SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 35
Descargar para leer sin conexión
การทดสอบสมบุติฐานสาหรับประชากรเดียว
2
2
ข้อสมมุติหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกันของประชากร 1 ชุดหรือมากกว่า
การทดสอบสมมุติฐาน
การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing)
สมมุติฐาน
ขั้นตอนหรือกระบวนการตัดสินใจว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐานนั้นๆ
3
3
H0 : สมมุติฐานหลัก (Null Hypothesis)
H1 : สมมุติฐานแย้ง (Alternative Hypothesis)
H0 : µ = 60 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 60)
H1 : µ ≠ 60 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. ≠ 60)
H0 : µ = 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 50)
H1 : µ < 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. < 50)
การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing)
การตั้งสมมุติฐาน
4
4
H0 : µ = 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 50)
H1 : µ ≠ 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. ≠ 50)
การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมุติฐาน
ค่าเฉลี่ยตัวอย่างมีได้หลากหลายค่า สมมุติให้ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง อยู่ระหว่าง 48.5 ถึง 51.5
48.5 51.5
ไม่สามารถปฏิเสธ H0
µ=50
ปฏิเสธ H0
µ≠50
ปฏิเสธ H0
µ≠50
5
5
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานของพารามิเตอร์
การทดสอบสมมติฐานที่พบบ่อยคือ ค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน และสัดส่วน ประกอบด้วย 6 ขั้นตอนคือ
1. กาหนดสมมติฐานหลัก H0
2. กาหนดสมมติฐานทางเลือก H1
3. เลือกค่าระดับนัยสาคัญ α
4. กาหนดบริเวณวิกฤติ (Critical Region) ตามระดับนัยสาคัญและการตั้งสมมติฐานทางเลือก H1
5. สุ่มตัวอย่างขนาด n และคานวณค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ
6. นาค่าสถิติที่ได้จากการคานวณตามข้อที่ 5. เปรียบเทียบกับบริเวณวิกฤติตามข้อที่ 4. แล้วสรุปผลดังนี้
❖ ถ้าอยู่ในบริเวณวิกฤติ จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0
❖ ถ้าอยู่นอกบริเวณวิกฤติ จะยอมรับสมมติฐานหลัก H0
6
6
การตัดสินใจยอมรับ / ปฏิเสธสมมุติฐาน
ประเภทความผิดพลาดที่พบจากการทดสอบสมมติฐาน(Types of Error)
การตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธ H0 นั้น พิจารณาจากค่าสถิติที่คานวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมีโอกาส
ที่จะเกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจได้ ซึ่งประเภทความผิดพลาดที่พบแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1. ความผิดพลาดแบบที่หนึ่ง (Type I Error)
การปฏิเสธ H0 ทั้งที่ H0 เป็นจริง ให้ระดับนัยสาคัญ α แทนค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดแบบที่ 1
2. ความผิดพลาดแบบที่สอง (Type II Error)
การยอมรับ H0 ทั้งที่ H0 เป็นเท็จ ให้ β แทนค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดแบบที่ 2
α = P(Type I Error) = P(Reject H0 | H0 is True)
β = P(Type II Error) = P(Fail to Reject H0 | H0 is False)
ประเภทความผิดพลาดที่พบจากการทดสอบสมมติฐาน(Types of Error)
ค่า (1 – β) เรียกว่าอานาจการทดสอบ (Power of the Test) เป็นความน่าจะเป็นที่ปฏิเสธสมมติฐานโดยที่ H0 เป็นเท็จ
(1 – β) = Power = P(Reject H0 | H0 is False) อานาจการทดสอบจะเป็นตัววัดความไว (Sensitivity) ของการทดสอบ
สมมติฐาน โดยจะบ่งบอกถึงความสามารถของการทดสอบที่จะตรวจพบความแตกต่างที่เกิดขึ้น
ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สอง(ß)
ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่หนึ่ง จะถูกกาหนดโดยผู้วิเคราะห์ว่าต้องการทดสอบภายใต้ระดับนัยสาคัญ α เท่าใด
ส่วนความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สองจะขึ้นกับขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สอง(ß)
ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สอง(ß)
ขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม (Sample Size)
ขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม (Sample Size)
14
14
การทดสอบสมมุตฐานของค่าเฉลี่ย (กรณีทราบความแปรปรวน)
กรณี Two Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
n
x
z
/
0
0


−
=
2
/

z
− 2
/

z
0
2
/
0
2
/
0 
 z
z
or
z
z 
−

ค่าสถิติคือ
กรณี One Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
Test
Lower
for
z
z −
−
 
0
Test
Upper
for
z
z −
 
0
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
Example 1.
ข้อกาหนดสินค้ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 ปี ในการทดสอบแบบสุ่มด้วย
ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 ด้วยตัวอย่างทั้งสิ้น 25 ชิ้น ได้รับค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 51.3 ปี จงสรุปผล
การทดสอบสินค้านี้
1. ตั้งสมมุติฐาน
2. ตัวสถิติทดสอบ
3. Reject H0 เมื่อ z0 > 1.96 หรือ z0 < -1.96
4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =3.25 > z0.025 =1.96 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0
นั่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยของประชากรไม่เท่ากับ 50 ปี ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
05
.
0
50
:
,
50
: 1
0 =

= 

 H
H

25
.
3
25
2
50
3
.
51
0 =
−
=
−
=
n
x
z


96
.
1
96
.
1 2
/
2
/ =
−
=
− 
 z
z
0.025 0.025
Example 2.
โรงงานแห่งหนึ่งคาดการว่าปริมาณความต้องการวัตถุดิบเฉลี่ยที่ใช้ในโรงงานมีค่าต่ากว่า 650 ตัน/วัน
จึงเก็บข้อมูลปริมาณวัตถุดิบที่ใช้เป็นเวลา 50 วัน ทั้งนี้จากข้อมูลตัวอย่างพบว่า ปริมาณความต้องการ
เฉลี่ย 649.14 ตัน/วัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14.388 ตัน/วัน จงหาว่าการคาดคะเนเป็นจริงหรือไม่
หากทาการทดสอบที่ระดับนัยสาคัญ = 0.05
1. ตั้งสมมุติฐาน
2. ตัวสถิติทดสอบ แต่ n>30 จึงใช้ z0 แทน
3. Reject H0 เมื่อ z0 < -1.645
4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =-0.42 > z0.05=-1.645 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 ได้
05
.
0
650
:
,
650
: 1
0 =

= 

 H
H

n
S
x
t

−
=
0 42
.
0
50
388
.
14
650
14
.
649
0 −
=
−
=
−
=
n
S
x
z

Example 3.
ในการสารวจข้อมูลเพื่อศึกษาว่าระดับคะแนน นศ.วิศวกรรม ปี 2546 มีค่าเท่ากับ 2.35 หรือไม่ ทบวง
จึงสุ่มเก็บข้อมูลจานวน 100 ข้อมูล พบว่าระดับคะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ค่าเฉลี่ยตัวอย่างเท่า
กับ 2.437 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.026 จงหาว่าการคาดคะเนเป็นจริงหรือไม่ ที่ = 0.10
1. ตั้งสมมุติฐาน
2. ตัวสถิติทดสอบ แต่ n>30 จึงใช้ z0 แทน
3. Reject H0 เมื่อ z0 < -1.645 หรือ z0 > 1.645
4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =-0.85 > z0.05=-1.645 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 ได้
นั่นคือ ค่าระดับคะแนน นศ.วิศวกรรม ปี 2546 มีค่าเท่ากับ 2.35 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.10
10
.
0
35
.
2
:
,
35
.
2
: 1
0 =

= 

 H
H

n
S
x
t

−
=
0 85
.
0
100
026
.
1
35
.
2
437
.
2
0 −
=
−
=
−
=
n
S
x
z

18
18
ค่า P - Value
นอกจากการทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้ค่าสถิติเปรียบเทียบกับเขตวิกฤตแล้ว ยังสามารถใช้ P-Value ได้
P-Value คือ ระดับต่าสุดของนัยสาคัญ ที่นาไปสู่การปฏิเสธ H0 ที่ถูกพิจารณาจากข้อมูลเดิมที่มีอยู่
โดยจะปฏิเสธสมมุติฐานหลักก็ต่อเมื่อ
โดยที่


−Value
P
Test
Tailed
Two
for
z
Value
P −
−

−
=
− :
]
1
[
2 0
Test
Tailed
Upper
for
z −
−

−
= :
]
1
[ 0
Test
Tailed
Lower
for
z −
−

= :
0
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
Example 4. (จากตัวอย่างที่ 1)
ข้อกาหนดสินค้ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 ปี ในการทดสอบแบบสุ่มด้วย
ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 ด้วยตัวอย่างทั้งสิ้น 25 ชิ้น ได้รับค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 51.3 ปี จงสรุปผล
การทดสอบสินค้านี้
1. ตั้งสมมุติฐาน
2. ตัวสถิติทดสอบ
3. Reject H0 เมื่อ z0 > 1.96 หรือ z0 < -1.96
4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =3.25 > z0.025 =1.96
ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0
05
.
0
50
:
,
50
: 1
0 =

= 

 H
H

25
.
3
25
2
50
3
.
51
0 =
−
=
−
=
n
x
z


]
25
.
3
1
[
2 
−
=
−Value
P
]
9994
.
0
1
[
2 −
=
012
.
0
=
ได้ค่า P-Value = 0.012 ซึ่ง < 0.05
ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0
20
20
การหาขนาดที่เหมาะสมของตัวอย่าง
กรณีทดสอบ 2 ด้าน (Two Tailed Test)
0
2
2
2
2
/
;
)
(







−
=
+

z
z
n
กรณีทดสอบด้านเดียว (One Tailed Test : upper or Lower)
0
2
2
2
;
)
(







−
=
+

z
z
n
Example 5.
สมมุติให้ความแตกต่างของ และ มีค่าประมาณ 1 ปี อานาจการทดสอบ (power of test)
เท่ากับ 90% (การทดสอบสามารถตรวจสอบความผิดพลาดหรือปฏิเสธสมมุติฐานหลักที่ผิด)
กาหนดให้
)
(
0 


10
.
0
05
.
0
,
1
,
2 0 =

=
=
−
=
= 





0
2
2
2
2
/
;
)
(







−
=
+

z
z
n
42
1
2
)
28
.
1
96
.
1
(
2
2
2
=
+

n
22
22
การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย (กรณีทราบความแปรปรวน)
กรณี Two Tailed Test
ความน่าจะเป็นในการยอมรับ H0 = 1-
n
x
z
/


−
=
2
/

z
− 2
/

z
0



 −
=


− 1
)
( 2
/
2
/ z
z
z
P




 −
=

−

− 1
)
/
( 2
/
2
/ z
n
x
z
P



 

−
=
−


−
 1
)
( 2
/
2
/
n
z
x
n
z
x
P
ถ้า เป็นค่าเฉลี่ยของตัวอย่างสุ่มขนาด n ดังนั้น ช่วงความ
เชื่อมั่นของ จะเท่ากับ
x

n
z
x
n
z
x


 
 2
/
2
/
+


−
กรณี One Tailed Test
Upper
n
z
x :

 
+

Lower
n
z
x :




−
Example 6.
จงสร้างช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานจากตัวอย่างที่ 1
96
.
1
025
.
0
2
/ =
= z
z

25
)
2
(
96
.
1
3
.
51
25
)
2
(
96
.
1
3
.
51
2
/
2
/
+


−
=
−


−
 


 

n
z
x
n
z
x
ช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานคือ
08
.
52
52
.
50 

= 
08
.
52
52
.
50 
 
24
24
การทดสอบสมมุตฐานของค่าเฉลี่ย (กรณีไม่ทราบความแปรปรวน)
กรณี Two Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
1
;
/
0
0 −
=
−
= n
n
s
x
t 

1
,
2
/ −
− n
t 1
,
2
/ −
n
t
0
1
,
2
/
0
1
,
2
/
0 −
− 
−
 n
n t
t
or
t
t 

ค่าสถิติคือ
กรณี One Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
Test
Lower
for
t
t n −
−
 −1
,
0 
Test
Upper
for
t
t n −
 −1
,
0 
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
Example 7.
การทดสอบแรงดึงพบว่ามีค่าเฉลี่ยตัวอย่าง =13.71 ,s=3.55 จงทดสอบว่าค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 หรือไม่
โดยสมมุติว่าแรงดึงมีการแจกแจงแบบปกติ กาหนดให้ = 0.05 และ n = 22
x
สถิติทดสอบ

05
.
0
10
:
,
10
: 1
0 =

= 

 H
H
21
;
90
.
4
22
/
55
.
3
10
71
.
13
/
0
0 =
=
−
=
−
= 

n
s
x
t
Reject H0 เมื่อ t0 > t0.05,21=1.721
สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =4.90 > t0.05,21 =1.721 ดังนั้นจึงสามารถปฏิเสธ H0
นั่นคือ ค่าเฉลี่ยของแรงดึงมากกว่า 10 (จากการทดสอบตัวอย่างสุ่มขนาด 22)
Example 8.
ผู้ผลิตไอศกรีมรายหนึ่ง เชื่อว่า ไอศกรีมที่ผลิตมีแคลลอรี่โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 75 Cal./1g. วิศวกรจึงได้รวบ
รวมข้อมูลมา 25 ก้อน ได้ผลค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณแคลลอรี่/1g. =74.883 และ
1.178 ตามลาดับ จงทดสอบว่าการคาดคะเนถูกต้องหรือไม่ที่ ระดับนัยสาคัญ 0.05
สถิติทดสอบ
05
.
0
75
:
,
75
: 1
0 =

= 

 H
H
24
;
50
.
0
25
/
178
.
1
75
883
.
74
/
0
0 =
−
=
−
=
−
= 

n
s
x
t
Reject H0 เมื่อ t0 < -t0.05,24=-1.711
สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =-0.50 > t0.05,24 =-1.711 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0
นั่นคือ ไอศกรีมที่ผลิตมีแคลลอรี่โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 75 Cal./1g.
Example 9.
ผู้ผลิตรถยนต์รายหนึ่ง กล่าวว่า อายุใช้งานเฉลี่ยก่อนเสียจนใช้งานไม่ได้เท่ากับ 175,000 km. เพื่อทดสอบ
คุณภาพ จึงได้ทาการสุ่มจากผู้ซื้อ 25 คัน พบว่าค่าเฉลี่ย= 191574 km. SD.=25801 km. จงทดสอบว่า
คุณลักษณะเป็นไปตามที่บริษัทกาหนดหรือไม่ ณ ระดับนัยสาคัญ 0.01
สถิติทดสอบ
01
.
0
175000
:
,
175000
: 1
0 =

= 

 H
H
24
;
25
.
3
25
/
25801
175000
191574
/
0
0 =
=
−
=
−
= 

n
s
x
t
Reject H0 เมื่อ t0 < -t0.005,24=-2.797 หรือ t0 > t0.005,24= 2.797
สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =3.25 > t0.005,24 = 2.797 ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธ H0
นั่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยก่อนเสียไม่เท่ากับ 175,000 km.
28
28
การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย (กรณีไม่ทราบความแปรปรวน)
ถ้าตัวแปรสุ่ม และ เป็นค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนตัวอย่างซึ่งสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบ
ปกติ ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ ถูกกาหนดโดย
2
S
X

n
s
t
x
n
s
t
x n
n 1
,
2
/
1
,
2
/ −
−
+


− 

 กรณี Two Tailed Test
n
s
t
x n 1
, −
+
 




− −
n
s
t
x n 1
,
)%
1
(
100 
−
กรณี One Tailed Test (Upper)
กรณี One Tailed Test (Lower)
การทดสอบสมมุติฐานของค่าสัดส่วน(p0) หรือจานวนครั้งที่พบความสาเร็จ(np0)
ถ้าทาการทดลองสุ่ม n ครั้ง จากประชากรที่มีการแจกแจงแบบทวินาม และพบตัวแปรสุ่ม x คือจานวนครั้งในการเกิดวามสาเร็จ
ซึ่งมีค่าเฉลี่ย np0 และความแปรปรวน np0(1-p0) ดังนั้นการศึกษาเพื่อทดสอบว่าค่าสัดส่วน หรืออัตราส่วนจากตัวอย่าง
หรือจานวนครั้งของความสาเร็จ(x) จากตัวอย่างใดๆ สามารถยอมรับได้ว่ามีค่าใกล้เคียง p0 หรือ มากกว่า p0 หรือน้อยกว่า p0
ค่าของ p0 หรือ np0 จะมีสมมุติฐานดังนี้
)
/
ˆ
( n
x
p =
กรณี Two Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
n
p
p
p
p
Z
or
n
p
p
p
n
x
Z
)
1
(
ˆ
,
)
1
(
/
0
0
0
0
0
0
0
0
−
−
=
−
−
=
2
/
0
2
/
0 
 z
z
or
z
z −


ค่าสถิติ กรณีกาหนดเป็นอัตราส่วน คือ
กรณี One Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H 0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
0
1
0
0 :
,
: 


 
= H
H
ค่าสถิติ กรณีกาหนดเป็นจานวนครั้งสาเร็จ
)
1
(
)
ˆ
(
,
)
1
( 0
0
0
0
0
0
0
0
p
np
p
p
n
Z
or
p
np
np
x
Z
−
−
=
−
−
=
)
(
0 upper
z
z 

)
(
0 lower
z
z 
−

Example 10.
ในการผลิต Semiconductor อัตราส่วนของชิ้นงานบกพร่องไม่ควรเกิน 0.05 ดังนั้นจึงมีการตรวจสอบ
ด้วยระดับนัยสาคัญ จานวนทั้งสิ้น 200 ชิ้น และพบว่ามี 4 ชิ้นบกพร่อง สามารถสรุปผลการทดลอง
ได้อย่างไร
สถิติทดสอบ
05
.
0
05
.
0
:
,
05
.
0
: 1
0 =

= 
p
H
p
H
Reject H0 เมื่อ Z0 < -z0.05 =-1.645
สรุปได้ว่า ค่า Z0 ที่คานวณได้ =-1.95 < -z0.05 =-1.645 ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธ H0
นั่นคือ อัตราส่วนของชิ้นงานบกพร่องน้อยกว่า 0.05 แสดงว่ากระบวนการมีประสิทธิภาพดี
05
.
0
=

95
.
1
)
95
.
0
)(
05
.
0
(
200
)
05
.
0
(
200
4
)
1
( 0
0
0
0 −
=
−
=
−
−
=
p
np
np
x
Z
Example 11.
ผู้ประกอบการด้านประกันชีวิต ต้องการตรวจสอบสัดส่วนคนไทยที่อายุระหว่าง 35 ปีขึ้นไป ว่ามีค่าโดย
ประมาณ 0.45 จึงทาการสารวจ 200 คน พบว่ามีผู้ทาประกันชีวิต 84 คน จากหลักฐานดังกล่าวสามารถ
สรุปตามที่บริษัทคาดไว้หรือไม่ ณ ระดับนัยสาคัญที่
สถิติทดสอบ
01
.
0
45
.
0
:
,
45
.
0
: 1
0 =

= 
p
H
p
H
Reject H0 เมื่อ Z0 < -z0.005 =-2.575 หรือ Z0 >z0.005 =2.575
สรุปได้ว่า ค่า Z0 ที่คานวณได้ =-0.853 > -z0.005 =-2.575 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0
นั่นคือ สัดส่วนคนไทยที่อายุระหว่าง 35 ปีขึ้นไปที่มีการทาประกันชีวิตมีค่าเท่ากับ 0.45
01
.
0
=

853
.
0
)
55
.
0
)(
45
.
0
(
200
)
45
.
0
(
200
84
)
1
( 0
0
0
0 −
=
−
=
−
−
=
p
np
np
x
Z
32
32
การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าสัดส่วน
ถ้ากาหนดให้ เป็นค่าสัดส่วนของตัวอย่าง n ซึ่งเกิดความสาเร็จ ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น
ของ p จากประชากรทั้งหมดที่เกิดความสาเร็จ เท่ากับ
p̂
n
p
p
z
p
p
n
p
p
z
p
)
ˆ
1
(
ˆ
ˆ
)
ˆ
1
(
ˆ
ˆ 2
/
2
/
−
+


−
− 

กรณี Two Tailed Test
)%
1
(
100 
−
กรณี One Tailed Test (Upper)
กรณี One Tailed Test (Lower)
n
p
p
z
p
p
)
ˆ
1
(
ˆ
ˆ
−
+
 
p
n
p
p
z
p 
−
−
)
ˆ
1
(
ˆ
ˆ 
33
33
การทดสอบสมมุติฐานของความแปรปรวน
กรณี Two Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
1
;
)
1
(
2
0
2
2
0 −
=
−
= n
s
n



2
1
,
2
/
2
0
2
1
,
2
/
1
2
0 −
−
− 
 n
n or 
 



ค่าสถิติคือ
กรณี One Tailed Test
จะปฏิเสธ H0 เมื่อ
2
0
2
1
2
0
2
0 :
,
: 


 
= H
H
upper
for
n
2
1
,
2
0 −
 


2
0
2
1
2
0
2
0 :
,
: 


 
= H
H
lower
for
n
2
1
,
1
2
0 −
−
 


2
0
2
1
2
0
2
0 :
,
: 


 
= H
H
Example 12.
กาหนดให้ โดยสมมุติให้ตัวแปรสุ่มมีการแจกแจงแบบปกติด้วยค่า n=20 จงตรวจสอบ
ว่า หรือไม่
สถิติทดสอบ
05
.
0
01
.
0
:
,
01
.
0
: 2
1
2
0 =

= 

 H
H
Reject H0 เมื่อ
สรุปได้ว่า ค่า ที่คานวณได้ =29.07 < ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0
นั่นคือ ความแปรปรวนมีค่าเท่ากับ 0.01
05
.
0
,
0153
.
0
2
=
= 
s
01
.
0
2


1
;
)
1
(
2
0
2
2
0 −
=
−
= n
s
n


 07
.
29
01
.
0
0153
.
0
)
1
20
( 2
=
−
=
14
.
30
2
19
,
05
.
0
2
1
,
2
0 =
=
 − 

  n
2
0
 14
.
30
2
19
,
05
.
0 =

35
35
การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของความแปรปรวน
ถ้าให้ S2 เป็นค่าความแปรปรวนของตัวอย่างจานวน n ค่า ซึ่งมากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติด้วย
ความแปรปรวนที่ไม่ทราบค่า ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ คือ
2

2
1
,
2
/
1
2
2
2
1
,
2
/
2
)
1
(
)
1
(
−
−
−
−


−
n
n
S
n
S
n

 


กรณี Two Tailed Test
)%
1
(
100 
−
กรณี One Tailed Test (Upper)
กรณี One Tailed Test (Lower)
2

2
1
,
1
2
2 )
1
(
−
−
−

n
S
n



2
2
1
,
2
)
1
(



−
−
n
S
n

Más contenido relacionado

Más de sewahec743

บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdfsewahec743
 
บทที่5.pdf
บทที่5.pdfบทที่5.pdf
บทที่5.pdfsewahec743
 
บทที่4.pdf
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdfsewahec743
 
บทที่3.pdf
บทที่3.pdfบทที่3.pdf
บทที่3.pdfsewahec743
 
บทที่2.pdf
บทที่2.pdfบทที่2.pdf
บทที่2.pdfsewahec743
 
บทที่1.pdf
บทที่1.pdfบทที่1.pdf
บทที่1.pdfsewahec743
 

Más de sewahec743 (6)

บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
บทที่5.pdf
บทที่5.pdfบทที่5.pdf
บทที่5.pdf
 
บทที่4.pdf
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdf
 
บทที่3.pdf
บทที่3.pdfบทที่3.pdf
บทที่3.pdf
 
บทที่2.pdf
บทที่2.pdfบทที่2.pdf
บทที่2.pdf
 
บทที่1.pdf
บทที่1.pdfบทที่1.pdf
บทที่1.pdf
 

บทที่7.pdf

  • 2. 2 2 ข้อสมมุติหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกันของประชากร 1 ชุดหรือมากกว่า การทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing) สมมุติฐาน ขั้นตอนหรือกระบวนการตัดสินใจว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐานนั้นๆ
  • 3. 3 3 H0 : สมมุติฐานหลัก (Null Hypothesis) H1 : สมมุติฐานแย้ง (Alternative Hypothesis) H0 : µ = 60 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 60) H1 : µ ≠ 60 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. ≠ 60) H0 : µ = 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 50) H1 : µ < 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. < 50) การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing) การตั้งสมมุติฐาน
  • 4. 4 4 H0 : µ = 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 50) H1 : µ ≠ 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. ≠ 50) การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing) การทดสอบสมมุติฐาน ค่าเฉลี่ยตัวอย่างมีได้หลากหลายค่า สมมุติให้ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง อยู่ระหว่าง 48.5 ถึง 51.5 48.5 51.5 ไม่สามารถปฏิเสธ H0 µ=50 ปฏิเสธ H0 µ≠50 ปฏิเสธ H0 µ≠50
  • 5. 5 5 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานของพารามิเตอร์ การทดสอบสมมติฐานที่พบบ่อยคือ ค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน และสัดส่วน ประกอบด้วย 6 ขั้นตอนคือ 1. กาหนดสมมติฐานหลัก H0 2. กาหนดสมมติฐานทางเลือก H1 3. เลือกค่าระดับนัยสาคัญ α 4. กาหนดบริเวณวิกฤติ (Critical Region) ตามระดับนัยสาคัญและการตั้งสมมติฐานทางเลือก H1 5. สุ่มตัวอย่างขนาด n และคานวณค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ 6. นาค่าสถิติที่ได้จากการคานวณตามข้อที่ 5. เปรียบเทียบกับบริเวณวิกฤติตามข้อที่ 4. แล้วสรุปผลดังนี้ ❖ ถ้าอยู่ในบริเวณวิกฤติ จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0 ❖ ถ้าอยู่นอกบริเวณวิกฤติ จะยอมรับสมมติฐานหลัก H0
  • 7. ประเภทความผิดพลาดที่พบจากการทดสอบสมมติฐาน(Types of Error) การตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธ H0 นั้น พิจารณาจากค่าสถิติที่คานวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมีโอกาส ที่จะเกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจได้ ซึ่งประเภทความผิดพลาดที่พบแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ความผิดพลาดแบบที่หนึ่ง (Type I Error) การปฏิเสธ H0 ทั้งที่ H0 เป็นจริง ให้ระดับนัยสาคัญ α แทนค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดแบบที่ 1 2. ความผิดพลาดแบบที่สอง (Type II Error) การยอมรับ H0 ทั้งที่ H0 เป็นเท็จ ให้ β แทนค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดแบบที่ 2 α = P(Type I Error) = P(Reject H0 | H0 is True) β = P(Type II Error) = P(Fail to Reject H0 | H0 is False)
  • 8. ประเภทความผิดพลาดที่พบจากการทดสอบสมมติฐาน(Types of Error) ค่า (1 – β) เรียกว่าอานาจการทดสอบ (Power of the Test) เป็นความน่าจะเป็นที่ปฏิเสธสมมติฐานโดยที่ H0 เป็นเท็จ (1 – β) = Power = P(Reject H0 | H0 is False) อานาจการทดสอบจะเป็นตัววัดความไว (Sensitivity) ของการทดสอบ สมมติฐาน โดยจะบ่งบอกถึงความสามารถของการทดสอบที่จะตรวจพบความแตกต่างที่เกิดขึ้น
  • 14. 14 14 การทดสอบสมมุตฐานของค่าเฉลี่ย (กรณีทราบความแปรปรวน) กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ n x z / 0 0   − = 2 /  z − 2 /  z 0 2 / 0 2 / 0   z z or z z  −  ค่าสถิติคือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ Test Lower for z z − −   0 Test Upper for z z −   0 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H
  • 15. Example 1. ข้อกาหนดสินค้ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 ปี ในการทดสอบแบบสุ่มด้วย ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 ด้วยตัวอย่างทั้งสิ้น 25 ชิ้น ได้รับค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 51.3 ปี จงสรุปผล การทดสอบสินค้านี้ 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ 3. Reject H0 เมื่อ z0 > 1.96 หรือ z0 < -1.96 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =3.25 > z0.025 =1.96 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 นั่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยของประชากรไม่เท่ากับ 50 ปี ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 05 . 0 50 : , 50 : 1 0 =  =    H H  25 . 3 25 2 50 3 . 51 0 = − = − = n x z   96 . 1 96 . 1 2 / 2 / = − = −   z z 0.025 0.025
  • 16. Example 2. โรงงานแห่งหนึ่งคาดการว่าปริมาณความต้องการวัตถุดิบเฉลี่ยที่ใช้ในโรงงานมีค่าต่ากว่า 650 ตัน/วัน จึงเก็บข้อมูลปริมาณวัตถุดิบที่ใช้เป็นเวลา 50 วัน ทั้งนี้จากข้อมูลตัวอย่างพบว่า ปริมาณความต้องการ เฉลี่ย 649.14 ตัน/วัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14.388 ตัน/วัน จงหาว่าการคาดคะเนเป็นจริงหรือไม่ หากทาการทดสอบที่ระดับนัยสาคัญ = 0.05 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ แต่ n>30 จึงใช้ z0 แทน 3. Reject H0 เมื่อ z0 < -1.645 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =-0.42 > z0.05=-1.645 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 ได้ 05 . 0 650 : , 650 : 1 0 =  =    H H  n S x t  − = 0 42 . 0 50 388 . 14 650 14 . 649 0 − = − = − = n S x z 
  • 17. Example 3. ในการสารวจข้อมูลเพื่อศึกษาว่าระดับคะแนน นศ.วิศวกรรม ปี 2546 มีค่าเท่ากับ 2.35 หรือไม่ ทบวง จึงสุ่มเก็บข้อมูลจานวน 100 ข้อมูล พบว่าระดับคะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ค่าเฉลี่ยตัวอย่างเท่า กับ 2.437 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.026 จงหาว่าการคาดคะเนเป็นจริงหรือไม่ ที่ = 0.10 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ แต่ n>30 จึงใช้ z0 แทน 3. Reject H0 เมื่อ z0 < -1.645 หรือ z0 > 1.645 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =-0.85 > z0.05=-1.645 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 ได้ นั่นคือ ค่าระดับคะแนน นศ.วิศวกรรม ปี 2546 มีค่าเท่ากับ 2.35 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.10 10 . 0 35 . 2 : , 35 . 2 : 1 0 =  =    H H  n S x t  − = 0 85 . 0 100 026 . 1 35 . 2 437 . 2 0 − = − = − = n S x z 
  • 18. 18 18 ค่า P - Value นอกจากการทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้ค่าสถิติเปรียบเทียบกับเขตวิกฤตแล้ว ยังสามารถใช้ P-Value ได้ P-Value คือ ระดับต่าสุดของนัยสาคัญ ที่นาไปสู่การปฏิเสธ H0 ที่ถูกพิจารณาจากข้อมูลเดิมที่มีอยู่ โดยจะปฏิเสธสมมุติฐานหลักก็ต่อเมื่อ โดยที่   −Value P Test Tailed Two for z Value P − −  − = − : ] 1 [ 2 0 Test Tailed Upper for z − −  − = : ] 1 [ 0 Test Tailed Lower for z − −  = : 0 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H
  • 19. Example 4. (จากตัวอย่างที่ 1) ข้อกาหนดสินค้ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 ปี ในการทดสอบแบบสุ่มด้วย ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 ด้วยตัวอย่างทั้งสิ้น 25 ชิ้น ได้รับค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 51.3 ปี จงสรุปผล การทดสอบสินค้านี้ 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ 3. Reject H0 เมื่อ z0 > 1.96 หรือ z0 < -1.96 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =3.25 > z0.025 =1.96 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 05 . 0 50 : , 50 : 1 0 =  =    H H  25 . 3 25 2 50 3 . 51 0 = − = − = n x z   ] 25 . 3 1 [ 2  − = −Value P ] 9994 . 0 1 [ 2 − = 012 . 0 = ได้ค่า P-Value = 0.012 ซึ่ง < 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0
  • 20. 20 20 การหาขนาดที่เหมาะสมของตัวอย่าง กรณีทดสอบ 2 ด้าน (Two Tailed Test) 0 2 2 2 2 / ; ) (        − = +  z z n กรณีทดสอบด้านเดียว (One Tailed Test : upper or Lower) 0 2 2 2 ; ) (        − = +  z z n
  • 21. Example 5. สมมุติให้ความแตกต่างของ และ มีค่าประมาณ 1 ปี อานาจการทดสอบ (power of test) เท่ากับ 90% (การทดสอบสามารถตรวจสอบความผิดพลาดหรือปฏิเสธสมมุติฐานหลักที่ผิด) กาหนดให้ ) ( 0    10 . 0 05 . 0 , 1 , 2 0 =  = = − = =       0 2 2 2 2 / ; ) (        − = +  z z n 42 1 2 ) 28 . 1 96 . 1 ( 2 2 2 = +  n
  • 22. 22 22 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย (กรณีทราบความแปรปรวน) กรณี Two Tailed Test ความน่าจะเป็นในการยอมรับ H0 = 1- n x z /   − = 2 /  z − 2 /  z 0     − =   − 1 ) ( 2 / 2 / z z z P      − =  −  − 1 ) / ( 2 / 2 / z n x z P       − = −   −  1 ) ( 2 / 2 / n z x n z x P ถ้า เป็นค่าเฉลี่ยของตัวอย่างสุ่มขนาด n ดังนั้น ช่วงความ เชื่อมั่นของ จะเท่ากับ x  n z x n z x      2 / 2 / +   − กรณี One Tailed Test Upper n z x :    +  Lower n z x :     −
  • 23. Example 6. จงสร้างช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานจากตัวอย่างที่ 1 96 . 1 025 . 0 2 / = = z z  25 ) 2 ( 96 . 1 3 . 51 25 ) 2 ( 96 . 1 3 . 51 2 / 2 / +   − = −   −        n z x n z x ช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานคือ 08 . 52 52 . 50   =  08 . 52 52 . 50   
  • 24. 24 24 การทดสอบสมมุตฐานของค่าเฉลี่ย (กรณีไม่ทราบความแปรปรวน) กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 1 ; / 0 0 − = − = n n s x t   1 , 2 / − − n t 1 , 2 / − n t 0 1 , 2 / 0 1 , 2 / 0 − −  −  n n t t or t t   ค่าสถิติคือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ Test Lower for t t n − −  −1 , 0  Test Upper for t t n −  −1 , 0  0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H
  • 25. Example 7. การทดสอบแรงดึงพบว่ามีค่าเฉลี่ยตัวอย่าง =13.71 ,s=3.55 จงทดสอบว่าค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 หรือไม่ โดยสมมุติว่าแรงดึงมีการแจกแจงแบบปกติ กาหนดให้ = 0.05 และ n = 22 x สถิติทดสอบ  05 . 0 10 : , 10 : 1 0 =  =    H H 21 ; 90 . 4 22 / 55 . 3 10 71 . 13 / 0 0 = = − = − =   n s x t Reject H0 เมื่อ t0 > t0.05,21=1.721 สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =4.90 > t0.05,21 =1.721 ดังนั้นจึงสามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ ค่าเฉลี่ยของแรงดึงมากกว่า 10 (จากการทดสอบตัวอย่างสุ่มขนาด 22)
  • 26. Example 8. ผู้ผลิตไอศกรีมรายหนึ่ง เชื่อว่า ไอศกรีมที่ผลิตมีแคลลอรี่โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 75 Cal./1g. วิศวกรจึงได้รวบ รวมข้อมูลมา 25 ก้อน ได้ผลค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณแคลลอรี่/1g. =74.883 และ 1.178 ตามลาดับ จงทดสอบว่าการคาดคะเนถูกต้องหรือไม่ที่ ระดับนัยสาคัญ 0.05 สถิติทดสอบ 05 . 0 75 : , 75 : 1 0 =  =    H H 24 ; 50 . 0 25 / 178 . 1 75 883 . 74 / 0 0 = − = − = − =   n s x t Reject H0 เมื่อ t0 < -t0.05,24=-1.711 สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =-0.50 > t0.05,24 =-1.711 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ ไอศกรีมที่ผลิตมีแคลลอรี่โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 75 Cal./1g.
  • 27. Example 9. ผู้ผลิตรถยนต์รายหนึ่ง กล่าวว่า อายุใช้งานเฉลี่ยก่อนเสียจนใช้งานไม่ได้เท่ากับ 175,000 km. เพื่อทดสอบ คุณภาพ จึงได้ทาการสุ่มจากผู้ซื้อ 25 คัน พบว่าค่าเฉลี่ย= 191574 km. SD.=25801 km. จงทดสอบว่า คุณลักษณะเป็นไปตามที่บริษัทกาหนดหรือไม่ ณ ระดับนัยสาคัญ 0.01 สถิติทดสอบ 01 . 0 175000 : , 175000 : 1 0 =  =    H H 24 ; 25 . 3 25 / 25801 175000 191574 / 0 0 = = − = − =   n s x t Reject H0 เมื่อ t0 < -t0.005,24=-2.797 หรือ t0 > t0.005,24= 2.797 สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =3.25 > t0.005,24 = 2.797 ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธ H0 นั่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยก่อนเสียไม่เท่ากับ 175,000 km.
  • 28. 28 28 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย (กรณีไม่ทราบความแปรปรวน) ถ้าตัวแปรสุ่ม และ เป็นค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนตัวอย่างซึ่งสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบ ปกติ ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ ถูกกาหนดโดย 2 S X  n s t x n s t x n n 1 , 2 / 1 , 2 / − − +   −    กรณี Two Tailed Test n s t x n 1 , − +       − − n s t x n 1 , )% 1 ( 100  − กรณี One Tailed Test (Upper) กรณี One Tailed Test (Lower)
  • 29. การทดสอบสมมุติฐานของค่าสัดส่วน(p0) หรือจานวนครั้งที่พบความสาเร็จ(np0) ถ้าทาการทดลองสุ่ม n ครั้ง จากประชากรที่มีการแจกแจงแบบทวินาม และพบตัวแปรสุ่ม x คือจานวนครั้งในการเกิดวามสาเร็จ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย np0 และความแปรปรวน np0(1-p0) ดังนั้นการศึกษาเพื่อทดสอบว่าค่าสัดส่วน หรืออัตราส่วนจากตัวอย่าง หรือจานวนครั้งของความสาเร็จ(x) จากตัวอย่างใดๆ สามารถยอมรับได้ว่ามีค่าใกล้เคียง p0 หรือ มากกว่า p0 หรือน้อยกว่า p0 ค่าของ p0 หรือ np0 จะมีสมมุติฐานดังนี้ ) / ˆ ( n x p = กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ n p p p p Z or n p p p n x Z ) 1 ( ˆ , ) 1 ( / 0 0 0 0 0 0 0 0 − − = − − = 2 / 0 2 / 0   z z or z z −   ค่าสถิติ กรณีกาหนดเป็นอัตราส่วน คือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H ค่าสถิติ กรณีกาหนดเป็นจานวนครั้งสาเร็จ ) 1 ( ) ˆ ( , ) 1 ( 0 0 0 0 0 0 0 0 p np p p n Z or p np np x Z − − = − − = ) ( 0 upper z z   ) ( 0 lower z z  − 
  • 30. Example 10. ในการผลิต Semiconductor อัตราส่วนของชิ้นงานบกพร่องไม่ควรเกิน 0.05 ดังนั้นจึงมีการตรวจสอบ ด้วยระดับนัยสาคัญ จานวนทั้งสิ้น 200 ชิ้น และพบว่ามี 4 ชิ้นบกพร่อง สามารถสรุปผลการทดลอง ได้อย่างไร สถิติทดสอบ 05 . 0 05 . 0 : , 05 . 0 : 1 0 =  =  p H p H Reject H0 เมื่อ Z0 < -z0.05 =-1.645 สรุปได้ว่า ค่า Z0 ที่คานวณได้ =-1.95 < -z0.05 =-1.645 ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธ H0 นั่นคือ อัตราส่วนของชิ้นงานบกพร่องน้อยกว่า 0.05 แสดงว่ากระบวนการมีประสิทธิภาพดี 05 . 0 =  95 . 1 ) 95 . 0 )( 05 . 0 ( 200 ) 05 . 0 ( 200 4 ) 1 ( 0 0 0 0 − = − = − − = p np np x Z
  • 31. Example 11. ผู้ประกอบการด้านประกันชีวิต ต้องการตรวจสอบสัดส่วนคนไทยที่อายุระหว่าง 35 ปีขึ้นไป ว่ามีค่าโดย ประมาณ 0.45 จึงทาการสารวจ 200 คน พบว่ามีผู้ทาประกันชีวิต 84 คน จากหลักฐานดังกล่าวสามารถ สรุปตามที่บริษัทคาดไว้หรือไม่ ณ ระดับนัยสาคัญที่ สถิติทดสอบ 01 . 0 45 . 0 : , 45 . 0 : 1 0 =  =  p H p H Reject H0 เมื่อ Z0 < -z0.005 =-2.575 หรือ Z0 >z0.005 =2.575 สรุปได้ว่า ค่า Z0 ที่คานวณได้ =-0.853 > -z0.005 =-2.575 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ สัดส่วนคนไทยที่อายุระหว่าง 35 ปีขึ้นไปที่มีการทาประกันชีวิตมีค่าเท่ากับ 0.45 01 . 0 =  853 . 0 ) 55 . 0 )( 45 . 0 ( 200 ) 45 . 0 ( 200 84 ) 1 ( 0 0 0 0 − = − = − − = p np np x Z
  • 32. 32 32 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าสัดส่วน ถ้ากาหนดให้ เป็นค่าสัดส่วนของตัวอย่าง n ซึ่งเกิดความสาเร็จ ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ p จากประชากรทั้งหมดที่เกิดความสาเร็จ เท่ากับ p̂ n p p z p p n p p z p ) ˆ 1 ( ˆ ˆ ) ˆ 1 ( ˆ ˆ 2 / 2 / − +   − −   กรณี Two Tailed Test )% 1 ( 100  − กรณี One Tailed Test (Upper) กรณี One Tailed Test (Lower) n p p z p p ) ˆ 1 ( ˆ ˆ − +   p n p p z p  − − ) ˆ 1 ( ˆ ˆ 
  • 33. 33 33 การทดสอบสมมุติฐานของความแปรปรวน กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 1 ; ) 1 ( 2 0 2 2 0 − = − = n s n    2 1 , 2 / 2 0 2 1 , 2 / 1 2 0 − − −   n n or       ค่าสถิติคือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 2 0 2 1 2 0 2 0 : , :      = H H upper for n 2 1 , 2 0 −     2 0 2 1 2 0 2 0 : , :      = H H lower for n 2 1 , 1 2 0 − −     2 0 2 1 2 0 2 0 : , :      = H H
  • 34. Example 12. กาหนดให้ โดยสมมุติให้ตัวแปรสุ่มมีการแจกแจงแบบปกติด้วยค่า n=20 จงตรวจสอบ ว่า หรือไม่ สถิติทดสอบ 05 . 0 01 . 0 : , 01 . 0 : 2 1 2 0 =  =    H H Reject H0 เมื่อ สรุปได้ว่า ค่า ที่คานวณได้ =29.07 < ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ ความแปรปรวนมีค่าเท่ากับ 0.01 05 . 0 , 0153 . 0 2 = =  s 01 . 0 2   1 ; ) 1 ( 2 0 2 2 0 − = − = n s n    07 . 29 01 . 0 0153 . 0 ) 1 20 ( 2 = − = 14 . 30 2 19 , 05 . 0 2 1 , 2 0 = =  −     n 2 0  14 . 30 2 19 , 05 . 0 = 
  • 35. 35 35 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของความแปรปรวน ถ้าให้ S2 เป็นค่าความแปรปรวนของตัวอย่างจานวน n ค่า ซึ่งมากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติด้วย ความแปรปรวนที่ไม่ทราบค่า ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ คือ 2  2 1 , 2 / 1 2 2 2 1 , 2 / 2 ) 1 ( ) 1 ( − − − −   − n n S n S n      กรณี Two Tailed Test )% 1 ( 100  − กรณี One Tailed Test (Upper) กรณี One Tailed Test (Lower) 2  2 1 , 1 2 2 ) 1 ( − − −  n S n    2 2 1 , 2 ) 1 (    − − n S n