SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 35
Descargar para leer sin conexión
หน้า 1 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
สรุปเนื้อหาสาหรับการสอบ
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
หน้า 2 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process)
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการพื้นฐานที่สามารถใช้ในการศึกษา ค้นคว้า การตรวจสอบ และการลง
ข้อสรุป เป็นกระบวนการที่เน้นให้นักเรียนดาเนินการหรือเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดทักษะการคิด การแก้ปัญหา
และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีดังนี้
1) การกาหนดปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหา
นักเรียนอาจยกปัญหาหรือประเด็นที่น่าสนใจมาเสนอต่อกลุ่ม โดยปัญหาที่นามาศึกษานี้ อาจจะนามาจากที่ต่าง ๆ
เช่น ปัญหาจากความสนใจของนักเรียนเอง เนื้อหาในบทเรียน พบเห็นในชีวิตประจาวัน และปัญหาที่กาหนดโดยครู
เป็นต้น
2) การตั้งสมมุติฐาน
นักเรียนพยายามใช้ความรู้ ประสบการณ์ รวมไปถึงความคิดรวบยอด หลักการต่างๆ ที่ได้เรียนมาแล้ว นามา
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มว่า สาเหตุของปัญหาอาจเกิดจากอะไร ซึ่งเป็นการทานายหรือคาดคะเน
คาตอบ แล้วจึงหาแนวทางเพื่อพิสูจน์ว่าคาตอบที่กาหนดขึ้นมานั้นมีความถูกต้องอย่างไร
3) การเก็บรวบรวมข้อมูล
นักเรียนลงมือปฏิบัติเพื่อพิสูจน์ว่าคาตอบหรือสมมุติฐานที่กาหนดไว้มีความถูกต้องอย่างไร โดยนักเรียนจะต้องเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น ตาราเรียน งานวิจัย การทดลอง การสัมภาษณ์ การสังเกต และสถิติต่าง ๆ เป็น
ต้น รวบรวมข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่
4) การวิเคราะห์ข้อมูล
เป็นขั้นตอนที่นักเรียนนาข้อมูลที่ได้รวบรวมเป็นหมวดหมู่แล้ว มาพิจารณาว่า น่าเชื่อถือหรือไม่ เพื่อนาข้อมูลนั้น ๆ
ไปพิสูจน์สมมุติฐานอีกครั้งหนึ่ง
5) การสรุปผล
นักเรียนนาข้อมูลที่วิเคราะห์แล้วนามาตอบคาถามหรืออธิบายปัญหาที่กาหนดไว้แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์หรือหลักการ
ต่อไป
หน้า 3 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
2. การทดลอง (Experiment)/การฝึกปฏิบัติการ (Practice)
วิธีการเรียนรู้โดยใช้การทดลองหรือการฝึกปฏิบัติการ เป็นกระบวนการที่นักเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้จากการ
เห็นผลประจักษ์ชัดจากการคิด และการปฏิบัติของตนทาให้การเรียนรู้นั้นตรงกับความเป็นจริง มีความหมายสาหรับ
นักเรียนและจาได้นาน ซึ่งการจัดการเรียนรู้โดยการทดลอง ครูหรือนักเรียนต้องกาหนดปัญหาและสมมุติฐานใน
การทดลอง และกระบวนการหรือขั้นตอนในการดาเนินการทดลองให้ชัดเจน รวมทั้งจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ที่
จะใช้ในการทดลองให้พร้อม
ขั้นตอนของการทดลอง มีดังนี้
1) กาหนดปัญหาและสมมุติฐานการทดลอง
นักเรียนกาหนดปัญหาและสมมุติฐานการทดลอง หรือครูอาจเป็นผู้นาเสนอก็ได้แต่ ถ้าปัญหามาจากตัวนักเรียนเอง
จะทาให้การเรียนรู้หรือการทดลองนั้นมีความหมายยิ่งขึ้น
2) เสนอความรู้ที่จาเป็นต่อการทดลอง
ครูให้ขั้นตอนและรายละเอียดของการทดลองแก่นักเรียน โดยใช้วิธีการต่าง ๆ ตาม
ความเหมาะสม ซึ่งขั้นตอนและรายละเอียดครูอาจเป็นผู้กาหนดหรืออาจให้นักเรียนร่วมกันวางแผนกาหนดก็ได้
แล้วแต่ความเหมาะสมกับสาระ แต่การให้นักเรียนมีส่วนร่วมดาเนินการนั้นจะช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะต่าง ๆ
และนักเรียนจะกระตือรือร้นมากขึ้น ครูจาเป็นต้องคอยให้คาปรึกษาและความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด
3) นักเรียนลงมือทดลองโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นตามขั้นตอนที่กาหนดและบันทึกข้อมูลการทดลอง
การทดลองทาได้หลายรูปแบบ ครูอาจให้นักเรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนด
ไว้แล้วคอยสังเกตและให้คาแนะนา หรือครูอาจลงมือทาการทดลองให้นักเรียนคอยสังเกตแล้วทาตามคาแนะนาไป
ทีละขั้น ครูควรฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แก่นักเรียนก่อนทาการทดลองหรือไม่ก็ฝึกไปพร้อม ๆกัน
ซึ่งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย
-ทักษะการสังเกต –ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล -ทักษะการทดลอง
-ทักษะการจาแนกประเภท -ทักษะการตั้งสมมุติฐาน
-ทักษะการวัด -ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร
-ทักษะการใช้ตัวเลข -ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ (space) กับเวลา
-ทักษะการสื่อความหมาย -ทักษะการตีความหมายและลงข้อสรุป
-ทักษะการพยากรณ์
หน้า 4 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
4) นักเรียนวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง
ขั้นตอนนี้นักเรียนต้องวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง โดยที่ครูคอยให้คาแนะนาแก่
นักเรียนเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผล ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในเรื่องอื่น ๆ ได้
5) ครูและนักเรียนอภิปรายผลการทดลอง และสรุปการเรียนรู้
ขั้นตอนนี้ทั้งครูและนักเรียนต้องร่วมกันอภิปรายผลที่ได้จากการทดลองและสรุปการเรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ
3. กระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Process)
วิธีนี้เน้นให้นักเรียนฝึกการคิดแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน มีเหตุผล ซึ่งเป็นแนวทางในการนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
ประจาวันได้โดยอาศัยแนวคิดแก้ปัญหาด้วยการนาวิธีสอนแบบนิรนัย (Deductive) คือ การสอนจากกฎเกณฑ์ไป
หาความจริงย่อยไปผสมผสานกับวิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive) คือ การสอนจากตัวอย่างย่อยมาหาเกณฑ์
กระบวนการคิดทั้งสองอย่างนี้รวมกันทาให้เกิดรูปแบบการสอนแบบแก้ปัญหา ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1) เตรียมการหรือทาความเข้าใจปัญหา
เน้นให้นักเรียนตั้งปัญหาหรือค้นหาว่า ปัญหาที่แท้จริงของเหตุการณ์นั้น ๆ คืออะไรแล้วทาความเข้าใจถึงสภาพของ
ปัญหาว่า ปัญหาเกิดจากอะไร มีข้อมูลใดแล้วบ้าง และมีเงื่อนไขหรือต้องการข้อมูลใดเพิ่ม
2) การวิเคราะห์ปัญหา
เป็นการพิจารณาว่าสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุที่สาคัญของปัญหาหรือสิ่งใดที่ไม่ใช่สาเหตุที่สาคัญของปัญหา
3) วางแผนเสนอแนวทางแก้ปัญหา
เป็นการหาวิธีการแก้ปัญหาให้ตรงตามสาเหตุของปัญหา แล้วออกมาในรูปของวิธีการสุดท้ายที่จะได้ผลลัพธ์ออกมา
ถ้าปัญหานั้นต้องตรวจสอบโดยการทดลอง ในขั้นวางแผนก็จะประกอบด้วยการตั้งสมมุติฐาน กาหนดวิธีการ
ทดลอง และกาหนดแนวทางในการประเมินผลการแก้ปัญหา
4) ดาเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
นาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์และทดสอบสมมุติฐานและประเมินว่าวิธีการ แก้ปัญหาหรือผลการทดลอง
เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ อย่างไร ถ้าพบว่าผลลัพธ์ยังไม่ได้ผลถูกต้อง ก็ต้องมีการเสนอแนวทางในการ
แก้ปัญหานี้ใหม่จนกว่าจะได้แนวทางที่ดีที่สุดหรือถูกต้องที่สุด รวมทั้งร่วมกันตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหา และผล
จากการแก้ปัญหาว่ามีผลกระทบต่อสิ่งอื่นหรือไม่
5) การนาไปประยุกต์ใช้
นาวิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องไปใช้เมื่อพบกับเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกับปัญหาที่ประสบมาแล้ว
หน้า 5 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
ข้อดี
1. นักเรียนได้ฝึกวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ฝึกการคิดวิเคราะห์และตัดสินใจ
2. นักเรียนได้ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3. เป็นการฝึกการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มและฝึกความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
4. ประสบการณ์ที่นักเรียนได้รับจะมีประโยชน์ในการนาไปใช้ในชีวิตจริงทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ข้อจากัด
1. นักเรียนต้องดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ถ้าผิดไปจะทาให้ได้ผลสรุปที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง
2. นักเรียนต้องมีทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูลจึงจะสรุปผลการแก้ปัญหาได้ดี
3. ถ้านักเรียนกาหนดปัญหาไม่ดีหรือไม่คุ้นเคยกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะทาให้ผลการเรียนการสอนไม่ดี
เท่าที่ควร
ข้อเสนอแนะ
1. ควรทาความเข้าใจปัญหาและมีข้อมูลสนับสนุนที่เพียงพอ
2. การวางแผนการแก้ปัญหาควรใช้วิธีการที่หลากหลายและแยกแยะปัญหาออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อสะดวกต่อการ
ลาดับขั้นตอนในการแก้ปัญหา
หน้า 6 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
เนื้อหาที่มักจะออกสอบ
สารชีวโมเลกุล
โปรตีน –กรดอะมิโนเชื่อมต่อกันด้วย พันธะเปปไทด์
ไขมัน – กรดไขมัน + กลีเซอรอล
- ไขมัน + 3 เบส = สบู่
คาร์โบไฮเดรต
แป้ ง – น้าตาลกลูโคส
น้าตาล โมเลกุลเดี่ยว 3 ชนิด คือ _____________________________
น้าตาลโมเลกุลคู่ 3 ชนิด คือ __________________________________
การทดสอบสารอาหาร
1. การทดสอบ โปรตีน ________________________
2. การทดสอบไขมัน________________________ การหาปริมาณไขมันไม่อิ่มตัว-การฟอกจาสี
สารละลายโบรมีน (นับหยดของสารละลาย)
3. การทดสอบคาร์โบไฮเดรต : ทดสอบแป้ ง________________________ น้าตาล ______________
สารพันธุกรรม
- DNA เป็นสารพันธุกรรมที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ น้าตาล
เพนโทสชนิดดีออกซีไรโบส เบสไนโตรเจน และหมู่ฟอสเฟตที่ทาหน้าที่ เชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์ของแต่ละหน่วยใน
สายดีเอ็นเอ
- เบสไนโตรเจนแบ่งเป็น 4 ชนิด ได้แก่ เบสอะดีนีน (adenine เรียกย่อว่า A) เบสกวานีน(guanine เรียกย่อว่า G) เบสไทมีน
(thymine เรียกย่อว่า T) และเบสไซโทซีน (cytosine เรียกย่อว่า C)
- โมเลกุลของดีเอ็นเอประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายพันกันเป็นเกลียวคู่ โดยสายพอลินิวคลีโอไทด์แต่ละสายจะ
เชื่อมต่อระหว่างเบสกับเบสของนิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วย ซึ่งเบส A จะจับคู่กับเบส T และเบส C จับคู่เบสG
หน้า 7 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
สมบัติทั่วไปของธาตุ
ตารางธาตุ
แบบจาลองอะตอม
o สัญลักษณ์ธาตุ
o การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงาน
o การจาแนกอะตอม : ไอโซ
o กัมมันตภาพรังสี
หน้า 8 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
สมบัติทั่วไปของธาตุ
ตารางธาตุ
0
#สมบัติทางกายภาพ เช่น การนาไฟฟ้ า การละลายน้า จุดเดือดจุดหลอมเหลว (Bonding) สถานะ
#สมบัติทางเคมี เช่น ความเป็นกรดเบส เกิดปฏิกิริยาต่างๆ
โลหะ ……………………………………………………………………………………………………….
อโลหะ ………………………………………………………………………………………………………
กึ่งโลหะ …………………………………………………………………………………………………….
หมู่ …………………………….คาบ ……………………………………………………
-การเกิด สารประกอบคลอไรด์ NaCl, ออกไซด์ MgO โลหะออกไซด์ ละลายน้าแล้วเป็นเบส
อโลหะออกไซด์ ละลายน้าแล้วเป็นกรด
-ขนาดของอะตอม และไอออน(ion ) ขนาดเล็กลง จาก ซ้ายไปขวา และล่างขึ้นบน
-พลังงานไอออไนเซชั่น (IE) เพิ่มขึ้น จาก ซ้ายไปขวา และล่างขึ้นบน
- พลังงานสัมพรรคภาพ/อิเล็กโตรเนกาติวิตี้(EA) หรือค่า EN : F,O,Cl,N,Br เพิ่มขึ้น จาก ซ้ายไปขวา และ
ล่างขึ้นบน
-เลขออกซิเดชัน :
NaCl Na= …. Cl = ……. KMnO4 K = …. O=…… Mn =….
สาคัญคือ ต้องรู้หมู่ เพื่อ ทราบเลขออกซิเดชัน ของธาตุนั้น ก่อน แล้วจึง แยก ว่า โลหะ จะเป็นบวก ส่วน
อโลหะ จะมีทั้งลบ และบวก โดยพิจารณาจากค่า EN ตัวที่ EN มาก จะเป็นลบ
หน้า 9 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
o แบบจาลองอะตอม
ดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบห์ร กลุ่มหมอก
oสัญลักษณ์ธาตุ
A n+
X
Z
A คือ เลขมวล
n+ คือ ประจุ
Z คือ เลขอะตอม
หน้า 10 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
o การจัดเรียงอิเล็กตรอน
- การจัดเรียงอิเล็กตรอน ใช้ระบบ s p d f เพื่อ นามาสร้างเป็น ตารางธาตุ โดย หมู่ คือ อิเล็กตรอนวงนอก
สุด

หน้า 11 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
ระดับพลังงาน (2,8,18,32)
(ที่มา: http://pages.swcp.com/~jmw-mcw/Parsing%20the%20spdf%20electron%20orbital%20model.htm )
แบบฝึกการจัดเรียงอิเล็กตรอน
เลขอะตอม การจัดเรียงแบบ
spdf
การจัดเรียงแบบ
2,8,18,32
หมู่ คาบ
11
20
8
35
86
o การจาแนกอะตอม : ไอโซ
1 ไอโซโทป
12 13
C C
6 7
2 ไอโซโทน
19 20
A B
9 10
3 ไอโซบาร์
20 20
D E
10 7
4 ไอโซอิเล็กโทรนิก
16 2- 17 _
O F
8 9
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 12 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
o กัมมันตภาพรังสี
รังสี 3 ชนิดคือ
อนุภาคแอลฟา
อนุภาคบีตา หรือโพสิตรอน
รังสีแกมม่า
พลังงาน : อนุภาคแอลฟา > อนุภาคบีตา หรือโพสิตรอน > รังสีแกมม่า
อานาจการทะลุทะลวง : อนุภาคแอลฟา < อนุภาคบีตา หรือโพสิตรอน < รังสีแกมม่า
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
1 ปฏิกิริยาฟิชชั่น (ฟิตๆก้อแตก)
2 ปฏิกิริยาฟิวชั่น (ฟิวก้อรวม) พลังงานมากกว่าฟิชชั่น
-ครึ่งชีวิต
สาร ก ลดลง เหลือ 25% ใน 4วัน
จงหาเวลาครึ่งชีวิต
_____
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 13 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
พันธะ เคมี CHEM : BONDING
พันธะแบ่งเป็น 3 ชนิด คือพันธะไอออนิก พันธะโลหะ พันธะโคเวเลนต์
1.พันธะ ไอออนิก เกิดจาก โลหะให้electron และอโลหะ รับ electron เกิดเป็นพันธะที่มีแรงเรียกว่า
อิเล็กตรอสแตรติก electrostatic force หรือแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและ ไอออนลบ
การเขียน สารประกอบไอออนิก
เขียนโดยให้ไอออนบวกอยู่ด้านหน้า ตามด้วยไอออนลบ โดยอัตราส่วน ของโลหะและอโลหะ เกิดจากการไขว้ เลข
ออกซิเดชัน เช่น Na : +1 , S : -2 Na2S โซเดียมซัลไฟต์
สาหรับTransition : M(Oxidation Number)A-ide
การเกิดสารประกอบ ไอออนิก โดยแสดงจากแผนภาพ เวนออยเลอร์
มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน คือ
1. การระเหิด โลหะ จากของแข็งกลายเป็นก๊าซ
2. ขั้นตอนการ ทาให้โลหะ เป็นประจุบวกโดยใช้ Ionization Energy
3. กรณีอโลหะ เมื่ออยู่ในสภาวะแก๊ส หรือ diatomic ต้องแยกให้เป็นตัวเดียวก่อน โดยใช้พลังงานสลายพันธะ
4. ทาให้อโลหะเป็นประจุลบ โดยใช้พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA: Electro affanity)
5. รวม ไอออนบวกและไอออนลบ กายเป็นสารประกอบไอออนิก เรียกพลังงานว่าพลังงานแลตทิซหรือโครงร่างผลึก
(Lattice Energy)
การละลายของไอออนิก
พิจารณาจากค่าพลังงานไฮเดรชั่น มีความต่างมากน้อยกับ พลังงานแลตทิซ โดยถ้าพลังงานไฮเดรชั่นสูงกว่าพลังงาน
แลตทิช จะละลายดี
ถ้าพลังงานแลตทิซสูงกว่าพลังงานไฮเดรชั่นมากมาก ประกอบไอออนิกไม่ละลายน้า
สารประกอบ ที่ละลายน้า มีดังนี้
- หมู่ 1 ,NH4+ , NO3- ไนเตรต, ClO3- คลอเรต, ClO4- เปอร์คลอเรต ยกเว้น KClO4, CH3COO-อะซิเตต ยกเว้น
CH3COOAg(ซิลเวอร์แอซีเตต)
สารประกอบที่รวมกันแล้วตกตะกอน ได้แก่ -โละหมู่2 + ประจุ -2 ,-3 ยกเว้น MgSO4
-โลหะทรานซิชั่น ,Ca,Mg + OH- เช่น Ca(OH)2
-โลหะทรานซิชั่นกับ หมู่7 (-1) เช่น AgCl ยกเว้น HgCl2
-โลหะทรานซิชั่นกับประจุ - 2 และ-3 ยกเว้น CuSo4 CdSO4
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 14 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
พันธะโคเวเลนต์ เกิดจากอโลหะ รวมตัวกัน โดยใช้อิเล็กตรอน วงนอก (วาเลนซ์อิเล็กตรอน ) มาเกิดพันธะรวมกันโดย
2 อิเล็กตรอน เกิดเป็น1พันธะ
ตามกฎของoctet ; ให้อโลหะที่มีค่าENสูงกว่า มีอิเล็กตรอนวงนอกครบ 8 โดยไม่จาเป็นว่า อโลหะตัวนั้นจะเป็นอะตอม
กลางหรือไม่ เช่น OF6 :EN :F> O , F อิเล็กตรอนวงนอก =7 ขาด1อิเล็กตรอน ครบ8
จึงใช้ 1 อิเล็กตรอนวงนอก ของออกซิเจน เกิดเป็น พันธะ เดี่ยว O-F
โดยเมื่อประกอบเป็นโมเลกุล จะมีรูปร่างต่างๆกัน โดยใช้ ทฤษฎี VESPR : AxByEz (A: อะตอมกลาง ที่มีจานวนน้อยที่สุด;
x=จานวนของA ,B คือ อะตอมล้อมรอบที่เป็นธาตุแบบเดียวกัน ;y=จานวนของB และ E คืออิเล็กตรอนที่อิสระไม่ได้ร่วม
พันธะพันธะ ;z =E/2
2พันธะ
-AB2E0 , AB2E3 รูปร่าง คือเส้นตรง
- AB2E1 , AB2E2 รูปร่าง คือ มุมงอ
3 พันธะ
-AB3E0 รูปร่าง คือ สามเหลี่ยมแบนราบ
- AB3E1 , AB3E2 รูปร่าง คือ พีระมิดฐานสามเหลี่ยม
4 พันธะ
-AB4E0 รูปร่าง คือ ทรงสี่หน้า
- AB4E1 รูปร่าง คือ ทรงสี่หน้าที่บิดเบี้ยว
- AB4E2 รูปร่าง คือ สี่เหลี่ยมแบนราบ
5 พันธะ
-AB5E0 รูปร่าง คือ พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
- AB5E1 รูปร่าง คือ พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยมที่บิดเบี้ยว
6 พันธะ
-AB6E0 รูปร่าง คือ ทรงแปดหน้า
- AB4E1 รูปร่าง คือ ทรงแปดหน้าที่บิดเบี้ยว
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ ;
1 พิจารณาจาก สภาพขั้วของพันธะ ดูความแตกต่างค่าENของธาตุ : O-F ,EN :F> O ทิศทางของขั้ว จะไปทางF
กรณีที่เป็นอโลหะชนิดเดียวกัน ไม่มีความต่างของEN จะไม่มีขั้ว
2 พิจารณาสภาพขั้วของโมเลกุล จะพิจารณาจาก สภาพขั้วของพันธะ -ในกรณีที่โมเลกุลประกอบด้วยพันธะไม่มีขั้ว
ส่งผลให้โมเลกุลไม่มีขั้ว
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 15 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
- ในกรณีที่โมเลกุลประกอบด้วยพันธะมีขั้ว มีทั้งโมเลกุลที่มีขั้วและไม่มีขั้ว
โมเลกุลที่ไม่มีขั้ว:รูปร่างของของโมเลกุล ที่เป็นสมมาตร ได้แก่ เส้นตรง สามเหลี่ยมแบนราบ ทรงสี่หน้า พีระมิดคู่ฐาน
สามเหลี่ยม ทรงแปดหน้า สี่เหลี่ยมแบนราบ
นอกนั้นเป็นโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว
แรงระหว่างโมเลกุล
แบ่งเป็น 3 แรงคือ
1 แรงลอนดอน เป็นแรงระหว่างโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว มี จุดเดือดต่าที่สุดในสามแรง
2 แรงระหว่างขั้ว เป็นแรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว ยกเว้นโมเลกุลที่มี H-F , H-O ,H-N
3 พันธะไฮโดรเจน เป็นแรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้วและมีพันธะ H-F , H-O ,H-N มีจุดเดือดที่สูงที่สุดในสามแรง
จุดเดือดของพันธะโคเวเลนต์ ขึ้นอยู่กับมวลโมเลกุลหรือน้าหนักของโมเลกุล โดยมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน พิจารณาจาก
แรงระหว่างโมเลกุล ตามลาดับ คือ พันธะไฮโดรเจน แรงระหว่างขั้ว และแรงลอนดอน
นอกจากนี้ยังมีแรงที่เกิดจากการจัดเรียงตัวแบบพิเศษ ของอโลหะ เช่น คาร์บอน เป็น เพชร เรียกว่า โครงผลึกร่างตาข่าย
เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่มีความแข็งแรงที่สุด
------
พันธะโลหะ เกิดจาก ธาตุที่เป็นโลหะรวมตัวกัน โดยอิเล็กตรอน จะวิ่งรอบๆแท่งโลหะ ทาให้เกิดการสะท้อนแสงและการนา
ไฟฟ้ าของโลหะ
ลาดับ จุดเดือด : โคเวเลนต์แบบโครงผลึกร่างตาข่าย > โลหะ > ไอออนิก > โคเวเลนต์ตามลาดับ
----------------------------------------------------------------------
Memo:
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 16 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
ปิโตรเคมี ที่เคยออกสอบจะเป็นเรื่องของน้ามันและพอลิเมอร์
- น้ามัน
แบ่งเป็นน้ามัน เบนซินและดีเซล
1 น้ามันเบนซินหรือแก๊สโซลีน ประกอบด้วยไอโซออกเทนและเฮปเทน
(%ไอโซออกเทน คือเลขออกเทน ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกคุณภาพน้ามัน)
โดยสารเพิ่มออกเทน (ป้ องกันเครื่องกระตุกหรือสะดุด) คือ MTBE ใช้แทนเตตระเอทิลเลท
TEL (น้ามันตะกั่ว)
แก๊สโซฮอล์คือส่วนผสมระหว่างเบนซินและแอลกอฮอล์ปกติเราใช้เป็น เอทานอล (Ethanol)
-> E20 E85
E บอก ปริมาณ ethanol กี่ % Volume
2 น้ามันดีเซล ประกอบด้วย ซีเทน และอัลฟ่าเมทิลแนฟทาลีน (%ซีเทน คือเลขซีเทน ซึ่ง
เป็นตัวบ่งบอกคุณภาพน้ามัน)
ไบโอดีเซลเป็นส่วนผสมระหว่างน้ามันดีเซลและ ไบโอดีเซลหรือ fatty acid methyl ester
(%ไบโอดีเซล
คืิอชื่อเช่น2%= B2 ,5%=B5)
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 17 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
- พอลิเมอร์
พอลิเมอร์ธรรมชาติ เช่น ยางธรรมชาติ เซลลูโลส แป้ ง เส้นใย โปรตีน เป็นต้น
พอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น ยางสังเคราะห์ พลาสติก เส้นใยสังเคราะห์ ผ้าไนลอน เป็นต้น
การจาแนกตามองค์ประกอบ
1. โฮโมพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ที่มีสารตั้งต้นชนิดเดียว เช่น PE PVC PP PS
2. โคพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ที่มีสารตั้งต้นมากกว่า 1 ชนิด เช่น โปรตีน ยางSBR
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 18 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
- ยาง แบ่งเป็นยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์
1 ยางธรรมชาติคือ พอลิไอโซปรีน
แล้วจึงนามา พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นคือมีความยืดหยุ่นสูง โดยเพิ่มกามะถันโดยมีความ
ร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกกระบวนการว่า กระบวนการ วัลคาไนเซชัน
2 ยางสังเคราะห์ เช่น ยางรถยนต์ SBR เกิดจาก 2 ชนิดคือ บิวตะไดอีนและสไตรีน
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 19 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
- มลภาวะทางน้า
ค่า DO (ต่ากว่า 3 คือเสีย)
ค่า BOD (มากกว่า 100 คือเสีย)
BOD = ปริมาณO2 ที่ถูกใช้ไป(mg)/ ปริมาตรของน้าที่มาวิเคราะห์(L)
ค่า DO คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า
ค่า BOD ปริมาณที่ออกซิเจนจะถูกใช้จากสิ่งมีชีวิตในน้า
ค่า COD ปริมาณที่ออกซิเจนจะถูกใช้ในการย่อยสลายสารเคมีในน้า
- มลภาวะทางอากาศ
- ฝนกรด : สภาพปกติน้าฝนจะมีสมบัติเป็นกรด
เพราะน้าฝนจะรวมตัวกับแก็สซัลเฟอร์ไดออกไซต์ เป็นกรดซัลฟูริก (พบมาก) หรือ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ กลายเป็นกรดคาร์บอนิกที่มีสมบัติเป็นกรดน้าฝนที่มีฤทธิ์เป็นกรดทาให้ต้นไม้ไม่
เจริญเติบโต ลาต้นแคระแกร็น หรือทาให้เมล็ดไม่งอก และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น อาคารบ้านเรือน รูปปั้น
อนุสาวรีย์จะสึกกร่อนและผุพังเร็ว
-ปรากฏการณ์เรือนกระจก เกิดจากการที่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศ และกั้น
ไม่ให้ความร้อนจากพื้นโลกผ่านขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ โลกที่ร้อนขึ้นเนื่องจากการเกิดปรากฏการณ์เรือน
กระจก ที่มีสาเหตุมาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ปล่อยแก๊สเรือนกระจกเช่น แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊สคลอโรฟลูออโรคาร์บอน และแก๊สไนตรัสออกไซด์ ออกมา แก๊สนี้จะมี
คุณสมบัติดูดกลืนรังสีอินฟราเรดที่พื้นโลกคายออกมาเมื่อได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์เอาไว้ทาให้เกิด
ผลกระทบในด้านต่าง ๆ เช่น ทาให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้น เป็นสาเหตุให้เกิดการละลายของธารน้าแข็งขั้วโลก
ฤดูกาลและสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง เกิดพายุ มีฤดูร้อนยาวนาน และมีฤดูหนาวที่สั้นลง ส่งผลให้ระบบ
นิเวศของโลกถูกทาลาย
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 20 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 21 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 22 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 23 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 24 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 25 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 26 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 27 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 28 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 29 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 30 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 31 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 32 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 33 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 34 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6
หน้า 35 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร Aoy Amm Mee
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

La actualidad más candente (18)

ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar a สรุุปเคมี

05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 

Similar a สรุุปเคมี (20)

05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 

สรุุปเคมี

  • 1. หน้า 1 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 สรุปเนื้อหาสาหรับการสอบ โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 2. หน้า 2 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการพื้นฐานที่สามารถใช้ในการศึกษา ค้นคว้า การตรวจสอบ และการลง ข้อสรุป เป็นกระบวนการที่เน้นให้นักเรียนดาเนินการหรือเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดทักษะการคิด การแก้ปัญหา และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีดังนี้ 1) การกาหนดปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหา นักเรียนอาจยกปัญหาหรือประเด็นที่น่าสนใจมาเสนอต่อกลุ่ม โดยปัญหาที่นามาศึกษานี้ อาจจะนามาจากที่ต่าง ๆ เช่น ปัญหาจากความสนใจของนักเรียนเอง เนื้อหาในบทเรียน พบเห็นในชีวิตประจาวัน และปัญหาที่กาหนดโดยครู เป็นต้น 2) การตั้งสมมุติฐาน นักเรียนพยายามใช้ความรู้ ประสบการณ์ รวมไปถึงความคิดรวบยอด หลักการต่างๆ ที่ได้เรียนมาแล้ว นามา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มว่า สาเหตุของปัญหาอาจเกิดจากอะไร ซึ่งเป็นการทานายหรือคาดคะเน คาตอบ แล้วจึงหาแนวทางเพื่อพิสูจน์ว่าคาตอบที่กาหนดขึ้นมานั้นมีความถูกต้องอย่างไร 3) การเก็บรวบรวมข้อมูล นักเรียนลงมือปฏิบัติเพื่อพิสูจน์ว่าคาตอบหรือสมมุติฐานที่กาหนดไว้มีความถูกต้องอย่างไร โดยนักเรียนจะต้องเก็บ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น ตาราเรียน งานวิจัย การทดลอง การสัมภาษณ์ การสังเกต และสถิติต่าง ๆ เป็น ต้น รวบรวมข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ 4) การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นตอนที่นักเรียนนาข้อมูลที่ได้รวบรวมเป็นหมวดหมู่แล้ว มาพิจารณาว่า น่าเชื่อถือหรือไม่ เพื่อนาข้อมูลนั้น ๆ ไปพิสูจน์สมมุติฐานอีกครั้งหนึ่ง 5) การสรุปผล นักเรียนนาข้อมูลที่วิเคราะห์แล้วนามาตอบคาถามหรืออธิบายปัญหาที่กาหนดไว้แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์หรือหลักการ ต่อไป
  • 3. หน้า 3 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 2. การทดลอง (Experiment)/การฝึกปฏิบัติการ (Practice) วิธีการเรียนรู้โดยใช้การทดลองหรือการฝึกปฏิบัติการ เป็นกระบวนการที่นักเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้จากการ เห็นผลประจักษ์ชัดจากการคิด และการปฏิบัติของตนทาให้การเรียนรู้นั้นตรงกับความเป็นจริง มีความหมายสาหรับ นักเรียนและจาได้นาน ซึ่งการจัดการเรียนรู้โดยการทดลอง ครูหรือนักเรียนต้องกาหนดปัญหาและสมมุติฐานใน การทดลอง และกระบวนการหรือขั้นตอนในการดาเนินการทดลองให้ชัดเจน รวมทั้งจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ที่ จะใช้ในการทดลองให้พร้อม ขั้นตอนของการทดลอง มีดังนี้ 1) กาหนดปัญหาและสมมุติฐานการทดลอง นักเรียนกาหนดปัญหาและสมมุติฐานการทดลอง หรือครูอาจเป็นผู้นาเสนอก็ได้แต่ ถ้าปัญหามาจากตัวนักเรียนเอง จะทาให้การเรียนรู้หรือการทดลองนั้นมีความหมายยิ่งขึ้น 2) เสนอความรู้ที่จาเป็นต่อการทดลอง ครูให้ขั้นตอนและรายละเอียดของการทดลองแก่นักเรียน โดยใช้วิธีการต่าง ๆ ตาม ความเหมาะสม ซึ่งขั้นตอนและรายละเอียดครูอาจเป็นผู้กาหนดหรืออาจให้นักเรียนร่วมกันวางแผนกาหนดก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสมกับสาระ แต่การให้นักเรียนมีส่วนร่วมดาเนินการนั้นจะช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะต่าง ๆ และนักเรียนจะกระตือรือร้นมากขึ้น ครูจาเป็นต้องคอยให้คาปรึกษาและความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด 3) นักเรียนลงมือทดลองโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นตามขั้นตอนที่กาหนดและบันทึกข้อมูลการทดลอง การทดลองทาได้หลายรูปแบบ ครูอาจให้นักเรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนด ไว้แล้วคอยสังเกตและให้คาแนะนา หรือครูอาจลงมือทาการทดลองให้นักเรียนคอยสังเกตแล้วทาตามคาแนะนาไป ทีละขั้น ครูควรฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แก่นักเรียนก่อนทาการทดลองหรือไม่ก็ฝึกไปพร้อม ๆกัน ซึ่งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย -ทักษะการสังเกต –ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร -ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล -ทักษะการทดลอง -ทักษะการจาแนกประเภท -ทักษะการตั้งสมมุติฐาน -ทักษะการวัด -ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร -ทักษะการใช้ตัวเลข -ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ (space) กับเวลา -ทักษะการสื่อความหมาย -ทักษะการตีความหมายและลงข้อสรุป -ทักษะการพยากรณ์
  • 4. หน้า 4 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 4) นักเรียนวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง ขั้นตอนนี้นักเรียนต้องวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง โดยที่ครูคอยให้คาแนะนาแก่ นักเรียนเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผล ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในเรื่องอื่น ๆ ได้ 5) ครูและนักเรียนอภิปรายผลการทดลอง และสรุปการเรียนรู้ ขั้นตอนนี้ทั้งครูและนักเรียนต้องร่วมกันอภิปรายผลที่ได้จากการทดลองและสรุปการเรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ 3. กระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Process) วิธีนี้เน้นให้นักเรียนฝึกการคิดแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน มีเหตุผล ซึ่งเป็นแนวทางในการนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ประจาวันได้โดยอาศัยแนวคิดแก้ปัญหาด้วยการนาวิธีสอนแบบนิรนัย (Deductive) คือ การสอนจากกฎเกณฑ์ไป หาความจริงย่อยไปผสมผสานกับวิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive) คือ การสอนจากตัวอย่างย่อยมาหาเกณฑ์ กระบวนการคิดทั้งสองอย่างนี้รวมกันทาให้เกิดรูปแบบการสอนแบบแก้ปัญหา ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1) เตรียมการหรือทาความเข้าใจปัญหา เน้นให้นักเรียนตั้งปัญหาหรือค้นหาว่า ปัญหาที่แท้จริงของเหตุการณ์นั้น ๆ คืออะไรแล้วทาความเข้าใจถึงสภาพของ ปัญหาว่า ปัญหาเกิดจากอะไร มีข้อมูลใดแล้วบ้าง และมีเงื่อนไขหรือต้องการข้อมูลใดเพิ่ม 2) การวิเคราะห์ปัญหา เป็นการพิจารณาว่าสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุที่สาคัญของปัญหาหรือสิ่งใดที่ไม่ใช่สาเหตุที่สาคัญของปัญหา 3) วางแผนเสนอแนวทางแก้ปัญหา เป็นการหาวิธีการแก้ปัญหาให้ตรงตามสาเหตุของปัญหา แล้วออกมาในรูปของวิธีการสุดท้ายที่จะได้ผลลัพธ์ออกมา ถ้าปัญหานั้นต้องตรวจสอบโดยการทดลอง ในขั้นวางแผนก็จะประกอบด้วยการตั้งสมมุติฐาน กาหนดวิธีการ ทดลอง และกาหนดแนวทางในการประเมินผลการแก้ปัญหา 4) ดาเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล นาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์และทดสอบสมมุติฐานและประเมินว่าวิธีการ แก้ปัญหาหรือผลการทดลอง เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ อย่างไร ถ้าพบว่าผลลัพธ์ยังไม่ได้ผลถูกต้อง ก็ต้องมีการเสนอแนวทางในการ แก้ปัญหานี้ใหม่จนกว่าจะได้แนวทางที่ดีที่สุดหรือถูกต้องที่สุด รวมทั้งร่วมกันตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหา และผล จากการแก้ปัญหาว่ามีผลกระทบต่อสิ่งอื่นหรือไม่ 5) การนาไปประยุกต์ใช้ นาวิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องไปใช้เมื่อพบกับเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกับปัญหาที่ประสบมาแล้ว
  • 5. หน้า 5 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 ข้อดี 1. นักเรียนได้ฝึกวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ฝึกการคิดวิเคราะห์และตัดสินใจ 2. นักเรียนได้ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 3. เป็นการฝึกการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มและฝึกความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4. ประสบการณ์ที่นักเรียนได้รับจะมีประโยชน์ในการนาไปใช้ในชีวิตจริงทั้งในปัจจุบันและอนาคต ข้อจากัด 1. นักเรียนต้องดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ถ้าผิดไปจะทาให้ได้ผลสรุปที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง 2. นักเรียนต้องมีทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูลจึงจะสรุปผลการแก้ปัญหาได้ดี 3. ถ้านักเรียนกาหนดปัญหาไม่ดีหรือไม่คุ้นเคยกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะทาให้ผลการเรียนการสอนไม่ดี เท่าที่ควร ข้อเสนอแนะ 1. ควรทาความเข้าใจปัญหาและมีข้อมูลสนับสนุนที่เพียงพอ 2. การวางแผนการแก้ปัญหาควรใช้วิธีการที่หลากหลายและแยกแยะปัญหาออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อสะดวกต่อการ ลาดับขั้นตอนในการแก้ปัญหา
  • 6. หน้า 6 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 เนื้อหาที่มักจะออกสอบ สารชีวโมเลกุล โปรตีน –กรดอะมิโนเชื่อมต่อกันด้วย พันธะเปปไทด์ ไขมัน – กรดไขมัน + กลีเซอรอล - ไขมัน + 3 เบส = สบู่ คาร์โบไฮเดรต แป้ ง – น้าตาลกลูโคส น้าตาล โมเลกุลเดี่ยว 3 ชนิด คือ _____________________________ น้าตาลโมเลกุลคู่ 3 ชนิด คือ __________________________________ การทดสอบสารอาหาร 1. การทดสอบ โปรตีน ________________________ 2. การทดสอบไขมัน________________________ การหาปริมาณไขมันไม่อิ่มตัว-การฟอกจาสี สารละลายโบรมีน (นับหยดของสารละลาย) 3. การทดสอบคาร์โบไฮเดรต : ทดสอบแป้ ง________________________ น้าตาล ______________ สารพันธุกรรม - DNA เป็นสารพันธุกรรมที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ น้าตาล เพนโทสชนิดดีออกซีไรโบส เบสไนโตรเจน และหมู่ฟอสเฟตที่ทาหน้าที่ เชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์ของแต่ละหน่วยใน สายดีเอ็นเอ - เบสไนโตรเจนแบ่งเป็น 4 ชนิด ได้แก่ เบสอะดีนีน (adenine เรียกย่อว่า A) เบสกวานีน(guanine เรียกย่อว่า G) เบสไทมีน (thymine เรียกย่อว่า T) และเบสไซโทซีน (cytosine เรียกย่อว่า C) - โมเลกุลของดีเอ็นเอประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายพันกันเป็นเกลียวคู่ โดยสายพอลินิวคลีโอไทด์แต่ละสายจะ เชื่อมต่อระหว่างเบสกับเบสของนิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วย ซึ่งเบส A จะจับคู่กับเบส T และเบส C จับคู่เบสG
  • 7. หน้า 7 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 สมบัติทั่วไปของธาตุ ตารางธาตุ แบบจาลองอะตอม o สัญลักษณ์ธาตุ o การจัดเรียงอิเล็กตรอน ระดับพลังงาน o การจาแนกอะตอม : ไอโซ o กัมมันตภาพรังสี
  • 8. หน้า 8 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 สมบัติทั่วไปของธาตุ ตารางธาตุ 0 #สมบัติทางกายภาพ เช่น การนาไฟฟ้ า การละลายน้า จุดเดือดจุดหลอมเหลว (Bonding) สถานะ #สมบัติทางเคมี เช่น ความเป็นกรดเบส เกิดปฏิกิริยาต่างๆ โลหะ ………………………………………………………………………………………………………. อโลหะ ……………………………………………………………………………………………………… กึ่งโลหะ ……………………………………………………………………………………………………. หมู่ …………………………….คาบ …………………………………………………… -การเกิด สารประกอบคลอไรด์ NaCl, ออกไซด์ MgO โลหะออกไซด์ ละลายน้าแล้วเป็นเบส อโลหะออกไซด์ ละลายน้าแล้วเป็นกรด -ขนาดของอะตอม และไอออน(ion ) ขนาดเล็กลง จาก ซ้ายไปขวา และล่างขึ้นบน -พลังงานไอออไนเซชั่น (IE) เพิ่มขึ้น จาก ซ้ายไปขวา และล่างขึ้นบน - พลังงานสัมพรรคภาพ/อิเล็กโตรเนกาติวิตี้(EA) หรือค่า EN : F,O,Cl,N,Br เพิ่มขึ้น จาก ซ้ายไปขวา และ ล่างขึ้นบน -เลขออกซิเดชัน : NaCl Na= …. Cl = ……. KMnO4 K = …. O=…… Mn =…. สาคัญคือ ต้องรู้หมู่ เพื่อ ทราบเลขออกซิเดชัน ของธาตุนั้น ก่อน แล้วจึง แยก ว่า โลหะ จะเป็นบวก ส่วน อโลหะ จะมีทั้งลบ และบวก โดยพิจารณาจากค่า EN ตัวที่ EN มาก จะเป็นลบ
  • 9. หน้า 9 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 o แบบจาลองอะตอม ดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบห์ร กลุ่มหมอก oสัญลักษณ์ธาตุ A n+ X Z A คือ เลขมวล n+ คือ ประจุ Z คือ เลขอะตอม
  • 10. หน้า 10 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 o การจัดเรียงอิเล็กตรอน - การจัดเรียงอิเล็กตรอน ใช้ระบบ s p d f เพื่อ นามาสร้างเป็น ตารางธาตุ โดย หมู่ คือ อิเล็กตรอนวงนอก สุด 
  • 11. หน้า 11 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 ระดับพลังงาน (2,8,18,32) (ที่มา: http://pages.swcp.com/~jmw-mcw/Parsing%20the%20spdf%20electron%20orbital%20model.htm ) แบบฝึกการจัดเรียงอิเล็กตรอน เลขอะตอม การจัดเรียงแบบ spdf การจัดเรียงแบบ 2,8,18,32 หมู่ คาบ 11 20 8 35 86 o การจาแนกอะตอม : ไอโซ 1 ไอโซโทป 12 13 C C 6 7 2 ไอโซโทน 19 20 A B 9 10 3 ไอโซบาร์ 20 20 D E 10 7 4 ไอโซอิเล็กโทรนิก 16 2- 17 _ O F 8 9
  • 12. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 12 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 o กัมมันตภาพรังสี รังสี 3 ชนิดคือ อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา หรือโพสิตรอน รังสีแกมม่า พลังงาน : อนุภาคแอลฟา > อนุภาคบีตา หรือโพสิตรอน > รังสีแกมม่า อานาจการทะลุทะลวง : อนุภาคแอลฟา < อนุภาคบีตา หรือโพสิตรอน < รังสีแกมม่า - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1 ปฏิกิริยาฟิชชั่น (ฟิตๆก้อแตก) 2 ปฏิกิริยาฟิวชั่น (ฟิวก้อรวม) พลังงานมากกว่าฟิชชั่น -ครึ่งชีวิต สาร ก ลดลง เหลือ 25% ใน 4วัน จงหาเวลาครึ่งชีวิต _____
  • 13. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 13 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 พันธะ เคมี CHEM : BONDING พันธะแบ่งเป็น 3 ชนิด คือพันธะไอออนิก พันธะโลหะ พันธะโคเวเลนต์ 1.พันธะ ไอออนิก เกิดจาก โลหะให้electron และอโลหะ รับ electron เกิดเป็นพันธะที่มีแรงเรียกว่า อิเล็กตรอสแตรติก electrostatic force หรือแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและ ไอออนลบ การเขียน สารประกอบไอออนิก เขียนโดยให้ไอออนบวกอยู่ด้านหน้า ตามด้วยไอออนลบ โดยอัตราส่วน ของโลหะและอโลหะ เกิดจากการไขว้ เลข ออกซิเดชัน เช่น Na : +1 , S : -2 Na2S โซเดียมซัลไฟต์ สาหรับTransition : M(Oxidation Number)A-ide การเกิดสารประกอบ ไอออนิก โดยแสดงจากแผนภาพ เวนออยเลอร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน คือ 1. การระเหิด โลหะ จากของแข็งกลายเป็นก๊าซ 2. ขั้นตอนการ ทาให้โลหะ เป็นประจุบวกโดยใช้ Ionization Energy 3. กรณีอโลหะ เมื่ออยู่ในสภาวะแก๊ส หรือ diatomic ต้องแยกให้เป็นตัวเดียวก่อน โดยใช้พลังงานสลายพันธะ 4. ทาให้อโลหะเป็นประจุลบ โดยใช้พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA: Electro affanity) 5. รวม ไอออนบวกและไอออนลบ กายเป็นสารประกอบไอออนิก เรียกพลังงานว่าพลังงานแลตทิซหรือโครงร่างผลึก (Lattice Energy) การละลายของไอออนิก พิจารณาจากค่าพลังงานไฮเดรชั่น มีความต่างมากน้อยกับ พลังงานแลตทิซ โดยถ้าพลังงานไฮเดรชั่นสูงกว่าพลังงาน แลตทิช จะละลายดี ถ้าพลังงานแลตทิซสูงกว่าพลังงานไฮเดรชั่นมากมาก ประกอบไอออนิกไม่ละลายน้า สารประกอบ ที่ละลายน้า มีดังนี้ - หมู่ 1 ,NH4+ , NO3- ไนเตรต, ClO3- คลอเรต, ClO4- เปอร์คลอเรต ยกเว้น KClO4, CH3COO-อะซิเตต ยกเว้น CH3COOAg(ซิลเวอร์แอซีเตต) สารประกอบที่รวมกันแล้วตกตะกอน ได้แก่ -โละหมู่2 + ประจุ -2 ,-3 ยกเว้น MgSO4 -โลหะทรานซิชั่น ,Ca,Mg + OH- เช่น Ca(OH)2 -โลหะทรานซิชั่นกับ หมู่7 (-1) เช่น AgCl ยกเว้น HgCl2 -โลหะทรานซิชั่นกับประจุ - 2 และ-3 ยกเว้น CuSo4 CdSO4
  • 14. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 14 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 พันธะโคเวเลนต์ เกิดจากอโลหะ รวมตัวกัน โดยใช้อิเล็กตรอน วงนอก (วาเลนซ์อิเล็กตรอน ) มาเกิดพันธะรวมกันโดย 2 อิเล็กตรอน เกิดเป็น1พันธะ ตามกฎของoctet ; ให้อโลหะที่มีค่าENสูงกว่า มีอิเล็กตรอนวงนอกครบ 8 โดยไม่จาเป็นว่า อโลหะตัวนั้นจะเป็นอะตอม กลางหรือไม่ เช่น OF6 :EN :F> O , F อิเล็กตรอนวงนอก =7 ขาด1อิเล็กตรอน ครบ8 จึงใช้ 1 อิเล็กตรอนวงนอก ของออกซิเจน เกิดเป็น พันธะ เดี่ยว O-F โดยเมื่อประกอบเป็นโมเลกุล จะมีรูปร่างต่างๆกัน โดยใช้ ทฤษฎี VESPR : AxByEz (A: อะตอมกลาง ที่มีจานวนน้อยที่สุด; x=จานวนของA ,B คือ อะตอมล้อมรอบที่เป็นธาตุแบบเดียวกัน ;y=จานวนของB และ E คืออิเล็กตรอนที่อิสระไม่ได้ร่วม พันธะพันธะ ;z =E/2 2พันธะ -AB2E0 , AB2E3 รูปร่าง คือเส้นตรง - AB2E1 , AB2E2 รูปร่าง คือ มุมงอ 3 พันธะ -AB3E0 รูปร่าง คือ สามเหลี่ยมแบนราบ - AB3E1 , AB3E2 รูปร่าง คือ พีระมิดฐานสามเหลี่ยม 4 พันธะ -AB4E0 รูปร่าง คือ ทรงสี่หน้า - AB4E1 รูปร่าง คือ ทรงสี่หน้าที่บิดเบี้ยว - AB4E2 รูปร่าง คือ สี่เหลี่ยมแบนราบ 5 พันธะ -AB5E0 รูปร่าง คือ พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม - AB5E1 รูปร่าง คือ พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยมที่บิดเบี้ยว 6 พันธะ -AB6E0 รูปร่าง คือ ทรงแปดหน้า - AB4E1 รูปร่าง คือ ทรงแปดหน้าที่บิดเบี้ยว สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ ; 1 พิจารณาจาก สภาพขั้วของพันธะ ดูความแตกต่างค่าENของธาตุ : O-F ,EN :F> O ทิศทางของขั้ว จะไปทางF กรณีที่เป็นอโลหะชนิดเดียวกัน ไม่มีความต่างของEN จะไม่มีขั้ว 2 พิจารณาสภาพขั้วของโมเลกุล จะพิจารณาจาก สภาพขั้วของพันธะ -ในกรณีที่โมเลกุลประกอบด้วยพันธะไม่มีขั้ว ส่งผลให้โมเลกุลไม่มีขั้ว
  • 15. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 15 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 - ในกรณีที่โมเลกุลประกอบด้วยพันธะมีขั้ว มีทั้งโมเลกุลที่มีขั้วและไม่มีขั้ว โมเลกุลที่ไม่มีขั้ว:รูปร่างของของโมเลกุล ที่เป็นสมมาตร ได้แก่ เส้นตรง สามเหลี่ยมแบนราบ ทรงสี่หน้า พีระมิดคู่ฐาน สามเหลี่ยม ทรงแปดหน้า สี่เหลี่ยมแบนราบ นอกนั้นเป็นโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว แรงระหว่างโมเลกุล แบ่งเป็น 3 แรงคือ 1 แรงลอนดอน เป็นแรงระหว่างโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว มี จุดเดือดต่าที่สุดในสามแรง 2 แรงระหว่างขั้ว เป็นแรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว ยกเว้นโมเลกุลที่มี H-F , H-O ,H-N 3 พันธะไฮโดรเจน เป็นแรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้วและมีพันธะ H-F , H-O ,H-N มีจุดเดือดที่สูงที่สุดในสามแรง จุดเดือดของพันธะโคเวเลนต์ ขึ้นอยู่กับมวลโมเลกุลหรือน้าหนักของโมเลกุล โดยมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน พิจารณาจาก แรงระหว่างโมเลกุล ตามลาดับ คือ พันธะไฮโดรเจน แรงระหว่างขั้ว และแรงลอนดอน นอกจากนี้ยังมีแรงที่เกิดจากการจัดเรียงตัวแบบพิเศษ ของอโลหะ เช่น คาร์บอน เป็น เพชร เรียกว่า โครงผลึกร่างตาข่าย เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่มีความแข็งแรงที่สุด ------ พันธะโลหะ เกิดจาก ธาตุที่เป็นโลหะรวมตัวกัน โดยอิเล็กตรอน จะวิ่งรอบๆแท่งโลหะ ทาให้เกิดการสะท้อนแสงและการนา ไฟฟ้ าของโลหะ ลาดับ จุดเดือด : โคเวเลนต์แบบโครงผลึกร่างตาข่าย > โลหะ > ไอออนิก > โคเวเลนต์ตามลาดับ ---------------------------------------------------------------------- Memo:
  • 16. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 16 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 ปิโตรเคมี ที่เคยออกสอบจะเป็นเรื่องของน้ามันและพอลิเมอร์ - น้ามัน แบ่งเป็นน้ามัน เบนซินและดีเซล 1 น้ามันเบนซินหรือแก๊สโซลีน ประกอบด้วยไอโซออกเทนและเฮปเทน (%ไอโซออกเทน คือเลขออกเทน ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกคุณภาพน้ามัน) โดยสารเพิ่มออกเทน (ป้ องกันเครื่องกระตุกหรือสะดุด) คือ MTBE ใช้แทนเตตระเอทิลเลท TEL (น้ามันตะกั่ว) แก๊สโซฮอล์คือส่วนผสมระหว่างเบนซินและแอลกอฮอล์ปกติเราใช้เป็น เอทานอล (Ethanol) -> E20 E85 E บอก ปริมาณ ethanol กี่ % Volume 2 น้ามันดีเซล ประกอบด้วย ซีเทน และอัลฟ่าเมทิลแนฟทาลีน (%ซีเทน คือเลขซีเทน ซึ่ง เป็นตัวบ่งบอกคุณภาพน้ามัน) ไบโอดีเซลเป็นส่วนผสมระหว่างน้ามันดีเซลและ ไบโอดีเซลหรือ fatty acid methyl ester (%ไบโอดีเซล คืิอชื่อเช่น2%= B2 ,5%=B5)
  • 17. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 17 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 - พอลิเมอร์ พอลิเมอร์ธรรมชาติ เช่น ยางธรรมชาติ เซลลูโลส แป้ ง เส้นใย โปรตีน เป็นต้น พอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น ยางสังเคราะห์ พลาสติก เส้นใยสังเคราะห์ ผ้าไนลอน เป็นต้น การจาแนกตามองค์ประกอบ 1. โฮโมพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ที่มีสารตั้งต้นชนิดเดียว เช่น PE PVC PP PS 2. โคพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ที่มีสารตั้งต้นมากกว่า 1 ชนิด เช่น โปรตีน ยางSBR
  • 18. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 18 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 - ยาง แบ่งเป็นยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ 1 ยางธรรมชาติคือ พอลิไอโซปรีน แล้วจึงนามา พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นคือมีความยืดหยุ่นสูง โดยเพิ่มกามะถันโดยมีความ ร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกกระบวนการว่า กระบวนการ วัลคาไนเซชัน 2 ยางสังเคราะห์ เช่น ยางรถยนต์ SBR เกิดจาก 2 ชนิดคือ บิวตะไดอีนและสไตรีน
  • 19. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 19 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 ปัญหาสิ่งแวดล้อม - มลภาวะทางน้า ค่า DO (ต่ากว่า 3 คือเสีย) ค่า BOD (มากกว่า 100 คือเสีย) BOD = ปริมาณO2 ที่ถูกใช้ไป(mg)/ ปริมาตรของน้าที่มาวิเคราะห์(L) ค่า DO คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า ค่า BOD ปริมาณที่ออกซิเจนจะถูกใช้จากสิ่งมีชีวิตในน้า ค่า COD ปริมาณที่ออกซิเจนจะถูกใช้ในการย่อยสลายสารเคมีในน้า - มลภาวะทางอากาศ - ฝนกรด : สภาพปกติน้าฝนจะมีสมบัติเป็นกรด เพราะน้าฝนจะรวมตัวกับแก็สซัลเฟอร์ไดออกไซต์ เป็นกรดซัลฟูริก (พบมาก) หรือ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ กลายเป็นกรดคาร์บอนิกที่มีสมบัติเป็นกรดน้าฝนที่มีฤทธิ์เป็นกรดทาให้ต้นไม้ไม่ เจริญเติบโต ลาต้นแคระแกร็น หรือทาให้เมล็ดไม่งอก และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น อาคารบ้านเรือน รูปปั้น อนุสาวรีย์จะสึกกร่อนและผุพังเร็ว -ปรากฏการณ์เรือนกระจก เกิดจากการที่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศ และกั้น ไม่ให้ความร้อนจากพื้นโลกผ่านขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ โลกที่ร้อนขึ้นเนื่องจากการเกิดปรากฏการณ์เรือน กระจก ที่มีสาเหตุมาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ปล่อยแก๊สเรือนกระจกเช่น แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊สคลอโรฟลูออโรคาร์บอน และแก๊สไนตรัสออกไซด์ ออกมา แก๊สนี้จะมี คุณสมบัติดูดกลืนรังสีอินฟราเรดที่พื้นโลกคายออกมาเมื่อได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์เอาไว้ทาให้เกิด ผลกระทบในด้านต่าง ๆ เช่น ทาให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้น เป็นสาเหตุให้เกิดการละลายของธารน้าแข็งขั้วโลก ฤดูกาลและสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง เกิดพายุ มีฤดูร้อนยาวนาน และมีฤดูหนาวที่สั้นลง ส่งผลให้ระบบ นิเวศของโลกถูกทาลาย
  • 20. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 20 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6 ตัวอย่างข้อสอบ
  • 21. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 21 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 22. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 22 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 23. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 23 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 24. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 24 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 25. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 25 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 26. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 26 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 27. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 27 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 28. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 28 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 29. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 29 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 30. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 30 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 31. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 31 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 32. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 32 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 33. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 33 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 34. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 34 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6
  • 35. โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม .6 หน้า 35 / โอเน็ต วิทยาศาสตร์ เคมี ม.6