยุธยา

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
Kwandjit Boonmak
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
krunrita
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Thaiway Thanathep
 

Similar a อาณาจักรอยุธยา (20)

คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 

อาณาจักรอยุธยา

  • 2. พัฒนาการทางด้ านสั งคม ๑) โครงสร้างทางสังคมไทย โครงสร้างสังคมไทยในสมัยอยุธยา มีการแบ่งชนชั้นออกเป็ น ลาดับ ตั้งแต่ช้ นสูงสุ ด คือ พระมหากษัตริ ย ์ ถึงชั้นล่างสุ ด คือ ั ทาส และมีชนชั้นพิเศษอีกชนชั้น ได้แก่ พระสงฆ์ ซึ่งเป็ นผู้ สื บทอดศาสนา และเป็ นที่พ่ ึงพิงทางจิตใจและให้การศึกษาแก่ ประชาชน
  • 3. ๑. กลุ่มคนในสังคม แบ่งเป็ น 6 กลุ่ม ดังนี้ พระมหากษัคริ ย ์ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ไพร่ ทาส นักบวชทางศาสนา
  • 4. พระมหากษัตริย์ เป็ นผูมีอานาจสูงสุ ดในอาณาจักร มีฐานะเป็ นสมมติเทพ มีพระราชอานาจ ้ เหนือทุกคนในแผ่นดิน
  • 5. พระบรมวงศานุวงศ์ คือ ผูที่มีเชื้อสายร่ วมกับกษัตริ ย ์ มีหน้าที่ช่วยเหลือราชการแทนกษัตริ ย ์ ้ โดยกษัตริ ยจะส่ งไปปกครองหัวเมืองสาคัญต่าง ๆ เช่น พระราชโอรส ์ พระราชธิดา
  • 6. ขุนนาง คือ ผูที่ปฏิบติหน้าที่ในการดูแลบ้านเมือง ปกครองคนตามพระบรมราช ้ ั โองการของกษัตริ ย ์ มีฐานะแตกต่างกันไปตามหน้าที่และรับ พระราชทานที่ดินและไพร่ ไว้ใช้งาน
  • 7. ไพร่ คือ ราษฎรสามัญชนทัวไป มีอิสรเสรี ในการดารงชีวิต และจะถูกเกณฑ์ ่ แรงงานโดยขุนนางเป็ นครั้งคราว ไพร่ แบ่งออกเป็ น ๓ ประเภท ๑) ไพร่ หลวง ทางานให้ราชการแทนการเสี ยภาษี ปี ละ ๖ เดือน เรี ยกว่า “เข้าเดือนออกเดือน” ๒) ไพร่ สม ทางานรับใช้เจ้านายที่ตนสังกัด และออกรบเมื่อเกิดสงคราม เหมือนกับไพร่ หลวง ๓) ไพร่ ส่วย เป็ นไพร่ ท่ีส่งเงินหรื อสิ่ งของเข้ามาแทนการเกณฑ์แรงงาน
  • 8. ทาส คือ ผูไม่มีกรรมสิ ทธิ์ในแรงงานและชีวตของตน ไม่มีอิสรภาพ ต้องทา ้ ิ ตามความต้องการของนายเงิน
  • 9. นักบวชทางศาสนา คือ พระสงฆ์ พราหมณ์ มีหน้าที่ในการอบรมสังสอนและประกอบ ่ พิธีกรรมทางศาสนาภายใต้การอุปถัมภ์ของกษัตริ ย ์
  • 10. พัฒนาการทางด้ านศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของคนในสังคม เช่น ชีวิตความ เป็ นอยู่ อาหารการกิน ภาษาพูด ความเชื่อ มักแสดงในรู ปของธรรม เนียมประเพณี โดยเฉพาะด้านศิลปะ จึงเรี ยกรวมกันว่า “ศิลปวัฒนธรรม” การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ.๑๘๙๓ นับเป็ นการเริ่ มต้น ศิลปวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยาซึ่งมีรากฐานมาจากสถาบัน ่ พระมหากษัตริ ยและสถาบันศาสนา ไม่วาจะเป็ นทางด้านศิลปกรรม ์ วรรณกรรมประเพณี รวมทั้งพระพุทธศาสนา ซึ่งคนไทยศรัทธาและยึด มันเป็ นสรณะมาโดยตลอด ่
  • 11. ศิลปวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยาเกิดจากการผสมผสานระหว่าง ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของคนไทย และ ศิลปวัฒนธรรมที่รับมาจาก ภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิงศิลปวัฒนธรรมจากอินเดียที่อยุธยารับมาจาก ่ เขมรและจากอินเดียโดยตรง
  • 12. นอกจากนี้ อยุธยายังรับศิลปวัฒนธรรมไทยจากสุ โขทัยเข้ามาผสม เข้ากับวัฒนธรรมของอยุธยา จนกลายเป็ นศิลปวัฒนธรรมของอยุธยาใน ที่สุด และในระยะต่อมาได้กลายเป็ นรากฐานของศิลปวัฒนธรรมไทยใน สมัยต่างๆจนถึงปัจจุบน ซึ่งมีท้ งทางด้านศิลปกรรม อันประกอบด้วย ั ั สถาปัตยกรรม ประติมากรรมจิตรกรรม ประณี ตศิลป์ และ ศิลปะการแสดง เป็ นต้น
  • 13. ๑. ด้ านสถาปัตยกรรม แสดงให้เห็นผ่านรู ปแบบเจดียตามอารามต่าง ๆ ซึ่งได้รับอิทธิพล ์ จากดินแดนรอบข้าง เช่น เจดียทรงมะปราง ได้รับอิทธิพลจากศิลปะ ์ ลพบุรี เจดียทรงลังกา ได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุ โขทัย เป็ นต้น ์ ์่ ต่อมามีการสร้างศิลปกรรมที่เป็ นของอยุธยาเอง เช่น เจดียยอมุม ไม้สิบสอง ต่อมาได้รับอิทธิพลชาติตะวันตก ได้สร้างสถาปัตยกรรม เช่น พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี เป็ นต้น
  • 15. ่ วัดไชยวัฒนาราม ตั้งอยูริมแม่น้ าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกนอกเกาะเมือง เป็ นวัดที่ พระเจ้าปราสาททอง กษัตริ ยกรุ งศรี อยุธยาองค์ที่ 24 (พ.ศ. 2173-2198) โปรด ์ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2173 ได้ชื่อว่าเป็ นวัดที่มีความงดงามมากแห่ งหนึ่ งในกรุ ง ศรี อยุธยา ความสาคัญอีกประการหนึ่ งคือ วัดนี้เป็ นที่ฝังพระศพของเจ้าฟ้ า ้ ธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ ากุง) กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลายกับเจ้าฟ้ าสังวาลย์ซ่ ึ งต้อง พระราชอาญาโบยจนสิ้ นพระชนม์ในรัชสมัยของพระเจ้าอยูหวบรมโกศ ่ ั
  • 16. ด้ านประติมากรรม ในสมัยอยุธยาตอนต้นนิยมสร้างพระพุทธรู ปตามแบบศิลปะอู่ทอง ต่อมามีการรับอิทธิพลศิลปะสุ โขทัยผสมผสานเป็ นศิลปะอยุธยา เช่น พระมงคลบพิธที่วิหารพระมงคลมหาบพิธ นอกจากนี้มีการสร้างพระพุทธรู ปทรงเครื่ อง เช่น ที่วดหน้าพระเมรุ ั
  • 17. ด้ านวรรณกรรม วรรณกรรมสาคัญ ได้แก่ บทร้อยกรอง เช่น ลิลิตโองการแช่งน้ า เป็ น วรรณคดีเรื่ องแรกสมัยอยุธยา ยุคทองแห่งวรรณกรรม ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูหวบรมโกศ ่ ั วรรณกรรมที่มีชื่อเสี ยง คือ กาพย์เห่เรื อ ของเจ้าฟ้ าธรรมธิเบศ (เจ้าฟ้ า ้ กุง)
  • 18. ด้ านจิตรกรรม ส่ วนใหญ่นิยมวาดภาพพุทธประวัติ ภาพไตรภูมิ ระยะแรกได้รับอิทธิพล จากศิลปะลพบุรีและสุ โขทัย ต่อมาพัฒนาเป็ นแบบอยุธยา คือมีการนาสี ที่ทาให้ภาพแลดูสว่างขึ้น เช่น สี ดา ขาว เหลือง และแดง
  • 19. พัฒนาการด้ านความสั มพันธ์ กบต่ างประเทศ ั ๑. ั ความสัมพันธ์กบเขมร เขมรมีบทบาทด้านวัฒนธรรมต่ออยุธยาใน ระยะแรกเริ่ ม เนื่องจากเป็ นดินแดนที่ส่งผ่านอารยธรรมอินเดียเข้า มายังลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยา ๒. ั ความสัมพันธ์กบมอญ มอญมักถูกพม่าและอยุธยาเข้ารุ กรานเพื่อชิง ความเป็ นใหญ่เหนือหัวเมืองมอญ เพื่อให้หวเมืองมอญเป็ นเมือง ั ท่าทางการค้า
  • 20. ๓. ั ั ความสัมพันธ์กบล้านช้าง มีความสัมพันธ์กนแบบฉันท์มิตร เนื่องจากล้านช้างจะส่ งเครื่ องราชบรรณาการมาอยุธยาสม่าเสมอ และ ราษฏรทั้งสองฝั่งก็มีวฒนธรรมคล้ายคลึงกัน ั ๔. ั ความสัมพันธ์กบหัวเมืองมลายู อยุธยาขยายอาณาเขตลงทางใต้เพื่อ ผลประโยชน์ทางการค้า แต่ไม่สามารถควบคุมมะละกาได้อย่าง เด็ดขาด ส่ วนหัวเมืองมลายูอื่น ๆ เช่น ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน และ ตรังกานู เป็ นประเทศราชที่ควบคุมโดยนครศรี ธรรมราช
  • 21. ๕. ั ความสัมพันธ์กบพม่า ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องความขัดแย้ง เพราะต่าง ต้องการขยายอานาจไปยังหัวเมืองมอญและล้านช้าง จึงมีการทา สงครามรวม ๒๔ ครั้ง สงครามครั้งแรก คือ ศึกเมืองเชียงกราน พ.ศ. ๒๐๘๑ และ สงครามครั้งสาคัญเกิดขึ้นใน พ.ศ. ๒๑๑๒ ตรงกับสมัยสมเด็จพระมหิ นทราธิราช ทาให้อยุธยาตกเป็ นของพม่าครั้งแรก จนกระทังสมเด็จ ่ พระนเรศวรมหาราช ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ และใน พ.ศ. ๒๓๑๐ สมัย สมเด็จพระที่นงสุ ริยาศน์อมริ นทร์ อยุธยาตกเป็ นของพม่าอีกครั้ง และ ่ั เป็ นการสิ้ นสุ ดการเป็ นราชธานีของไทย