SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 42
Descargar para leer sin conexión
สฤณี อาชวานันทกุล
Fringer | คนชายขอบ
http://www.fringer.org/
ปรับปรุงจากชุดสไลดที่นําเสนอในงานเสวนาทางวิชาการเรื่อง “นโยบายเศรษฐกิจทางเลือกภายใตกระแสโลกาภิวัตนและ
อุดมการณเสรีนิยมใหม: บทสํารวจองคความรู และประสบการณ”
วันที่ 29 พฤษภาคม 2551
จัดโดย โครงการสงเสริม พัฒนาและเผยแพรความรูดานเศรษฐศาสตรเพื่อการพัฒนา
ศูนยศึกษานโยบายเพื่อการพัฒนา คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
และ กลุมศึกษาขอตกลงเขตการคาเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอ ว็อทช)
นโยบายเศรษฐกิจทางเลือกในประเทศกําลังพัฒนา
งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-
nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้
ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต
ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
2
หัวขอนําเสนอ
นโยบายพัฒนาในอุดมคติ
นโยบายพัฒนาที่ตั้งอยูบนความสุข : กรณีภูฏาน
บทบาทของอิสลามในการพัฒนา
นโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา
นโยบายพัฒนาในอุดมคติ
4
GDP เปนองคประกอบเดียวของ “ความสุข”
ที่มา: Deutsche Bank Research, 2007
5
ปญหาดานสิ่งแวดลอม ความจําเปนของ “ทางเลือก”
ที่มา: Carol King, “Will we always be more capable in the future?”;
Worldchanging.com - http://www.worldchanging.com/archives/007962.html
6
เหตุใดจึงควรคํานึงถึง “ความยุติธรรมทางสังคม”
การเติบโตของเศรษฐกิจที่มี “ฐานกวาง” นั่นคือ เติบโตในทางที่คนสวน
ใหญไดประโยชน ไมใชในทางที่ความมั่งคั่งกระจุกตัวอยูในมือชนชั้นนํา
นั้น เปนการเติบโตที่ทําใหคุณภาพชีวิตของคนดีขึ้น และเอื้ออํานวยตอ
กระแสประชาธิปไตย ซึ่งจะผลักดันใหคนในสังคมรูจักอดทนอดกลั้นตอ
ความคิดเห็นที่แตกตาง แทนที่จะทะเลาะเบาะแวงจนนําไปสูความ
รุนแรง หรือถูกกดขี่โดยผูครองอํานาจ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ “ดี” ที่มีฐานกวาง จึงชวยใหสังคมมี
ระดับ “คุณธรรม” สูงขึ้นกวาเดิม และระดับคุณธรรมที่สูงขึ้นนั้นก็จะทํา
ใหสังคมยั่งยืน มีสันติสุขและเสถียรภาพมากกวาในสังคมที่ความเจริญ
กระจุกตัวอยูในมือคนเพียงไมกี่คน
7
ลักษณะของนโยบายพัฒนาในอุดมคติ
ตั้งเปาหมายที่การสงเสริมและดํารง “ความอยูดีมีสุข” ของประชาชนในสังคม
ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
“การพัฒนาอยางยั่งยืน” (Sustainable Development) หมายความวา ไมใช
ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราที่เร็วกวาความสามารถของมนุษยในการผลิตทรัพยากร
ทดแทน และไมทิ้งทรัพยากรธรรมชาติในอัตราที่เร็วกวาอัตราที่ธรรมชาติจะสามารถดูด
ซับมันกลับเขาไปในระบบ
ประเมินผลดีและผลเสียจากการดําเนินนโยบายอยางรอบคอบ สําหรับผูมีสวนได
เสียแตละกลุม โดยมุงเนนการสงเสริมหรือธํารงความอยูดีมีสุขของผูดอยโอกาส
ที่สุดในโครงการนั้นๆ เปนหัวใจสําคัญ
มองทรัพยากรที่มีวันหมดตางๆ รวมทั้งผลกระทบภายนอกวาเปน “ตนทุน” ที่ตอง
จายหรือกําจัดโดยไมใหประชาชนเปนผูรับภาระ
8
ลักษณะของนโยบายพัฒนาในอุดมคติ (ตอ)
มุงเนนการพัฒนา “ศักยภาพ” ของมนุษย มากกวา “ระดับรายได”
สงเสริม “ความยุติธรรมทางสังคม” โดยรัฐตองคุมครองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน
ของประชาชน จัดบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่ไดคุณภาพ ดําเนินนโยบายที่
มีจุดมุงหมายที่การลดความเหลื่อมล้ําทางรายได และสงเสริมการมีสวนรวม
ทางการเมืองของประชาชน
สามารถรองรับความหลากหลายของแตละวัฒนธรรมทองถิ่นในทุกระดับได
เพราะการใชชุดนโยบายพัฒนาที่ยัดเยียดแบบ “สําเร็จรูป” อาจนําไปสูความ
ขัดแยงและความรุนแรงในสังคม และดังนั้นจึงไมอาจเรียกวาเปนระบบเศรษฐกิจที่
ยั่งยืนได
9
รายไดตอหัวของกลุมประเทศพัฒนาที่ยกเปนกรณีศึกษา
นโยบายพัฒนาที่ตั้งอยูบนความสุข : กรณีภูฏาน
11
นิยามและประเภทของ “ความสุข”
ความสุข (happiness)
เปนคุณสมบัตินามธรรม เปนอัตตวิสัย (subjective) และมีหลายระดับ ขึ้นอยูกับเหตุปจจัย
และสภาวะทางอารมณของแตละคน
อรรถประโยชน (utility)
เปนภววิสัย (objective) และบางประเภทสามารถวัดออกมาเปนตัวเลข (เชน รายได)
ความอยูดีมีสุข (wellbeing)
คือสภาวะที่ดํารงอยูตอเนื่องยาวนานกวา “ความสุข” ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพียงชั่วครูยามเทานั้น
และเปน “ภววิสัย” มากกวา “ความสุข” เพราะระดับความสุขที่คนแตละคน “รูสึก” อาจมีไม
เทากันถึงแมวาจะอยูในภาวะ “อยูดีมีสุข” ทัดเทียมกัน เชน คนหนึ่งที่มีฐานะ ความเปนอยู
เสรีภาพ ฯลฯ คอนขางดีอาจรูสึกมีความสุขดีกับชีวิต ในขณะที่อีกคนหนึ่งที่มีปจจัยเหลานี้
เทากันอาจรูสึกไมมีความสุขเลย เพราะมีความทะเยอทะยานอยากไดใครมีมากกวาคนแรก
ดังนั้น “ความอยูดีมีสุข” จึงสามารถนําไปใชเปนสวนหนึ่งในการกําหนดนโยบายพัฒนาได
12
ขอถกเถียงของอมาตยา เซน ตอมุมมองเสรีนิยมใหม
การมี “เสรีภาพทางเศรษฐกิจ” เพียงมิติเดียว ไมเพียงพอตอการเขาถึง
หรือประเมินระดับความอยูดีมีสุข
แนวคิดของอุดมการณเสรีนิยมใหมที่เชื่อวาทุกคนสามารถแสดงออกถึง
ระดับอรรถประโยชนที่พวกเขาไดรับนั้น เปนสมมุติฐานที่ไมถูกตอง
เพราะคนยากจนมักไมสามารถแสดงความตองการและความไมพึงพอใจ
ของพวกเขาออกมาได เนื่องจากถูกสภาพสังคม วัฒนธรรม หรือความเชื่อ
ทางศาสนากดทับเอาไว
คนที่มีเสรีภาพทางเศรษฐกิจระดับหนึ่ง อาจไมมีความสุขก็ไดเพราะขาด
คุณภาพชีวิตที่ดี
13
ดัชนีพัฒนามนุษย (Human Development Index)
ประกอบดวยตัวชี้วัด 3 ตัวหลัก ไดแก
ความยืนยาวของอายุประชากร สะทอนแนวโนมที่ประชากรจะ
สามารถใชชีวิตอยางมีสุขภาพดี และสะทอนคุณภาพของระบบ
สาธารณสุขในประเทศ
อัตราการรูหนังสือและจํานวนปที่ประชากรไดรับการศึกษา สะทอน
ความสามารถในการเขาถึงโอกาสตางๆ
รายไดตอหัวประชากร สะทอนระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจ
14
Human Development Index ของกลุมประเทศกรณีศึกษา
15
ดัชนีความสุขของโลก (Happy Planet Index)
จัดทําโดยสถาบันวิจัยอิสระชื่อ New Economics Foundation
เปนดัชนีชุดแรกในโลกที่นําดัชนีวัดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมมารวมกับดัชนีวัด
ความอยูดีมีสุขของประชากร HPI วัด “ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ” (ecological
efficiency) ของแตละประเทศในการ “แปลงสภาพ” ทรัพยากรธรรมชาติให
ประชากรมีชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุข
HPI = ความพึงพอใจในชีวิต x ความยืนยาวของอายุ
รอยเทานิเวศ
16
ดัชนีความสุขของโลก (Happy Planet Index) ป 2006
17
Rank Country Life Sat. Life Exp. Eco. Footprint HPI
1 Vanuatu 7.4 68.6 1.1 68.2
2 Colombia 7.2 72.4 1.3 67.2
3 Costa Rica 7.5 78.2 2.1 66.0
4 Dominica 7.3 75.6 1.8 64.6
5 Panama 7.2 74.8 1.8 63.5
6 Cuba 6.3 77.3 1.4 61.9
7 Honduras 7.2 67.8 1.4 61.8
8 Guatemala 7.0 67.3 1.2 61.7
9 El Salvador 6.6 70.9 1.2 61.7
10 Saint Vincent & Grenadines 7.2 71.1 1.7 61.4
11 Saint Lucia 7.0 72.4 1.6 61.3
12 Vietnam 6.1 70.5 0.8 61.2
13 Bhutan 7.6 62.9 1.3 61.1
14 Samoa (Western) 6.9 70.2 1.4 61.0
15 Sri Lanka 6.1 74.0 1.1 60.3
16 Antigua and Barbuda 7.4 73.9 2.3 59.2
17 Philippines 6.4 70.4 1.2 59.2
18 Nicaragua 6.3 69.7 1.1 59.1
19 Kyrgyzstan 6.6 66.8 1.1 59.0
20 Solomon Islands 6.9 62.3 1.0 58.9
ดัชนีความสุขของโลก (Happy Planet Index) ป 2006 (ตอ)
18
นโยบาย “Gross National Happiness” ของภูฏาน
การพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน (sustainable economic
development)
การอนุรักษสิ่งแวดลอม (conservation of the environment)
การสงเสริมวัฒนธรรมประจําชาติ (promotion of national culture)
ธรรมาภิบาลที่ดี (good governance)
19
ตัวอยางนโยบาย GNH ที่เปนรูปธรรม
“การทองเที่ยวอยางยั่งยืน” ควบคูไปกับนโยบายอนุรักษสิ่งแวดลอม
กฎหมายสิ่งแวดลอมระบุวาตองมีพื้นที่ปาไมไมต่ํากวารอยละ 60 ของพื้นที่ทั้งประเทศ และ
พื้นที่สงวนไมต่ํากวารอยละ 25
แบนอุตสาหกรรมปาไม อนุญาตใหคนตัดไมไปสรางบานเรือนและอาคารเทานั้น แตตอง
ขออนุญาตจากรัฐและตองปลูกตนไมชดเชย
มาตรการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยวทางออมดวยการเก็บภาษีทองเที่ยว
แคมเปญ “ชาติเดียว ชาติพันธุเดียว” : บังคับใชชุดจริยธรรมแบบจารีตเกาแก
(driglam namzha), ภาษา (Dzongka), ใสชุดประจําชาติ และใหบานเรือนและ
อาคารทุกหลังใชสถาปตยกรรมแบบดั้งเดิม
พัฒนาระบบราชการที่เขมแข็งและสามารถกระจายอํานาจไปสูทองถิ่น
20
ปญหาและความทาทาย
ยังพึ่งพาอินเดีย (โดยเฉพาะการขายไฟฟา - รอยละ 88 ของมูลคาสงออก) และเงิน
ชวยเหลือจากตางประเทศในอัตราสูง เนื่องจากภาคเอกชนยังมีขนาดเล็กมาก
การพัฒนาภาคธุรกิจเอกชนเปนไปอยางเชื่องชา และมีตนทุนสูงกวาคาเฉลี่ยของประเทศ
กําลังพัฒนา สงผลใหแนวโนมอัตราวางงานสูงขึ้นเนื่องจากมีหนุมสาวที่จบการศึกษาเร็ว
กวาตําแหนงงานในภาคเอกชน ภาครัฐตองรับภาระในการจางงานคอนขางสูง
การใหความสําคัญตอการอนุรักษสิ่งแวดลอมในระดับสูงมากอาจเพิ่มแรงตึงเครียดตอการ
พัฒนาประเทศในชวงตอไป
ความพยายามที่จะอนุรักษอัตลักษณทางวัฒนธรรมอยางแข็งขืนกําลังสงผลกระทบเชิงลบ
ตอชนกลุมนอยในประเทศ โดยเฉพาะชาวเนปาลอพยพที่ถูกกีดกัน
หลังจากเพิ่งเปลี่ยนผานระบอบการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย
เปนประมุข รัฐบาลจําเปนจะตองใชเงินลงทุนคอนขางมากในการจัดตั้งและทํานุบํารุง
โครงสรางเชิงสถาบันใหมๆ ที่จําเปนในระบอบประชาธิปไตย ไมวาจะเปนระบบราชการ
สถาบันตุลาการ และองคกรอิสระอื่นๆ
บทบาทของอิสลามในการพัฒนา
22
“โลกมุสลิม”
23
“ความลาหลัง” ทางเศรษฐกิจของทวีปตะวันออกกลาง
สัดสวน GDP ตอหัวในประเทศอาหรับ 8 ประเทศ (จอรแดน, อิรัก, ซีเรีย, เลบานอน,
ปาเลสไตน, อียิปต, ตูนิเซีย, โมร็อกโก) ตอคาเฉลี่ยโลก, 1820-2006
24
“เศรษฐกิจในอุดมคติ” ตามหลักอิสลาม
มนุษยทุกคนมีหนาที่ทํางานเพื่อหาเลี้ยงชีพ
พระอัลเลาะหเปนเจาของสุดทายของสรรพสิ่งทุกอยางบนโลก
มนุษยควรแสวงหาความมั่งคั่งอยางชอบธรรมไดดวยการทํางานหนักและรับมรดกตกทอด
สังคมมีหนาที่ดูแลคนจนและคนดอยโอกาส : ซากัต
ราคาในการทําธุรกรรมตางๆ ตองเปนราคาที่ “ยุติธรรม” หมายความวาเปนผลลัพธของ
ตลาดที่มีการแขงขันอยางเสรีจริงๆ การผูกขาดและกักตุนสินคานําไปสูการฉวยโอกาสเอา
เปรียบผูอื่น และดังนั้นจึงตองถูกตอตานหรือกําจัด
เปาหมายของนโยบายการเงินของรัฐควรอยูที่การรักษาเสถียรภาพของราคา
เปาหมายของนโยบายการคลังของรัฐควรอยูที่การสรางสมดุลระหวางรายได (จากการเก็บ
ภาษี) และรายจาย (เพื่อสาธารณประโยชน) ในทางที่งบประมาณไมขาดดุล
25
ประสบการณการพัฒนาของประเทศมุสลิม
“เศรษฐศาสตรอิสลาม” ที่ตั้งอยูบนกฎเกณฑ (normative economics) ที่มีมิติทางอุดมการณสูง
เริ่มปรากฏเพียงเมื่อกลางทศวรรษ 1970 เทานั้น
สาเหตุของความลาหลังในการพัฒนาเศรษฐกิจไมใชหลักอิสลาม หากเปนปจจัยอื่นๆ เชน
ความบกพรองเชิงโครงสรางเชิงสถาบัน เชน การปกครองแบบเผด็จการทหาร
ความเสื่อมสลายของอาณาจักรอ็อตโตมันทั้งทางดานการทหารและเศรษฐกิจในศตวรรษที่ 19
เดินสวนทางกับกระแสการปฏิวัติอุตสาหกรรมในขณะนั้น
ถึงแมวาหลักชาริอะฮจะไมมีเนื้อหา “ตอตาน” พัฒนาการทางเศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตรและผู
สังเกตการณจํานวนไมนอยที่มองวา อิสลามสงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอระดับการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่ประชากรสวนใหญเปนชาวมุสลิม
ขอสรุปของงานวิจัยที่วาอิสลามในฐานะศาสนาสงผลกระทบนอยมากตอโครงสรางเชิงสถาบัน
ระบอบเศรษฐกิจ หรืออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมนั้น ไมนาแปลกใจเนื่องจากหลัก
คําสอนของศาสนาอื่นๆ ก็ไมไดสงผลกระทบในสาระสําคัญตอพัฒนาการทางเศรษฐกิจของ
ประเทศอื่นๆ เชนเดียวกัน
26
อิสลามไมมีความสัมพันธเชิงสถิติตอความเจริญทางเศรษฐกิจ
งานวิจัยของ มารคัส โนแลนด (Marcus Noland, 2006) แสดงใหเห็นอยางชัดเจน
วา ไมมีความสัมพันธเชิงสถิติที่มีนัยยะสําคัญใดๆ ระหวางความเชื่อทางศาสนา
กับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไมวาจะในระดับระหวางประเทศ (cross-
national) หรือในระดับระหวางภูมิภาคตางๆ ในประเทศ (subnational)
ในทางตรงกันขาม โนแลนดรายงานวา “คาสัมประสิทธิ์ที่มีความสําคัญทางสถิติ
แทบทุกตัวมีความสัมพันธเชิงบวกกับสัดสวนประชากรที่เปนมุสลิม บงชี้วา
อิสลามสงเสริมความเจริญ ไมใชอุปสรรค”
ระดับความเปนอิสลาม” (ซึ่งสะทอนในสัดสวนประชากรที่เปนมุสลิม) ของแตละ
ประเทศ ไมมีความสัมพันธเชิงสถิติใดๆ กับ “ระดับความเจริญทางเศรษฐกิจ” ของ
ประเทศนั้นๆ
27
ชาวมุสลิมมองเห็นความบกพรองของโครงสรางเชิงสถาบัน
ขอเท็จจริงที่วาหลักอิสลามไมใชสาเหตุของความลาหลังทางเศรษฐกิจ มีนัยยะที่สําคัญยิ่งตอ
การดําเนินนโยบายพัฒนาในประเทศมุสลิม รัฐบาลประเทศมุสลิมควรมุงเนนการสงเสริม
โครงสรางเชิงสถาบันตางๆ
28
ระบบการเงินอิสลาม : “คูขนาน” กับการเงินกระแสหลัก
การทําธุรกรรมการเงินแบบอิสลามมีมาตั้งแตยุคแรกๆ ของอารยธรรมอิสลาม
(คริสตศตวรรษที่ 9-14)
หลังจากที่ไดรับเอกราชจากประเทศเจาอาณานิคม ในชวงตนทศวรรษ 1960
ประเทศมุสลิมหลายแหงก็เริ่มเกิดความสนใจที่จะนํารูปแบบการเงินอิสลาม
กลับมาใชใหม นําไปสูการจัดตั้งสถาบันการเงินมุสลิม
อุปสงคที่สูงขึ้นตลอดชวงทศวรรษ 1980 ทําใหระบบการเงินอิสลามเติบโตขึ้นและ
ดึงดูดใหธนาคารพาณิชยจากโลกตะวันตกเขามาเสนอบริการดานบริหารความมั่ง
คั่ง รวมทั้งขยายตลาดไปสูชาวมุสลิมหมูมากผาน “หนาตางธนาคารอิสลาม”
ระบบการเงินอิสลามและตลาดทุนอิสลามแสดงใหเห็นความยืดหยุนของหลักชา
ริอะฮในการสนับสนุนระบบการเงินและตลาดทุนที่นอกจากจะสามารถดํารงอยู
“ควบคู” ไปกับระบบการเงินและตลาดทุนกระแสหลักแลว ยังสามารถ “ตอยอด”
ระบบการเงินกระแสหลักในทางที่เปนประโยชนตอเศรษฐกิจโดยรวม
29
หลักการของระบบการเงินอิสลาม
ระบบการเงินแบบอิสลาม (Islamic financial system) หมายถึงระบบการเงินที่ใหซื้อ
ขายผลิตภัณฑทางการเงินที่ไมขัดตอหลักชาริอะฮ
หลักการพื้นฐานที่สําคัญที่สุดคือการหาม “ริบา” (ดอกเบี้ย) และหามการควบคุมราคา
และการบิดเบือนราคา แตไมไดหามการเก็งกําไรใดๆ ทั้งสิ้น
แกนแทของระบบการเงินอิสลามอยูที่การสงเสริมทักษะและทัศนคติแบบ “ไมเสี่ยงเกิน
ตัว” ของผูประกอบการ การปกปองสิทธิในทรัพยสินสวนบุคคล ความโปรงใสและความ
เทาเทียมกัน (level playing field) ของผูเลนในระบบ ตลอดจนความศักดิ์สิทธิ์ของ
สัญญาทางการเงิน
แนวคิดเรื่องการเงินอิสลามเปนแนวคิดที่พัฒนาไปเรื่อยๆ ตามกาลเวลาและนวัตกรรม
ในโลกการเงินกระแสหลัก ปจจุบันแตกแขนงออกไปเปนสํานักคิดสี่แหงหลักๆ ไดแก ฮา
นาฟ (Hanafi) มาลิกี (Maliki) ชาเฟย (Shafei) และ ฮันบาลี (Hanbali) แตละสํานักคิดมี
การตีความรายละเอียดปลีกยอยในชาริอะฮแตกตางกันไปตามมุมมองของตน
30
ผลิตภัณฑทางการเงินในระบบอิสลาม
การขายแบบตนทุนบวกสวนตาง (cost-plus-sale) หรือทุนเพื่อการขาย
(purchase finance) เรียกวา มูราบาฮา (Murabaha)
การเชาซื้อ เรียกวา อิจารา (Ijara)
การแบงผลกําไรจากธุรกิจ เรียกวา มูดาราบา (Mudaraba) มีลักษณะ
คลายคลึงกับการลงทุนแบบรวมลงทุน (venture capital) ในระบบการเงิน
กระแสหลัก
การรวมทุนทําธุรกิจ เรียกวา มูชาริกา (Musharika)
จากงานวิจัยพบวา ธุรกรรมมูชาริกา และมูราบาฮาของธนาคารอิสลาม
สามารถใชกําหนดนโยบายการเงินของธนาคารไดคอนขางดี ใชแทนที่นโยบาย
ดอกเบี้ยได (เชน อิหราน)
31
ความทาทายและนโยบายที่จําเปน
ถึงแมสถาบันการเงินอิสลามจะมีความเสี่ยงคอนขางต่ํา แตสถานการณตลาดที่ไมเอื้ออํานวย
ปญหาขาดแคลนสภาพคลอง พอรตลงทุน เครื่องมือบริหารความเสี่ยง สินทรัพยสภาพคลองสูง
ตลอดจนขอจํากัดอื่นๆ ทําใหมูลคาสินทรัพยของสถาบันการเงินอิสลามอยูในระดับคอนขางคงที่
และสินทรัพยเหลานั้นสวนใหญก็เปนตราสารการเงินระยะสั้น
ปจจุบันธุรกรรมการเงินแบบอิสลามมักจะเสียเปรียบตราสารหนี้กระแสหลักในดานความคุมคา
ของตนทุน (cost-efficiency)
อุปสรรคสําคัญประการหนึ่งที่กีดขวางการเติบโตของการเงินอิสลามคือการขาดความเขาใจใน
สภาวะตลาดการเงินสมัยใหมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนรายละเอียดของกฎเกณฑที่
ตรงตามหลักชาริอะฮ
การผอนคลายกฎระเบียบในภาคการเงิน และการเปดใหทุนไหลเวียนระหวางประเทศโดยเสรี
ในหลายๆ ประเทศ ทําใหสถาบันการเงินอิสลามและสถาบันการเงินกระแสหลักเริ่มรวมมือกัน
อยางใกลชิดมากขึ้น เพื่อหาหนทางเพิ่มสภาพคลองและบริหารจัดการพอรตลงทุน
นโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา
33
ปรัชญาและเบื้องหลัง
แนวคิดประชานิยมมีรากฐานทางปรัชญาเกี่ยวพันกับลัทธิประโยชนนิยม
(Utilitarianism) ของ เจเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham)
การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบ “เปดเสรีสุดขั้ว” ภายใตอุดมการณเสรีนิยมใหม
ของ “ตะวันตก” ซึ่งถูก “นําเขา” มาใชอยางเรงรีบและรุนแรง เปนสาเหตุหนึ่งของ
การเลือกดําเนินนโยบายประชานิยม
ผูปกครองภายใตแนวคิดประชานิยมพยายามนําเสนอแนวนโยบายที่มีลักษณะ
เปนปฏิกิริยาโตกลับ (Reactionary) นโยบายเดิม โดยมีสาระตอตานแนวคิดแบบ
“ตะวันตก” และลิดรอนอํานาจทางเศรษฐกิจของชนชั้นนํา (Establishment) ทั้งชน
ชั้นนําระดับทองถิ่นและระดับชาติที่มีบรรษัทตางชาติคอยหนุนหลัง
34
รูปแบบและหลักการของนโยบายประชานิยม
หลักการพื้นฐานของนโยบายประชานิยม คือการระดมทรัพยากรทางการคลังของรัฐบาล
ทั้งเงินในงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ และรายไดจากการคาขายของรัฐบาล มา
ใชจายอยางเต็มที่ในนโยบายประชานิยมรูปแบบตางๆ รวมทั้งการทําใหสถาบันการเงิน
ของรัฐใหเปนแหลงเงินทุนในการใชจายงบประมาณไปในนโยบายประชานิยม โดย
เนนหนักไปในการใชนโยบายกึ่งการคลัง
รัฐบาลมักอางวาการดําเนินนโยบายประชานิยมเปนไปเพื่อชวยเหลือคนยากจนที่เปน
กลุมคนสวนใหญภายในประเทศใหมีสิทธิเสรีภาพมากขึ้น และมีชีวิตความเปนอยูดีขึ้น
นโยบายประชานิยมมีหลากหลายมาตรการ
มาตรการพัฒนาความเปนอยูของประชาชนในระดับรากหญา
มาตรการสรางสวัสดิการสังคม
มาตรการแกไขปญหาความยากจนและการยกหนี้/พักชําระหนี้
35
ที่มาของนโยบายประชานิยมในละตินอเมริกา
ในยุคลาอาณานิคมภูมิภาคละตินอเมริกาตกเปนเมืองขึ้นและถูกประเทศแมขูดรีด
ทรัพยากรไปเปนจํานวนมาก หลังจากไดรับเอกราช ประเทศสวนใหญอยูภายใต
ระบบสังคมนิยมและเผด็จการ ปกครองโดยรัฐบาลทหาร เนื่องจากรัฐบาลทหาร
ตองการแสวงหาความชอบธรรมเพื่อจะไดอยูในอํานาจนานๆ จึงเริ่มใชนโยบาย
ประชานิยม
การใชนโยบายประชานิยมกอปญหามากมาย องคกรโลกบาลตางๆ จึงเขามามี
บทบาทในละตินอเมริกา โดยเสนอใหดําเนินนโยบายตามฉันทมติวอชิงตัน ซึ่ง
เปน “ยาแรง” ที่สงผลเสียตอประเทศไมนอยไปกวากัน นําไปสูวิกฤติเศรษฐกิจทั่ว
ทั้งภูมิภาค ประชาชนไดรับความเดือดรอนกันทั่วหนา
หลังจากวิกฤติ ประเทศเริ่มมีปฏิกิริยาตอตานการชักนําและนโยบายแทรกแซง
ของสหรัฐอเมริกา นําไปสูการดําเนินนโยบายประชานิยมอีกครั้ง ซึ่งมีรูปแบบ
แตกตางออกไปจากเดิมในรายละเอียด
36
โครงสรางเชิงสถาบันกับนโยบายประชานิยม
โดยรวม การใชนโยบายประชานิยมเปน “ปฏิกิริยา” (reactionary policies) ของประเทศละตินตอผลเสีย
จากอุดมการณเสรีนิยมใหม และการกดขี่แทรกแซงของบรรษัทขามชาติและรัฐบาลอเมริกัน
ประชากรในละตินอเมริกามีหลากหลายเชื้อชาติ มีภาษาและวัฒนธรรมเฉพาะเปนของตนเอง และมี
แนวโนมที่จะตอตานตางชาติ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณถูกขูดรีดและแทรกแซงจาก
ตางชาติเสมอมา ทําใหการดําเนินนโยบายประชานิยมสอดคลองกับความตองการของประชาชนสวน
ใหญ เอื้อใหเกิดการดําเนินนโยบายในลักษณะนี้อยูเสมอ
รูปแบบและความสําเร็จของนโยบายประชานิยม มักขึ้นอยูกับ
อุดมการณทางการเมืองที่ผูนํายึดถือ เชน ประชาธิปไตย สังคมนิยม หรือเผด็จการทหาร
ลัทธิความเชื่อทางเศรษฐกิจวาเชื่อในลัทธิเสรีนิยมใหม หรือตอตานเสรีนิยมใหม
ระดับความแข็งแกรงของโครงสรางเชิงสถาบันในละตินอเมริกา ซึ่งในหลายประเทศยังออนแออยู
ระดับทรัพยากร เชน ประเทศที่มีรายไดจากการขายพลังงานที่ราคากําลังพุงสูงเปนประวัติการณ
(เวเนซุเอลา โบลิเวีย และเอกวาดอร) ยอมสามารถใชเงินดําเนินนโยบายประชานิยมอยาง “ยั่งยืน”
มากกวาประเทศที่ไมมี
37
หนี้สาธารณะ : หนึ่งในขอจํากัดของขอบเขตประชานิยม
สัดสวนหนี้สาธารณะที่อยูในระดับสูงของอารเจนตินาและบราซิล
ประกอบกับการที่ไมมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณเทาไรนัก
ทําใหสองประเทศนี้มีความคลองตัวในการดําเนินนโยบายประชา
นิยมต่ํากวาประเทศอื่นๆ อยางเวเนซุเอลา ชิลี หรือเอกวาดอร
38
รูปแบบของประชานิยมในละตินอเมริกา
ประชานิยมแบบดั้งเดิม มีฐานเสียงสวนใหญอยูที่กลุมสหภาพแรงงาน มีนโยบาย
จัดสรร กระจายและแจกจายสินคาและบริการตาง ๆ ใหกับประชาชนสวนใหญของ
ประเทศซึ่งเปนคนจนและชนชั้นกลางใหเปนธรรมมากขึ้น แตก็ไมไดตั้งใจตอตานทุน
นิยมเสียทีเดียว นโยบายแบบนี้มีลักษณะตองการกระจายอํานาจในการบริโภคมากกวา
ตองการปฏิวัติระบอบเศรษฐกิจ
ประชานิยมเสรีนิยมใหม เลือกดําเนินนโยบายประชานิยมควบคูไปกับนโยบาย
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหมปลอยใหกลไกตลาดเปนตัวกําหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
และลดบทบาทของรัฐลง แลวใชนโยบายเอาใจฐานเสียงที่สวนใหญเปนกลุมคนระดับ
ลางในเศรษฐกิจนอกระบบซึ่งจะใชเฉพาะกลุมเทานั้น ลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ
การแยกตัวเองออกจากกลุมนักการเมืองรุนเกา หรือ กลุมอํานาจเกา
ประชานิยมชาตินิยม มีนโยบายซื้อคืนกิจการของเอกชน โดยเฉพาะกิจการผูกขาดใน
สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ตกอยูในมือบรรษัทขามชาติ ใหกลับมาเปนของรัฐ และ
ดําเนินการปฏิรูปโครงสรางสถาบัน
39
ผลดี-ผลเสียของนโยบายประชานิยมรูปแบบตาง ๆ
ประชานิยมแบบดั้งเดิมสงผลใหรายไดที่แทจริงและการบริโภคอยูในระดับดีขึ้น อยางมี
นัยสําคัญในชวงระยะเวลาหนึ่ง ประชาชนไดสินคาและบริการมาอุปโภคบริโภคโดยไมตองแบก
รับตนทุน ทําใหเศรษฐกิจในระยะแรกเติบโต แตจะกอใหเกิดปญหาตามมาในระยะยาว
โดยเฉพาะการบั่นทอนวินัยทางการคลังของรัฐ และวินัยทางการเงินของประชาชน
ประชานิยมเสรีนิยมใหม ทําใหเกิดผลกระทบคลายคลึงกับประชานิยมแบบแรก ตางกันที่
มีผลดีจากการที่นักลงทุนจากในและตางประเทศจะมีความเชื่อมั่นที่จะเขามาลงทุน
ภายในประเทศ มากกวาประเทศที่ใชประชานิยมแบบดั้งเดิมและประชานิยมชาตินิยม
เมื่อใชนโยบายควบคูกับเสรีนิยมใหมที่เนนกลไกตลาด จะทําใหเกิดประสิทธิภาพเพิ่มมาก
ขึ้น หากประเทศมีโครงสรางเชิงสถาบันที่ดี
ประชานิยมชาตินิยม สงผลใหรายไดที่แทจริงเพิ่มขึ้น ระบบบริการสุขภาพและระบบการศึกษา
มีคุณภาพดีกวาเดิม แตก็สงผลใหรัฐบาลมีภาระในการใชจายมาก ซึ่งอาจสงผลกระทบในระยะ
ยาวไมตางกันกับนโยบายประชานิยมแบบอื่น ๆ นอกจากนี้ ก็มีขอกังขาวารัฐบาลจะสามารถ
ดําเนินธุรกิจผูกขาดไดดีกวาเอกชนหรือไม
40
รูปแบบของประชานิยมในประเทศละตินอเมริกา
41
ขอถกเถียงเกี่ยวกับนโยบายประชานิยม
การดําเนินนโยบายประชานิยมชวยแกปญหาใหกับคนยากจนไดหรือไม
การดําเนินนโยบายกระตุนอุปสงคระยะสั้นแบบเคนส (Keynes) สงผลดีหรือ
ผลเสียมากกวากัน
การดําเนินนโยบายประชานิยมอยูภายใตอุดมการณสังคมนิยมหรือไม
แนวนโยบายประชานิยมตอตานอุดมการณเสรีนิยมใหมจริงหรือไม
การดําเนินนโยบายประชานิยม ทําใหกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยและ
ประชาสังคมตองติดขัดจริงหรือไม
การดําเนินนโยบายประชานิยมมีเปาหมายเพื่อชวยเหลือคนจนจริงหรือไม
42
การปรับตัวภายใตกระแสโลกาภิวัตน
การปรับตัวตอบสนองและสนับสนุนโลกาภิวัตน
แสดงใหเห็นวาหลักการของทุนนิยมนั้นไมไดขัดตอการดําเนินนโยบายประชานิยมแต
อยางใด แมวาอาจมีรายละเอียดปลีกยอยที่เฉพาะเจาะจงกวาประชานิยมโดยทั่วไปบาง
เชน รัฐบาลประชานิยมเสรีนิยมใหมของประธานาธิบดี อัลเบอรโต ฟูจิโมริ แหงเปรู เลือก
ที่จะไมดําเนินนโยบายปฏิรูปที่ดิน นโยบายกระจายรายได แตเนนสงเสริมการบริโภคของ
ประชาชน กระตุนอุปสงคระยะสั้นเพื่อกระตุนเศรษฐกิจมหภาค
การปรับตัวตอบสนองและตอตานโลกาภิวัตนในรูปแบบตาง ๆ
“เขตเศรษฐกิจของประชาชน” (Bolivarian Alternative for the Americas, ALBA) ลงนาม
รวมกันระหวางโบลิเวีย คิวบา และเวเนซุเอลา
นโยบายควบคุมเงินทุนไหลเขา เชน อารเจนตินาในยุคประธานาธิบดี เนสเตอร คิชเนอร
โครงการ “เปโตรคาริป” (Petro Caribe) ขายน้ํามันราคาถูก, “เปโตรชัว” (Petro Sur)
น้ํามันแลกลูกวัว, และ “เทเลซัว” (Tele Sur) ผลิตรายการทางเลือก

Más contenido relacionado

Más de Sarinee Achavanuntakul

ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Sarinee Achavanuntakul
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 

Más de Sarinee Achavanuntakul (20)

ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 

Alternative Economic Policies in Developing Countries