SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 27
Descargar para leer sin conexión
L/O/G/O
www.themegallery.com
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
www.kruseksan.com
ระบบหายใจ (Respiratory System)
อธิบายโครงสร้าง หน้าที่ของระบบหายใจของมนุษย์
อธิบายเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนแก๊สภายในปอด
อธิบายกลไกของการหายใจเข้าและออกของมนุษย์
ทากิจกรรมเพื่อวัดความจุอากาศของปอด
เมื่อเรียนจบหัวข้อนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
4
1
2
3
จุดประสงค์การเรียนรู้
ตระหนักถึงความสาคัญของอวัยวะในระบบหายใจ
ระบุโครงสร้างที่สาคัญในระบบหายใจ
5
6
• คือ ส่วนของอวัยวะของร่างกายทาหน้าที่รับออกซิเจน (O2) จากภายนอกเข้า
สู่ร่างกายและนา คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)จากภายใน ออกมาขับทิ้งสู่
ภายนอกร่างกาย โดยอาศัยระบบไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลางในการลาเลียง
ก๊าช แบ่งได้เป็น
• ทางเดินหายใจส่วนบน ประกอบด้วย
จมูก (nose) คอหอย (pharynx) และ
กล่องเสียง (larynx)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง ประกอบด้วย หลอดลม (trachea)
ท่อลม (bronchi) และปอด (lung) ทั้งสองข้าง
ระบบหายใจ (Respiratory System)
การหายใจของคน ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ
1. การหายใจภายนอก ( external respiration )
เป็นการนาอากาศเข้าสู่ปอด
มีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่าง
ปอดกับเลือด การขนส่งแก๊ส
จากเลือดไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อ
การขนส่งแก๊ส จากเซลล์และ
เนื้อเยื่อกลับไปยังปอดตลอดไป
จนถึงการนาอากาศ
ออกนอกร่างกาย
การหายใจของคน ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ
2. การหายใจภายในเซลล์ ( Internal respiration )
การหายใจที่เป็นปฏิกิริยาที่
เกิดขึ้นภายในเซลล์ของร่างกาย
หรือเรียกว่า Cellular
respiration หมายถึง การสลาย
สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
กล่าวคือ เมื่อเซลล์ได้รับ
สารอาหารและออกซิเจน จะทา
ปฏิกิริยากัน
คือ การสลายโมเลกุลของอาหารอย่างสมบูรณ์ ได้พลังงานออกมาเต็มที่
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกมา คือ คาร์บอนไดออกไซด์และน้า
ดังสมการ
C6H12O6 + 6O6 6CO2 + 6H2O + energy 38 ATP
1. การหายใจแบบใช้แก๊สออกซิเจน (Aerobic respiration)
ชนิดการหายใจมี 2 แบบ
2. การหายใจแบบไม่ใช้แก๊สออกซิเจน(Anaerobic respiration)
ชนิดการหายใจมี 2 แบบ
คือ การสลายโมเลกุลของอาหารไม่สมบูรณ์ ได้พลังงานออกมาเพียง
1 ใน 9 ของการหายใจแบบใช้ออกซิเจน ผลที่ได้จากการหายใจแบบ
ไม่ใช้ออกซิเจนจะเกิด ในแบคทีเรียและในเซลล์กล้ามเนื้อลายของ
สัตว์ชั้นสูง คือ กรดแลกติก ในยีสต์จะได้เป็นเอทิลแอลกอฮอล์และ
คาร์บอนไดออกไซด์ หรือเรียกว่า fermentation
2. การหายใจแบบไม่ใช้แก๊สออกซิเจน (Anaerobic respiration)
ชนิดการหายใจมี 2 แบบ
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนในเซลล์กล้ามเนื้อลาย
C6H12O6 2C3H6O5 + energy 2 ATP
กรดแลกติก
2. การหายใจแบบไม่ใช้แก๊สออกซิเจน (Anaerobic respiration)
ชนิดการหายใจมี 2 แบบ
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนในยีสต์
C6H12O6 2C2H5OH + CO2 + energy 2 ATP
เอทิลแอลกอฮอล์
ข้อควรรู้
ATP ชื่อเต็มว่า Adenosine Triphosphate เป็นสารพลังงานสูง ซึ่ง
เซลล์สร้างขึ้นเพื่อใช้ภายในเซลล์ ในการสลาย ATP ให้กลายเป็น ADP
จะปล่อยพลังงาน 7.3 kcal ในทางกลับกัน ในการสร้าง ADP ให้
กลายเป็น ATP จะต้องใช้พลังงาน 7.3 kcal
องค์ประกอบทางเดินหายใจของคน
1. จมูก (Nosteil) :
เป็นทางผ่านเข้าของอากาศ
2. โพรงจมูก (Nasal cavity) :
มีเยื่อบุผิวที่มิซิเลีย
และเมือกสาหรับดัก
สิ่งแปลกปลอมไว้ไม่ให้
ผ่านลงสู่ปอด
3. คอหอย (Pharynx) : บริเวณที่พบกันของช่องอากาศจากจมูก ช่อง
อาหารจากปากกล่องเสียงจากหลอดลมคอ
4. หลอดลม (trachea) : เป็นหลอดยาวตรงมีกระดูกอ่อนเรียงเป็นรูป
เกือกม้าติดอยู่โดยจะแตกแขนงออกเป็นขั้วปอด 2 ขั้ว
องค์ประกอบทางเดินหายใจของคน
5. ขั้วปอด (Bronchus) :
เป็นส่วนของหลอดลมที่แยก
ออกเป็นกิ่ง ซ้ายและขวา
เข้าปอด
6. แขนงขั้วปอด/
หลอดลมฝอย (Bronchiole)
เป็นแขนงของท่อลมที่แยกออกไปมากมายและแทรกอยู่ทั่วไปในเนื้อ
ปอด และจะไปสิ้นสุดที่ถุงลม (Alveolus)
7. ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด (alveoli) : ที่ผนังของถุงลมจะมีเส้นเลือดฝอย
ล้อมรอบอยู่มากมาย จึงเป็นแหล่งในการแลกเปลี่ยนก๊าซ ภายในปอด
ของคนมีอัลวิโอลัส (ถุงลมเล็ก ๆ) ประมาณ 300 ล้านถุง
องค์ประกอบทางเดินหายใจของคน
5. ขั้วปอด (Bronchus) :
เป็นส่วนของหลอดลมที่แยก
ออกเป็นกิ่ง ซ้ายและขวา
เข้าปอด
6. แขนงขั้วปอด/
หลอดลมฝอย (Bronchiole)
เป็นแขนงของท่อลมที่แยกออกไปมากมายและแทรกอยู่ทั่วไปในเนื้อ
ปอด และจะไปสิ้นสุดที่ถุงลม (Alveolus)
7. ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด (alveoli) : ที่ผนังของถุงลมจะมีเส้นเลือดฝอย
ล้อมรอบอยู่มากมาย จึงเป็นแหล่งในการแลกเปลี่ยนก๊าซ ภายในปอด
ของคนมีอัลวิโอลัส (ถุงลมเล็ก ๆ) ประมาณ 300 ล้านถุง
การสูดลมหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การสูดลมหายใจ
การหายใจเกี่ยวข้องกับ…..
- กล้ามเนื้อกระบังลม
- กล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครง
ศูนย์กลางการควบคุม คือ สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา
( medulla oblongata ) ไวต่อปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
การสูดลมหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
แผนผังการสูดลมหายใจ
อากาศ รูจมูก (Nostril) โพรงจมูก (nasal cavity) คอหอย (pharynx)
กล่องเสียง (larynx) หลอดลม (bronchus)
ปอด (lung) ถุงลมปอด (alveolus)
ขณะหายใจเข้า (inspiration)
- กล้ามเนื้อซี่โครงแถบนอกหดตัว
- กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบในคลายตัว
- กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้น
- กระบังลมต่าลง
- กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัว
- ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น
- ความดันของอากาศภายในปอดลดลง
ขณะหายใจออก (exspiration)
- กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบนอกคลายตัว
- กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบในหดตัว
- กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้นลง
- กระบังลมยกตัวสูงขึ้น
- กล้ามเนื้อกระบังลมคลายตัว
- ปริมาตรในช่องอกลดลง
- ความดันของอากาศภายในปอดเพิ่มขึ้น
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
1. การแลกแก๊สระหว่างปอดกับเส้นเลือด
ออกซิเจน (O2) จากถุงลมปอดจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอย รวมตัวกับ
ฮีโมโกลบิน (haemoglobin : Hb) ที่ผิวเม็ดเลือดแดง กลายเป็นออกซิ
ฮีโมโกลบิน (oxyhaemoglobin : HbO2) ส่งไปยังหัวใจ
สูบฉีดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
2.การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเส้นเลือดกับเนื้อเยื่อ
CO2 แพร่เข้าสู่เส้นเลือด รวมกับน้าในเม็ดเลือด
แดง CO2 + H2O
เกิดเป็นกรดคาร์บอนิก
H2CO3
แตกตัว
H + + HCO3
-
กลไกการหายใจเข้า-ออก
กลไกการหายใจเข้า-ออก
กลไกการหายใจเข้า-ออก
* หายใจเข้า-ออก
กระบวนการ กล้ามเนื้อกะบังลม กระดูกซี่โครง ปริมาตรในปอด ความดันในปอด
การหายใจเข้า หดตัวต่าลง ยกตัวขึ้น เพิ่มขึ้น ลดลง
การหายใจออก คลายตัวสูงขึ้น ลดต่าลง ลดลง เพิ่มขึ้น
ความจุอากาศในปอด
แก๊ส ลมหายใจเข้า (%) ลมหายใจออก (%)
1. ออกซิเจน
2. คาร์บอนไดออกไซต์
3. ไนโตรเจน
4. ไอน้า
21
0.03
78
ไม่คงที่
19
2.8
78
อิ่มตัว
ความจุอากาศของปอดในแต่ละคนจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ
1. เพศ เพศชายจะมีความจุปอดมากกว่าเพศหญิง
2. สภาพร่างกาย นักกีฬามีความจุของปอดมากกว่าคนปกติ
3. อายุ ผู้สูงอายุจะมีความจุปอดลดลง
4. โรคที่เกิดกับปอด โรคบางชนิด เช่น ถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง
1.การควบคุมแบบอัตโนมัติ
การควบคุมการหายใจ มี 2 แบบ
อยู่ภายนอกอานาจจิตใจ บังคับไม่ได้ ใช้สมองส่วน
เมดุลลาออบลองกาตาและพอนด์
2.การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ
โดยใช้ซีเบลลัม ซีรีบัลคอร์เทกซ์ และไฮโพทาลามัส
1.โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema)
โรคที่เกิดกับทางเดินหายใจ
เป็นโรคที่มีภาวะของการอุดกั้นอย่างเรื้อรังของหลอดลมทั่วปอดทั้ง 2
ข้าง
สาเหตุสาคัญ : มาจากการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องหรือได้รับสารพิษใน
ควันบุหรี่ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ติดต่อกันเป็นเวลานาน
อาการ : เกิดการระคายเคืองต่อหลอดลมและทาลายผนังถุงลม
เนื้อเยื่อซึ่งโยงยึดหลอดลมและถุงลมจึงเสื่อมลง หลอดลมเล็ก ๆ
ขาดการยึดโยงที่ดีจึงแฟบลง เกิดการอุดกั้นของอากาศ ทาให้มีลม
ค้างอยู่ในถึงลม เรียกว่า ถุงลมโป่งพอง
2.โรคปอดบวม (Pneumonia)
โรคที่เกิดกับทางเดินหายใจ
เป็นภาวะที่ปอดเกิดการอักเสบ ซึ่งอาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส
หรือในสภาวะที่ผิดปกติอาจจะเกิดจากเชื้อราและพยาธิ เมื่อเป็นปอด
บวม จะมีหนอง และสารน้าอย่างอื่นในถุงลม ทาให้ร่างกายไม่
สามารถรับก๊าซ O2 ร่างกายจะขาดก๊าซ O2 และอาจถึงแก่ชีวิต
3.โรคภูมิแพ้จมูก/แพ้อากาศ (Allergic Rhinitis)
โรคที่เกิดกับทางเดินหายใจ
มีปฏิกิริยาตอบสนองไวเกินต่อสารก่อภูมิแพ้ เมื่อมีสารก่อภูมิแพ้เข้าสู่
ร่างกาย ร่างกายจะส่งแอนติบอดีไปทาปฏิกิริยากับสารก่อภูมิแพ้ที่
หายใจเข้าไป เป็นผลให้เซลล์บางชนิดภายในจมูก มีการแตกตัวและ
หลั่งสารเคมีออกมาทาให้เกิดการอักเสบ และมีอาการต่าง ๆ ของ
โรคตามมา
L/O/G/O
www.themegallery.com
Thank You!
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 

La actualidad más candente (20)

โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 

Destacado

บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารsripranom srisom
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 

Destacado (6)

อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 

Similar a ระบบหายใจ (Respiratory System)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์Amporn Ponlana
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์Amporn Ponlana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831CUPress
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 

Similar a ระบบหายใจ (Respiratory System) (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
G2
G2G2
G2
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

Más de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Más de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 
Cm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thaiCm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thai
 
Cm rally episode 3 thai
Cm rally episode 3 thaiCm rally episode 3 thai
Cm rally episode 3 thai
 

ระบบหายใจ (Respiratory System)