SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
Thailand Internet
Governance: From
Monologue to Dialogue
สฤณี อาชวานันทกุล
นักวิจัยในโครงการวิจัย โดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยนโยบายสื่อ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
3
4
5
ที่มา: Fujitsu
6
7
8
9
10
นิยาม “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต”
“การอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet governance) หมายถึงการพัฒนาและลงมือ
ปฏิบัติตามหลักการ ปทัสถาน กฎระเบียบ กระบวนการตัดสินใจ และโครงการที่
ตกลงร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งส่งผลต่อ
วิวัฒนาการและการใช้อินเทอร์เน็ต”
- การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World Summit
on Information Society: WSIS), 2003
11
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต”
 ปลายทศวรรษ 1960: อเมริกาพัฒนา DARPA, โปรโตคอล TCP/IP
 กฎเกณฑ์การกากับดูแลชุดแรก: Internet Engineering Task Force (IETF) กาหนดมาตรฐานทางเทคนิค
กากับโดยการหาฉันทามติ
 กลางทศวรรษ 1990: “สงครามโดเมนเนม (Domain Name System: DNS)” เมื่อบริษัทเอกชนกระโดด
เข้าร่วมวงไพบูลย์
 1998: ก่อตั้ง Internet Corporation for Assigned Names & Numbers (ICANN) เพื่อกากับระบบชื่อ
โดเมน (DNS)
 2003: การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World Summit on Information Society:
WSIS) ครั้งแรกในกรุงเจนีวา 12
13
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต” (ต่อ)
 2005: การประชุม WSIS ครั้งที่สอง กรุงตูนิส ตูนีเซีย
 2006: การประชุมอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance Forum: IGF) ครั้งแรก
 2012: การประชุม World Conference on International Telecoms (WCIT) เกิดความ
ขัดแย้งระหว่างประเทศที่มองว่า ITU ควรมีบทบาทมากขึ้นในการอภิบาลอินเทอร์เน็ต กับ
ประเทศที่คัดค้านว่าไม่ควร
 2014: การประชุม NETmundial ครั้งแรกในกรุงเซาเปาโล บราซิล
 2014: การประชุม “WSIS+10” ในกรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์
มุมแคบ: ICANN, IETF, Domain Name System (DNS),
Root, IP Address – ประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับโปรโตคอล
อินเทอร์เน็ต
มุมกว้าง: ประเด็นทางเทคนิค (Root, DNS), ประเด็น
เกี่ยวกับผู้ใช้ (ผู้ประสงค์ร้าย, ทักษะ), ประเด็นนโยบาย
(ความเป็นส่วนตัว, การคุ้มครองความเป็นนิรนาม)
14
อดีต: สองมุมมองหลักเรื่องการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
“ชั้น” (Layers) ของการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
 ชั้นเนื้อหา
 การจัดการกับเนื้อหาที่เป็นพิษภัย
 อาชญากรรมไซเบอร์ (cybercrime)
 สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา
 ชั้นโลจิก (โค้ด)
 มาตรฐานเทคนิค
 ระบบโดเมนเนม (DNS)
 การจัดสรรและเรียงเลขหมายไอพีแอดเดรส (IP)
 ชั้นสาธารณูปโภค
 การเชื่อมต่อ (interconnection)
 การเข้าถึงอย่างทั่วถึง (universal access)
 เทคโนโลยีเชื่อมต่อรุ่นถัดไป (next-gen pathways)
15
ประเด็น/วาระอภิปรายหลักในแวดวงการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
16
17
บางประเด็นเรื่องการอภิบาลชั้นสาธารณูปโภค (infrastructure)
 การเชื่อมต่อ (Interconnection): การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระดับ Tier 1 (ผู้ประกอบการที่
เป็นเจ้าของเครือข่าย backbone ระหว่างประเทศ) เป็นไปตามการเจรจาตกลงเชิงพาณิชย์ ไม่มี
กฎหมายระหว่างประเทศ ประเทศกาลังพัฒนาอาจเสียเปรียบ (จ่ายค่าเชื่อมต่อแพง)
 การเข้าถึงอย่างทั่วถึง (universal access): การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็น “สิทธิมนุษยชน” หรือไม่? ควร
นิยาม “ทั่วถึง” อย่างไร? (พื้นที่ / เพศ / กลุ่มรายได้ / ช่วงอายุ / ปัจจัยอื่น?)
 เทคโนโลยีรุ่นถัดไป (next-generation pathways): ควรปล่อยให้ผู้ประกอบการตัดสินใจว่าเมื่อใดควร
launch หรือให้รัฐมีบทบาท? ภาคประชาสังคมจะมีบทบาทได้อย่างไร?
18
บางประเด็นเรื่องการอภิบาลชั้นโลจิก/โค้ด (code)
 มาตรฐาน:
จัดการแบบ “เปิด” ดีพอแล้ว? ควรเพิ่มกลไกกาหนด standard specifications?
ความเสี่ยงที่จะถูก “แปรรูป” เป็นของเอกชน? (W3C: 2001)
มาตรฐาน Quality of Service (QoS) ขัดแย้งกับหลักความเป็นกลาง (net neutrality)?
 ระบบโดเมนเนม (DNS):
ICANN มีสถานะเป็นองค์กรไม่แสวงกาไรในอเมริกา ควบคุมและจัดสรรโดเมนเนม gTLD (.com, .org
ฯลฯ) และ ccTLD (.th, .au ฯลฯ) ถูกโจมตีว่าถูกครอบงาโดยกระทรวงพาณิชย์ของอเมริกา และ
การเมือง
19
บางประเด็นเรื่องการอภิบาลชั้นเนื้อหา (content/applications)
 การจัดการกับเนื้อหาที่เป็นพิษภัย: สากล vs. รัฐชาติ / วิธีไหนดี?
 อีเมลขยะ (spam)
 สื่อลามกอนาจาร (pornography)
 ซอฟต์แวร์สอดแนม (spyware), malware, phishing
 เสรีภาพในการแสดงออก vs. ความมั่นคงของชาติ
 อาชญากรรมไซเบอร์ (cybercrime): วิธีจัดการ “จาเป็นและได้ส่วน” (necessary and proportionate)
หรือไม่? คุ้มครองความเป็นส่วนตัวหรือไม่?
 สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา: คุ้มครองเข้มมากจนลิดรอนนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์? ตัวกลางต้อง
รับผิดชอบหรือไม่ ขนาดไหน?
20
21
สองรูปแบบที่แข่งขันกันของการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
 พหุนิยม (multistakeholder)
ผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลายจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่รัฐ เอกชน วิชาการ และประชาสังคม เข้าร่วม
แสดงออกในกลไกมีส่วนร่วมทางตรงเพื่อหาฉันทามติในการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
 พหุภาคี (multilateral / intergovernmental)
รัฐบาลชาติมีอานาจอธิปไตยในการกาหนดนโยบายและกฎเกณฑ์กากับอินเทอร์เน็ตในประเทศตัวเอง
ถือว่ารัฐบาลเป็นตัวแทนกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ อย่างเพียงพอ รัฐบาลมาร่วมกันลงนามในอนุสัญญา
และข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งยึดโยงกับข้อเสนอและกระบวนการรับฟังความคิดเห็นในแต่ละ
ประเทศมาแล้ว
“อุดมคติ” ของภาคประชาสังคม?
22
23
จุดอ่อนของรูปแบบการอภิบาลแบบพหุภาคี
 ลิดรอนธรรมชาติ “เปิด” ของอินเทอร์เน็ต
 ให้ความสาคัญกับการ “ควบคุม” ของรัฐบาลมากกว่าการ “คุ้มครอง” ประชาชน
 ลดทอนคุณค่าของอินเทอร์เน็ตลง (จีนควรนับเป็นข้อยกเว้นหรือไม่ เพราะสร้างอินเทอร์เน็ต
ในภาษาของตัวเองเป็นหลัก?)
 ไว้ใจการกากับดูแลของรัฐ หวนคืนสู่อดีตในยุคก่อนที่ธุรกิจโทรคมนาคมจะเปิดเสรี
 ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
24
จุดอ่อนของรูปแบบการอภิบาลแบบพหุนิยม
การใช้อานาจจากัดอยู่เพียงการสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน – เป็นเพียง
“อานาจอ่อน” (soft power) จะไปต่อกรกับการตัดสินใจของฝ่ายที่กุมอานาจรัฐ
มีอานาจออกกฎเกณฑ์ต่างๆ ได้อย่างไร?
คนและกลุ่มคนที่เข้าร่วมจะพิสูจน์ได้อย่างไรว่า เป็นตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียที่
ครบถ้วนรอบด้านแล้วจริงๆ?
ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
25
Thailand Internet
Governance
27
ประธานมาจากการ
เลือกตั้ง
Govt. (2)
Private
sectors (4)
Civil society
(4)
Technicians
(2)
โครงสร้างที่เป็นไปได้ของหน่วยงานอภิบาลอินเทอร์เน็ตไทย
28
โรดแม็ปที่ทีมวิจัยเสนอ
29
30

Más contenido relacionado

Similar a Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue

คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิปguesta6407f
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest6bc2ef1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThawatchai2541
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_editNicemooon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
ใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ตใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเทวัญ ภูพานทอง
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkanokwan8941
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 

Similar a Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue (20)

คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิป
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_edit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
ใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ตใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 

Más de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Más de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue

  • 1. Thailand Internet Governance: From Monologue to Dialogue สฤณี อาชวานันทกุล นักวิจัยในโครงการวิจัย โดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยนโยบายสื่อ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2. 2
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. นิยาม “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต” “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet governance) หมายถึงการพัฒนาและลงมือ ปฏิบัติตามหลักการ ปทัสถาน กฎระเบียบ กระบวนการตัดสินใจ และโครงการที่ ตกลงร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งส่งผลต่อ วิวัฒนาการและการใช้อินเทอร์เน็ต” - การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World Summit on Information Society: WSIS), 2003 11
  • 12. ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต”  ปลายทศวรรษ 1960: อเมริกาพัฒนา DARPA, โปรโตคอล TCP/IP  กฎเกณฑ์การกากับดูแลชุดแรก: Internet Engineering Task Force (IETF) กาหนดมาตรฐานทางเทคนิค กากับโดยการหาฉันทามติ  กลางทศวรรษ 1990: “สงครามโดเมนเนม (Domain Name System: DNS)” เมื่อบริษัทเอกชนกระโดด เข้าร่วมวงไพบูลย์  1998: ก่อตั้ง Internet Corporation for Assigned Names & Numbers (ICANN) เพื่อกากับระบบชื่อ โดเมน (DNS)  2003: การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World Summit on Information Society: WSIS) ครั้งแรกในกรุงเจนีวา 12
  • 13. 13 ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต” (ต่อ)  2005: การประชุม WSIS ครั้งที่สอง กรุงตูนิส ตูนีเซีย  2006: การประชุมอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance Forum: IGF) ครั้งแรก  2012: การประชุม World Conference on International Telecoms (WCIT) เกิดความ ขัดแย้งระหว่างประเทศที่มองว่า ITU ควรมีบทบาทมากขึ้นในการอภิบาลอินเทอร์เน็ต กับ ประเทศที่คัดค้านว่าไม่ควร  2014: การประชุม NETmundial ครั้งแรกในกรุงเซาเปาโล บราซิล  2014: การประชุม “WSIS+10” ในกรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์
  • 14. มุมแคบ: ICANN, IETF, Domain Name System (DNS), Root, IP Address – ประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับโปรโตคอล อินเทอร์เน็ต มุมกว้าง: ประเด็นทางเทคนิค (Root, DNS), ประเด็น เกี่ยวกับผู้ใช้ (ผู้ประสงค์ร้าย, ทักษะ), ประเด็นนโยบาย (ความเป็นส่วนตัว, การคุ้มครองความเป็นนิรนาม) 14 อดีต: สองมุมมองหลักเรื่องการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
  • 15. “ชั้น” (Layers) ของการอภิบาลอินเทอร์เน็ต  ชั้นเนื้อหา  การจัดการกับเนื้อหาที่เป็นพิษภัย  อาชญากรรมไซเบอร์ (cybercrime)  สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา  ชั้นโลจิก (โค้ด)  มาตรฐานเทคนิค  ระบบโดเมนเนม (DNS)  การจัดสรรและเรียงเลขหมายไอพีแอดเดรส (IP)  ชั้นสาธารณูปโภค  การเชื่อมต่อ (interconnection)  การเข้าถึงอย่างทั่วถึง (universal access)  เทคโนโลยีเชื่อมต่อรุ่นถัดไป (next-gen pathways) 15
  • 17. 17 บางประเด็นเรื่องการอภิบาลชั้นสาธารณูปโภค (infrastructure)  การเชื่อมต่อ (Interconnection): การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระดับ Tier 1 (ผู้ประกอบการที่ เป็นเจ้าของเครือข่าย backbone ระหว่างประเทศ) เป็นไปตามการเจรจาตกลงเชิงพาณิชย์ ไม่มี กฎหมายระหว่างประเทศ ประเทศกาลังพัฒนาอาจเสียเปรียบ (จ่ายค่าเชื่อมต่อแพง)  การเข้าถึงอย่างทั่วถึง (universal access): การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็น “สิทธิมนุษยชน” หรือไม่? ควร นิยาม “ทั่วถึง” อย่างไร? (พื้นที่ / เพศ / กลุ่มรายได้ / ช่วงอายุ / ปัจจัยอื่น?)  เทคโนโลยีรุ่นถัดไป (next-generation pathways): ควรปล่อยให้ผู้ประกอบการตัดสินใจว่าเมื่อใดควร launch หรือให้รัฐมีบทบาท? ภาคประชาสังคมจะมีบทบาทได้อย่างไร?
  • 18. 18 บางประเด็นเรื่องการอภิบาลชั้นโลจิก/โค้ด (code)  มาตรฐาน: จัดการแบบ “เปิด” ดีพอแล้ว? ควรเพิ่มกลไกกาหนด standard specifications? ความเสี่ยงที่จะถูก “แปรรูป” เป็นของเอกชน? (W3C: 2001) มาตรฐาน Quality of Service (QoS) ขัดแย้งกับหลักความเป็นกลาง (net neutrality)?  ระบบโดเมนเนม (DNS): ICANN มีสถานะเป็นองค์กรไม่แสวงกาไรในอเมริกา ควบคุมและจัดสรรโดเมนเนม gTLD (.com, .org ฯลฯ) และ ccTLD (.th, .au ฯลฯ) ถูกโจมตีว่าถูกครอบงาโดยกระทรวงพาณิชย์ของอเมริกา และ การเมือง
  • 19. 19 บางประเด็นเรื่องการอภิบาลชั้นเนื้อหา (content/applications)  การจัดการกับเนื้อหาที่เป็นพิษภัย: สากล vs. รัฐชาติ / วิธีไหนดี?  อีเมลขยะ (spam)  สื่อลามกอนาจาร (pornography)  ซอฟต์แวร์สอดแนม (spyware), malware, phishing  เสรีภาพในการแสดงออก vs. ความมั่นคงของชาติ  อาชญากรรมไซเบอร์ (cybercrime): วิธีจัดการ “จาเป็นและได้ส่วน” (necessary and proportionate) หรือไม่? คุ้มครองความเป็นส่วนตัวหรือไม่?  สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา: คุ้มครองเข้มมากจนลิดรอนนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์? ตัวกลางต้อง รับผิดชอบหรือไม่ ขนาดไหน?
  • 20. 20
  • 21. 21 สองรูปแบบที่แข่งขันกันของการอภิบาลอินเทอร์เน็ต  พหุนิยม (multistakeholder) ผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลายจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่รัฐ เอกชน วิชาการ และประชาสังคม เข้าร่วม แสดงออกในกลไกมีส่วนร่วมทางตรงเพื่อหาฉันทามติในการอภิบาลอินเทอร์เน็ต  พหุภาคี (multilateral / intergovernmental) รัฐบาลชาติมีอานาจอธิปไตยในการกาหนดนโยบายและกฎเกณฑ์กากับอินเทอร์เน็ตในประเทศตัวเอง ถือว่ารัฐบาลเป็นตัวแทนกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ อย่างเพียงพอ รัฐบาลมาร่วมกันลงนามในอนุสัญญา และข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งยึดโยงกับข้อเสนอและกระบวนการรับฟังความคิดเห็นในแต่ละ ประเทศมาแล้ว
  • 23. 23 จุดอ่อนของรูปแบบการอภิบาลแบบพหุภาคี  ลิดรอนธรรมชาติ “เปิด” ของอินเทอร์เน็ต  ให้ความสาคัญกับการ “ควบคุม” ของรัฐบาลมากกว่าการ “คุ้มครอง” ประชาชน  ลดทอนคุณค่าของอินเทอร์เน็ตลง (จีนควรนับเป็นข้อยกเว้นหรือไม่ เพราะสร้างอินเทอร์เน็ต ในภาษาของตัวเองเป็นหลัก?)  ไว้ใจการกากับดูแลของรัฐ หวนคืนสู่อดีตในยุคก่อนที่ธุรกิจโทรคมนาคมจะเปิดเสรี  ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
  • 24. 24 จุดอ่อนของรูปแบบการอภิบาลแบบพหุนิยม การใช้อานาจจากัดอยู่เพียงการสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน – เป็นเพียง “อานาจอ่อน” (soft power) จะไปต่อกรกับการตัดสินใจของฝ่ายที่กุมอานาจรัฐ มีอานาจออกกฎเกณฑ์ต่างๆ ได้อย่างไร? คนและกลุ่มคนที่เข้าร่วมจะพิสูจน์ได้อย่างไรว่า เป็นตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียที่ ครบถ้วนรอบด้านแล้วจริงๆ? ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
  • 25. 25
  • 27. 27
  • 28. ประธานมาจากการ เลือกตั้ง Govt. (2) Private sectors (4) Civil society (4) Technicians (2) โครงสร้างที่เป็นไปได้ของหน่วยงานอภิบาลอินเทอร์เน็ตไทย 28
  • 30. 30